SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6. 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2 
ตารางที่ 1 จานวนคาบที่สอนและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 
เนื้อหา 
จานวนคาบ 
ที่สอน 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 
2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น 
ตัวแปรเดียว 
3 
1 
6 
5 
แผนที่ 1 (1 คาบ) 
แผนที่ 2 (2 คาบ) 
แผนที่ 3 (1 คาบ) 
แผนที่ 4 (2 คาบ) 
แผนที่ 5 (2 คาบ) 
แผนที่ 6 (1 คาบ) 
แผนที่ 7 (1 คาบ) 
แผนที่ 8 (1 คาบ) 
แผนที่ 9 (2 คาบ) 
แผนที่ 10 (2 คาบ) 
รวม 
15 คาบ 
10 แผน
3 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 
คาชี้แจง 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 เป็นแผนที่เขียนรวมกันทั้งกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุม โดยมีองค์ประกอบต่างๆของแผนที่เหมือนกัน คือ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิด และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับ กิจกรรมการเรียนรู้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป โดยจัดให้กลุ่ม ทดลอง และกลุ่มควบคุมมีขั้นนา และขั้นสรุปเหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะขั้นสอน ซึ่งกลุ่มทดลอง ครูใช้ขั้นสอนที่เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ตามแนวคิดของเชฟฟิวด์ กลุ่มควบคุมใช้ขั้นสอนแบบ ปกติตามคู่มือครู 
ผู้วิจัยดาเนินการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่กล่าวนี้เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ ชัดเจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย 
ผู้วิจัยสรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนเป็นแผนผัง ดังนี้
5 
แผนผังที่ 3 สรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอน 
สาระสาคัญ 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
สาระการเรียนรู้ 
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
การวัดและประเมินผล 
การมอบหมายงาน 
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ 
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนา 
ขั้นสอน 
สาหรับกลุ่มทดลอง 
ขั้นสอน 
สาหรับกลุ่มควบคุม 
ผู้วิจัยอธิบายขั้นสอนสาหรับทั้ง 2 กลุ่ม และสรุปเป็น 
ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น 
การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 
ขั้นสรุป 
กิจกรรมการเรียนรู้
6 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 1 ชั่วโมง 
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 
สาระที่ 4 พีชคณิต 
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ 
ตัวชี้วัด 
ม 1/1 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย 
ม 1/2 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาอย่างง่าย 
สาระสาคัญ 
การแก้สมการ คือ การหาคาตอบของสมการ ในการแก้สมการนอกจากจะใช้วิธีการ แทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการแล้ว เพื่อความรวดเร็วเราสามารถใช้สมบัติของ การเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ และสมบัติการแจกแจง 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 
1. บอกสมบัติของการเท่ากันได้ 
2. ใช้สมบัติของการเท่ากันในการแก้สมการได้อย่างถูกต้อง 
3. แก้สมการและตรวจสอบคาตอบได้อย่างถูกต้อง 
ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ 
1. เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
2. ตั้งปัญหาย่อยจากปัญหาที่กาหนดให้เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม และตั้งปัญหาใหม่ที่น่าสนใจในการสารวจตรวจค้นเมื่อสามารถ แก้ปัญหาแรกเริ่มได้แล้ว
7 
3. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย ขยายความ และสร้าง เป็นแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้อย่างชัดเจน และถูกต้อง 
ด้านคุณลักษณะ นักเรียน 
1. ช่างสังเกต 
2. มีความร่วมมือในการทากิจกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมกลุ่มย่อย 
3. ตั้งใจ มีความสนใจในการเรียน และกระตือรือร้นในการตอบคาถาม 
4. ทางานอย่างมีระบบ ระเบียบ รอบคอบ 
5. มีความเชื่อมั่นในตนเอง และกล้าแสดงออก 
6. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงต่อเวลา 
7. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 
สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 
1.ความสามารถในการสื่อสาร 
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 
2.ความสามารถในการคิด 
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
8 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 
2.ซื่อสัตย์สุจริต 
3.มีวินัย 
4.ใฝ่หาความรู้ 
5.อยู่อย่างพอเพียง 
6.มุ่งมนั่ในการทางาน 
7.รักความเป็นไทย 
8.มีจิตสาธารณะ 
สาระการเรียนรู้ 
ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ 3x 15  2x 10 
วิธีทา 3x 15  2x 10 
นา  2x มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ (2x) 3x 15  (2x)  2x 10 
    
