SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
เรื่อง
 
คำแนะนำในการใช้บทเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สัญลักษณ์ที่ใช้ในบทเรียน คลิกเพื่อเลือกหน้าต่อไป คลิกเพื่อเลือกหน้าที่ผ่านมา คลิกเพื่อเลือกออกจากโปรแกรม คลิกเพื่อเลือกเมนูหลัก คลิกเพื่อเลือกเข้าสู่บทเรียน คลิกเพื่อเลือกกลับบทเรียนเริ่มต้น คลิกเพื่อเลือกกลับหน้าแรก
[object Object],[object Object],[object Object],จุดประสงค์การเรียนรู้
ผู้จัดทำ
แบบทดสอบก่อนเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],คำชี้แจง  :   ให้นักเรียนเขียนคำตอบที่ถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคำตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],คำชี้แจง  :   ให้นักเรียนเขียนคำตอบที่ถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคำตอบ
ทอมสัน ดอลตัน แนวคิดพัฒนา รัทเทอร์ฟอร์ด นีลส์  โบร์ กลุ่มหมอก
ในสมัยโบราณมีนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส  ( Democritus )  เชื่อว่า เมื่อย่อยสารลงเรื่อย ๆ จะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก  และเรียกอนุภาคขนาดเล็กที่สุดว่า อะตอม ซึ่งคำว่า  อะตอม ( atom )  เป็นคำซึ่งมาจากภาษากรีกว่า  (atomas)  แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้   ดิโมคริตุส  ( Democritus )
ในปี ค . ศ . 1803  จอห์น ดอลตัน  ( John Dalton)   นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอทฤษฎีอะตอมเพื่อใช้อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารก่อนและหลังทำปฏิกิริยา    รวมทั้งอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบ  จอห์น ดอลตัน  ( John Dalton )
ดอลตันกล่าวถึงอะตอมซึ่งสรุปได้   ดังนี้ 1 .    ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค  อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า  “ อะตอม ”   ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้  และทำให้สูญหายไม่ได้ 2.  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน  เช่นมีมวลเท่ากัน