15 10 
( 2) 3 15 ( 2) 2 10 
   
       
x 
x x 
นา -15 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ x 15 15  10 15 
x   25 
ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 3x 15  2x 10 
จะได้ 3(25)15  2(25)10 
    
75 15 50 10 
3 ( 25) 15 2 ( 25) 10 
     
       
60  60 เป็นสมการที่เป็นจริง 
ดังนัน้ -25 เป็นคาตอบของสมการ 3x 15  2x 10 
ตอบ -25
9 
ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 3c 1  2c 3 โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง 
วิธีทา 3c 1  2c 3 
นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ 
จะได้ 3c  3 2c  6 
นา 3 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ 3c  3  3  2c  6  3 
3c  2c  3 
นา  2c มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ (2c) 3c  (2c)  2c  3 
(2) 3c  (2)  2c  3 
c  3 
ตรวจคำตอบ แทน c ด้วย -3 ในสมการ 3c 1  2c 3 
จะได้ 3(3) 1  2(3)  3 
3 4  26 
12  12 เป็น 
สมการที่เป็นจริง 
ดังนัน้ 3 เป็นคาตอบของสมการ 3c 1  2c 3 
ตอบ 3 
กิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนา (ใช้เหมือนกันทัง้ 2 กลุ่ม) 
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับการหาคาตอบของสมการโดยใช้สมบัติของ 
การเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก 
สมบัติการคูณ และสมบัติการแจกแจงโดยใช้การถามตอบจากแบบฝึกหัดการบ้าน 
ขั้นสอน 
ผู้วิจัยเสนอเป็นตารางเปรียบเทียบขัน้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น 
การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติแสดงรายละเอียดดังนี้
10 
ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
ขั้นสอน 
1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ 
1.1 ครูให้สรุปแนวคิดในการแก้สมการที่ได้จาก การทาแบบฝึกหัดการบ้าน โดยเน้นย้าให้ นักเรียนสังเกตหลักการที่นักเรียนมักสับสน หรือสิ่งที่จะทาให้เกิดข้อผิดพลาด จากนั้น ช่วยกันสรุปเป็นประเด็น (กลวิธีชนิดใช้ แบบตรวจสอบรายการ) 
2. ขั้นสารวจตรวจค้น 
2.1 ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 12 จาก เอกสารแนะแนวทางที่ 6 
2.2 ครูให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงตัวอย่างที่ 12 ตามความเข้าใจของตนเอง 
2.3 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป วิธีคิดของเพื่อน 
2.4 ครูให้นักเรียนเติมคาในตัวอย่างที่ 13 จาก เอกสารแนะแนวทางที่ 6 
3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร 
3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบ คาตอบที่ได้กับเพื่อนที่นั่งติดกันเป็นคู่ และให้ นักเรียนแต่ละคู่อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับ แนวคิดและคาตอบของแต่ละคน โดยเฉพาะ ข้อที่ได้คาตอบแตกต่างกัน ให้นักเรียนหา ข้อสรุปของแต่ละคู่ (กลวิธีชนิดการระดม สมอง และการเสริมความตั้งใจ) 
ขั้นสอน 
1. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 12 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 6 
2. ครูแสดงตัวอย่างที่ 12 บนกระดาน ประกอบการถามตอบ เพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจของนักเรียน 
3. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 13 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 6 
4. ครูให้นักเรียนอาสาออกมาช่วยกัน เขียนแสดงตัวอย่างที่ 13 จาก ความเข้าใจของตัวเองบนกระดาน โดยให้นักเรียนที่อาสานี้เขียนคนละ บรรทัดต่อกัน 
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคาตอบ วิธีคิด และวิธีการตรวจคาตอบบน กระดาน โดยใช้การถามตอบ 
6. ครูยกตัวอย่างสมการที่ต้องใช้สมบัติ การแจกแจงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เพิ่มเติม ให้นักเรียนแต่ละคิด 5 นาที
11 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
3.2 ครูให้นักเรียนอาสาออกมาเฉลยคาตอบ พร้อมวิธีคิดหน้าห้องเป็นคู่ 
3.3 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดของนักเรียนแต่ละคู่ที่ อาสาออกมานาเสนอแนวคิด ครูย้าให้ ร่วมกันเชื่อมโยงความคิดให้เป็นลาดับ ขั้นตอนว่าต้องใช้สมบัติใดก่อน-หลัง ในการแก้สมการ โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้น ให้นักเรียนวิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของเพื่อน (กลวิธีชนิดการเสริมความตั้งใจ) 
4. ขั้นสร้างคาถามหรือปัญหา 
4.1 ครูให้นักเรียนคิดสมการที่มีตัวแปรไว้คนละ หนึ่งสมการ และให้นักเรียนเตรียมตัว ออกมาทายให้เพื่อนหาคาตอบของสมการ โดยใช้สมบัติการเท่ากัน ครูให้นักเรียน อาสามาเขียนสมการของตนหน้าห้อง ประมาณมา 4-6 คน แล้วให้นักเรียนคน อื่นร่วมกันหาคาตอบของสมการ 
(กลวิธีชนิดการเลือกใช้กลุ่มที่เหมาะสม และ การแสดงออก) 
4.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคาตอบของเพื่อน ที่อาสาออกมาหน้าห้อง และเปิดโอกาสให้ นักเรียนความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ 
7. ครูให้นักเรียนที่อาสาออกมาช่วยกัน แก้สมการบนกระดาน พร้อมทั้งร่วมกัน ตรวจคาตอบ 
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม ประเด็นที่สงสัย และกระตุ้นให้นักเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
12 
ขั้นสรุป (ใช้เหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม) 
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนว่า ในการแก้สมการเราสามารถใช้วิธีการ แทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการ และเราสามารถใช้สมบัติของการเท่ากันมาช่วยใน การหาคาตอบซึ่งได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ และ สมบัติการแจกแจง 
1. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 6 เป็นการบ้าน ซึ่งสามารถดาวน์โหลด ได้จาก www.pookpikschool.wordpress.com 
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
- เอกสารแนะแนวทางที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิง เส้นตัวแปรเดียว 
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 
- Website.www.pookpikschool.wordpress.com 
การวัดและประเมินผล 
การวัดผล 
การประเมินผล 
1. สังเกตการตอบคาถาม อภิปรายในชั้นเรียนและ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม 
2. การนาเสนอแนวคิดของตนเองและของกลุ่ม 
3. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 
4. ทางานถูกต้องเป็นระเบียบเรียบร้อย และเป็นระบบ 
5. ส่งงานตรงต่อเวลา 
6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
- ด้านความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
7. คุณลักษะอันพึงประสงค์ 
การมอบหมายงาน 
- ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 6 เป็นการบ้าน
13 
แหล่งการเรียนรู้ 
- ห้องสมุด 
- ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของโรงเรียน เป็นต้น 
- Website.www.pookpikschool.wordpress.com และwebsiteอื่นๆ 
- 
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ 
- ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้ คาปรึกษาและชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน 
- ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆในระหว่างที่ครู จัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง 
- หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดย ยึดหลักผู้เรียนเป็นสาคัญ 
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกระดับความสามารถกล้าแสดง ความคิดเห็นของตนเอง นักเรียนช่างคิดและช่างสังเกตมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนักเรียนรู้จักถาม ประเด็นคาถามที่น่าสนให้เพื่อนคิด และยอมรับความคิดเห็นของเพื่อนที่แตกต่างจากตนเอง 
นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆในชั้น เรียนมากขึ้น และบรรยากาศในการเรียนเป็นไปอย่างสนุกสนาน 
นักเรียนการแก้สมการถูกต้องประมาณ 80% มีนักเรียน 10% คิดคานวณผิดพลาด 
นักเรียนประมาณ 70% เข้าไปแสดงความคิดเห็น ทาการบ้าน ทบทวนความรู้ที่เรียน ในครั้งก่อนจากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com นักเรียนบางคนอ่านเนื้อหา ล่วงหน้า 
นักเรียนประมาณ 70% สามารถแสดงความคิดเห็นได้แปลก และแตกต่างจากเดิม เรียบเรียงคาพูดในการอธิบายได้ชัดเจนขึ้น 
นักเรียนกลุ่มที่อยู่หลังห้องตั้งใจเรียนมากขึ้น และตอบคาถามมากขึ้น
14 
ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 
ประกอบด้วย 
1. เอกสารแนะแนวทางที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
2. แบบฝึกหัดที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
3. แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน 
4. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
15 
เอกสารแนะแนวทางที่ 6 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ 3x 15  2x 10 
วิธีทา 3x 15  2x 10 
นา  2x มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ (2x) 3x 15  (2x)  2x 10 
    
15 10 
( 2) 3 15 ( 2) 2 10 
   
       
x 
x x 
นา -15 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ ................................................ 
.…………………………………. 
ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 3x 15  2x 10 
จะได้ 3(25)15  2(25)10 
    
75 15 50 10 
3 ( 25) 15 2 ( 25) 10 
     
       
............................................. เป็นสมการที่เป็นจริง 
ดังนัน้ ….. เป็นคาตอบของสมการ 3x 15  2x 10 
ตอบ ………………………………………. 
ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 3c 1  2c 3 โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง 
วิธีทา 3c 1  2c 3 
นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ 
จะได้ 3c  3 2c  6 
นา 3 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ 3c  3  3  2c  6  3 
.................................. 
นา  2c มาบวกทัง้สองข้างของสมการ 
จะได้ (2c) 3c  (2c)  2c  3 
................................................ 
.............................
16 
ตรวจคำตอบ แทน c ด้วย ....... ในสมการ 3c 1  2c 3 
จะได้ ....................................... 
........................................ 
.......................................... เป็นสมการที่เป็นจริง 
ดังนัน้ ........ เป็นคาตอบของสมการ 3c 1  2c 3 
ตอบ .................................
17 
เอกสารแบบฝึกหดัที่ 6. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
จงแสดงวิธีแก้สมการในข้อต่อไปนี้ 
1) 12x 3(x  2)  0 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………...……………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
2) 2 
2 
1 
4(x  3)   x  
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……….…………………………………… 
……………………………………….…… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………..….…………… 
………………….…………………….…… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
.…………………………………………… 
….………………………………………… 
…….……………………………………… 
………………………………………….… 
สรุป 
……………………………………………. 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
.…………………………………………… 
….………………………………………… 
…….……………………………………… 
………………………………………...… 
สรุป 
…………………………………………….
18 
3) 1 
3 
2 
  
 
x 
x 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………...……………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
4) 
5 
3 
3 
2 
2( 1) 
3 
4 
    
x 
x 
x 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……….…………………………………… 
……………………………………….…… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………..….…………… 
………………….…………………….…… 
……………………………………………… 
……………………………………………… 
……………………………………………. 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
.…………………………………………… 
….………………………………………… 
…….……………………………………… 
………………………………………….… 
สรุป 
……………………………………………. 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………. 
……………………………………………… 
.…………………………………………… 
….………………………………………… 
…….……………………………………… 
………………………………………...… 
สรุป 
…………………………………………….
19 
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
ชื่อ........................................นามสกุล..............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่........... 
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
สมรรถนะด้าน 
รายการประเมิน 
ระดับคุณภาพ 
ดีมาก 
(3) 
ดี 
(2) 
พอใช้ 
(1) 
ปรับปรุง 
(0) 
1. ความสามารถ 
ในการสื่อสาร 
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา อย่างเหมาะสม 
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผล และถูกต้อง 
รวม 
สรุปผลการประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ 
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน 
เกณฑ์การสรุปผล 
ดีมาก 13-15 คะแนน 
ดี 9-12 คะแนน 
พอใช้ 1-8 คะแนน 
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
20 
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
ชื่อ.......................................นามสกุล.............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............. 
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
สมรรถนะด้าน 
สมรรถนะด้าน 
ระดับคุณภาพ 
ดีมาก 
(3) 
ดี 
(2) 
พอใช้ 
(1) 
ปรับปรุง 
(0) 
2. ความสามารถ 
ในการคิด 
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง สร้างสรรค์ 
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่าง เหมาะสม 
รวม 
สรุปผลการประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ 
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน 
เกณฑ์การสรุปผล 
ดีมาก 13-15 คะแนน 
ดี 9-12 คะแนน 
พอใช้ 1-8 คะแนน 
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
21 
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ 
โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 
ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา .......................... 
ชื่อ-สกุลนักเรียน......................................................... ห้อง....................... เลขที่................ 
คาชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / 
ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
รายการประเมิน 
ระดับคะแนน 
3 
2 
1 
0 
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 
1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 
1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 
1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 
2.ซื่อสัตย์สุจริต 
2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 
2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 
2.3 ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น 
3. มีวินัย 
3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 
3.2 แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ 
3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 
4. ใฝ่หาความรู้ 
4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 
4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 
5.อยู่อย่าง 
พอเพียง 
5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 
6. มุ่งมั่นในการ 
ทางาน 
6.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 
6.2มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 
7.รักความเป็น 
ไทย 
7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
22 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
รายการประเมิน 
ระดับคะแนน 
3 
2 
1 
0 
8.มีจิตสาธารณะ 
8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น 
8.2 แสดงออกถึงการมีน้าใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 
8.3 เข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส 
ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน 
(................................................) 
........... /................./........... 
เกณฑ์การให้คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
Jirathorn Buenglee
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
Jirathorn Buenglee
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
Jirathorn Buenglee
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Aon Narinchoti
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 

What's hot (20)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 

Viewers also liked

การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
Jirathorn Buenglee
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Jirathorn Buenglee
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
Jirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 

Viewers also liked (9)

การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 

Similar to แผน 6 นวัตกรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 

Similar to แผน 6 นวัตกรรม (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
Jirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
Jirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
Jirathorn Buenglee
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
Jirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
Jirathorn Buenglee
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคายงาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
Jirathorn Buenglee
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
Jirathorn Buenglee
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (19)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคายงาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
งาน Part time เทศบาลเมืองหนองคาย
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แผน 6 นวัตกรรม

  • 2. 2 ตารางที่ 1 จานวนคาบที่สอนและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว เนื้อหา จานวนคาบ ที่สอน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3 1 6 5 แผนที่ 1 (1 คาบ) แผนที่ 2 (2 คาบ) แผนที่ 3 (1 คาบ) แผนที่ 4 (2 คาบ) แผนที่ 5 (2 คาบ) แผนที่ 6 (1 คาบ) แผนที่ 7 (1 คาบ) แผนที่ 8 (1 คาบ) แผนที่ 9 (2 คาบ) แผนที่ 10 (2 คาบ) รวม 15 คาบ 10 แผน
  • 3. 3 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  • 4. 4 คาชี้แจง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 เป็นแผนที่เขียนรวมกันทั้งกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุม โดยมีองค์ประกอบต่างๆของแผนที่เหมือนกัน คือ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิด และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับ กิจกรรมการเรียนรู้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป โดยจัดให้กลุ่ม ทดลอง และกลุ่มควบคุมมีขั้นนา และขั้นสรุปเหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะขั้นสอน ซึ่งกลุ่มทดลอง ครูใช้ขั้นสอนที่เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ตามแนวคิดของเชฟฟิวด์ กลุ่มควบคุมใช้ขั้นสอนแบบ ปกติตามคู่มือครู ผู้วิจัยดาเนินการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่กล่าวนี้เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ ชัดเจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยสรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนเป็นแผนผัง ดังนี้
  • 5. 5 แผนผังที่ 3 สรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอน สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ขั้นสอน สาหรับกลุ่มทดลอง ขั้นสอน สาหรับกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยอธิบายขั้นสอนสาหรับทั้ง 2 กลุ่ม และสรุปเป็น ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ขั้นสรุป กิจกรรมการเรียนรู้
  • 6. 6 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 1 ชั่วโมง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ ตัวชี้วัด ม 1/1 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย ม 1/2 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาอย่างง่าย สาระสาคัญ การแก้สมการ คือ การหาคาตอบของสมการ ในการแก้สมการนอกจากจะใช้วิธีการ แทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการแล้ว เพื่อความรวดเร็วเราสามารถใช้สมบัติของ การเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ และสมบัติการแจกแจง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 1. บอกสมบัติของการเท่ากันได้ 2. ใช้สมบัติของการเท่ากันในการแก้สมการได้อย่างถูกต้อง 3. แก้สมการและตรวจสอบคาตอบได้อย่างถูกต้อง ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ 1. เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2. ตั้งปัญหาย่อยจากปัญหาที่กาหนดให้เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม และตั้งปัญหาใหม่ที่น่าสนใจในการสารวจตรวจค้นเมื่อสามารถ แก้ปัญหาแรกเริ่มได้แล้ว
  • 7. 7 3. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย ขยายความ และสร้าง เป็นแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้อย่างชัดเจน และถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ นักเรียน 1. ช่างสังเกต 2. มีความร่วมมือในการทากิจกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมกลุ่มย่อย 3. ตั้งใจ มีความสนใจในการเรียน และกระตือรือร้นในการตอบคาถาม 4. ทางานอย่างมีระบบ ระเบียบ รอบคอบ 5. มีความเชื่อมั่นในตนเอง และกล้าแสดงออก 6. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงต่อเวลา 7. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 1.ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 2.ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
  • 8. 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.มีวินัย 4.ใฝ่หาความรู้ 5.อยู่อย่างพอเพียง 6.มุ่งมนั่ในการทางาน 7.รักความเป็นไทย 8.มีจิตสาธารณะ สาระการเรียนรู้ ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ 3x 15  2x 10 วิธีทา 3x 15  2x 10 นา  2x มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ (2x) 3x 15  (2x)  2x 10     15 10 ( 2) 3 15 ( 2) 2 10           x x x นา -15 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ x 15 15  10 15 x   25 ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 3x 15  2x 10 จะได้ 3(25)15  2(25)10     75 15 50 10 3 ( 25) 15 2 ( 25) 10             60  60 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนัน้ -25 เป็นคาตอบของสมการ 3x 15  2x 10 ตอบ -25
  • 9. 9 ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 3c 1  2c 3 โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง วิธีทา 3c 1  2c 3 นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ จะได้ 3c  3 2c  6 นา 3 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ 3c  3  3  2c  6  3 3c  2c  3 นา  2c มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ (2c) 3c  (2c)  2c  3 (2) 3c  (2)  2c  3 c  3 ตรวจคำตอบ แทน c ด้วย -3 ในสมการ 3c 1  2c 3 จะได้ 3(3) 1  2(3)  3 3 4  26 12  12 เป็น สมการที่เป็นจริง ดังนัน้ 3 เป็นคาตอบของสมการ 3c 1  2c 3 ตอบ 3 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา (ใช้เหมือนกันทัง้ 2 กลุ่ม) ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับการหาคาตอบของสมการโดยใช้สมบัติของ การเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ และสมบัติการแจกแจงโดยใช้การถามตอบจากแบบฝึกหัดการบ้าน ขั้นสอน ผู้วิจัยเสนอเป็นตารางเปรียบเทียบขัน้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติแสดงรายละเอียดดังนี้
  • 10. 10 ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) ขั้นสอน 1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ 1.1 ครูให้สรุปแนวคิดในการแก้สมการที่ได้จาก การทาแบบฝึกหัดการบ้าน โดยเน้นย้าให้ นักเรียนสังเกตหลักการที่นักเรียนมักสับสน หรือสิ่งที่จะทาให้เกิดข้อผิดพลาด จากนั้น ช่วยกันสรุปเป็นประเด็น (กลวิธีชนิดใช้ แบบตรวจสอบรายการ) 2. ขั้นสารวจตรวจค้น 2.1 ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 12 จาก เอกสารแนะแนวทางที่ 6 2.2 ครูให้นักเรียนอาสาออกมาแสดงตัวอย่างที่ 12 ตามความเข้าใจของตนเอง 2.3 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป วิธีคิดของเพื่อน 2.4 ครูให้นักเรียนเติมคาในตัวอย่างที่ 13 จาก เอกสารแนะแนวทางที่ 6 3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร 3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบ คาตอบที่ได้กับเพื่อนที่นั่งติดกันเป็นคู่ และให้ นักเรียนแต่ละคู่อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับ แนวคิดและคาตอบของแต่ละคน โดยเฉพาะ ข้อที่ได้คาตอบแตกต่างกัน ให้นักเรียนหา ข้อสรุปของแต่ละคู่ (กลวิธีชนิดการระดม สมอง และการเสริมความตั้งใจ) ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 12 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 6 2. ครูแสดงตัวอย่างที่ 12 บนกระดาน ประกอบการถามตอบ เพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจของนักเรียน 3. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 13 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 6 4. ครูให้นักเรียนอาสาออกมาช่วยกัน เขียนแสดงตัวอย่างที่ 13 จาก ความเข้าใจของตัวเองบนกระดาน โดยให้นักเรียนที่อาสานี้เขียนคนละ บรรทัดต่อกัน 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคาตอบ วิธีคิด และวิธีการตรวจคาตอบบน กระดาน โดยใช้การถามตอบ 6. ครูยกตัวอย่างสมการที่ต้องใช้สมบัติ การแจกแจงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เพิ่มเติม ให้นักเรียนแต่ละคิด 5 นาที
  • 11. 11 กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) 3.2 ครูให้นักเรียนอาสาออกมาเฉลยคาตอบ พร้อมวิธีคิดหน้าห้องเป็นคู่ 3.3 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดของนักเรียนแต่ละคู่ที่ อาสาออกมานาเสนอแนวคิด ครูย้าให้ ร่วมกันเชื่อมโยงความคิดให้เป็นลาดับ ขั้นตอนว่าต้องใช้สมบัติใดก่อน-หลัง ในการแก้สมการ โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้น ให้นักเรียนวิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของเพื่อน (กลวิธีชนิดการเสริมความตั้งใจ) 4. ขั้นสร้างคาถามหรือปัญหา 4.1 ครูให้นักเรียนคิดสมการที่มีตัวแปรไว้คนละ หนึ่งสมการ และให้นักเรียนเตรียมตัว ออกมาทายให้เพื่อนหาคาตอบของสมการ โดยใช้สมบัติการเท่ากัน ครูให้นักเรียน อาสามาเขียนสมการของตนหน้าห้อง ประมาณมา 4-6 คน แล้วให้นักเรียนคน อื่นร่วมกันหาคาตอบของสมการ (กลวิธีชนิดการเลือกใช้กลุ่มที่เหมาะสม และ การแสดงออก) 4.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคาตอบของเพื่อน ที่อาสาออกมาหน้าห้อง และเปิดโอกาสให้ นักเรียนความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ 7. ครูให้นักเรียนที่อาสาออกมาช่วยกัน แก้สมการบนกระดาน พร้อมทั้งร่วมกัน ตรวจคาตอบ 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม ประเด็นที่สงสัย และกระตุ้นให้นักเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
  • 12. 12 ขั้นสรุป (ใช้เหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนว่า ในการแก้สมการเราสามารถใช้วิธีการ แทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการ และเราสามารถใช้สมบัติของการเท่ากันมาช่วยใน การหาคาตอบซึ่งได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ และ สมบัติการแจกแจง 1. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 6 เป็นการบ้าน ซึ่งสามารถดาวน์โหลด ได้จาก www.pookpikschool.wordpress.com สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - เอกสารแนะแนวทางที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิง เส้นตัวแปรเดียว - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว - Website.www.pookpikschool.wordpress.com การวัดและประเมินผล การวัดผล การประเมินผล 1. สังเกตการตอบคาถาม อภิปรายในชั้นเรียนและ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. การนาเสนอแนวคิดของตนเองและของกลุ่ม 3. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4. ทางานถูกต้องเป็นระเบียบเรียบร้อย และเป็นระบบ 5. ส่งงานตรงต่อเวลา 6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ด้านความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด 7. คุณลักษะอันพึงประสงค์ การมอบหมายงาน - ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 6 เป็นการบ้าน
  • 13. 13 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของโรงเรียน เป็นต้น - Website.www.pookpikschool.wordpress.com และwebsiteอื่นๆ - ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ - ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้ คาปรึกษาและชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน - ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆในระหว่างที่ครู จัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง - หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดย ยึดหลักผู้เรียนเป็นสาคัญ บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกระดับความสามารถกล้าแสดง ความคิดเห็นของตนเอง นักเรียนช่างคิดและช่างสังเกตมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนักเรียนรู้จักถาม ประเด็นคาถามที่น่าสนให้เพื่อนคิด และยอมรับความคิดเห็นของเพื่อนที่แตกต่างจากตนเอง นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆในชั้น เรียนมากขึ้น และบรรยากาศในการเรียนเป็นไปอย่างสนุกสนาน นักเรียนการแก้สมการถูกต้องประมาณ 80% มีนักเรียน 10% คิดคานวณผิดพลาด นักเรียนประมาณ 70% เข้าไปแสดงความคิดเห็น ทาการบ้าน ทบทวนความรู้ที่เรียน ในครั้งก่อนจากเว็บไซต์ www.pookpikschool.wordpress.com นักเรียนบางคนอ่านเนื้อหา ล่วงหน้า นักเรียนประมาณ 70% สามารถแสดงความคิดเห็นได้แปลก และแตกต่างจากเดิม เรียบเรียงคาพูดในการอธิบายได้ชัดเจนขึ้น นักเรียนกลุ่มที่อยู่หลังห้องตั้งใจเรียนมากขึ้น และตอบคาถามมากขึ้น
  • 14. 14 ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 ประกอบด้วย 1. เอกสารแนะแนวทางที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. แบบฝึกหัดที่ 6 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน 4. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 15. 15 เอกสารแนะแนวทางที่ 6 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ 3x 15  2x 10 วิธีทา 3x 15  2x 10 นา  2x มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ (2x) 3x 15  (2x)  2x 10     15 10 ( 2) 3 15 ( 2) 2 10           x x x นา -15 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ ................................................ .…………………………………. ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 3x 15  2x 10 จะได้ 3(25)15  2(25)10     75 15 50 10 3 ( 25) 15 2 ( 25) 10             ............................................. เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนัน้ ….. เป็นคาตอบของสมการ 3x 15  2x 10 ตอบ ………………………………………. ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 3c 1  2c 3 โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง วิธีทา 3c 1  2c 3 นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ จะได้ 3c  3 2c  6 นา 3 มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ 3c  3  3  2c  6  3 .................................. นา  2c มาบวกทัง้สองข้างของสมการ จะได้ (2c) 3c  (2c)  2c  3 ................................................ .............................
  • 16. 16 ตรวจคำตอบ แทน c ด้วย ....... ในสมการ 3c 1  2c 3 จะได้ ....................................... ........................................ .......................................... เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนัน้ ........ เป็นคาตอบของสมการ 3c 1  2c 3 ตอบ .................................
  • 17. 17 เอกสารแบบฝึกหดัที่ 6. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จงแสดงวิธีแก้สมการในข้อต่อไปนี้ 1) 12x 3(x  2)  0 ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………...……………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. 2) 2 2 1 4(x  3)   x  ……………………………………………… ……………………………………………… ……….…………………………………… ……………………………………….…… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………..….…………… ………………….…………………….…… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. ตรวจคาตอบ ……………………………………………. ……………………………………………… .…………………………………………… ….………………………………………… …….……………………………………… ………………………………………….… สรุป ……………………………………………. ตรวจคาตอบ ……………………………………………. ……………………………………………… .…………………………………………… ….………………………………………… …….……………………………………… ………………………………………...… สรุป …………………………………………….
  • 18. 18 3) 1 3 2    x x ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………...……………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. 4) 5 3 3 2 2( 1) 3 4     x x x ……………………………………………… ……………………………………………… ……….…………………………………… ……………………………………….…… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………..….…………… ………………….…………………….…… ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………. ตรวจคาตอบ ……………………………………………. ……………………………………………… .…………………………………………… ….………………………………………… …….……………………………………… ………………………………………….… สรุป ……………………………………………. ตรวจคาตอบ ……………………………………………. ……………………………………………… .…………………………………………… ….………………………………………… …….……………………………………… ………………………………………...… สรุป …………………………………………….
  • 19. 19 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ........................................นามสกุล..............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่........... คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 1. ความสามารถ ในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา อย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผล และถูกต้อง รวม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน พอใช้ 1-8 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 20. 20 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ.......................................นามสกุล.............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............. คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะด้าน สมรรถนะด้าน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 2. ความสามารถ ในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง สร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่าง เหมาะสม รวม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน พอใช้ 1-8 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 21. 21 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา .......................... ชื่อ-สกุลนักเรียน......................................................... ห้อง....................... เลขที่................ คาชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น 3. มีวินัย 3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 4. ใฝ่หาความรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5.อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ทางาน 6.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7.รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
  • 22. 22 คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 8.มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น 8.2 แสดงออกถึงการมีน้าใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 8.3 เข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน (................................................) ........... /................./........... เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน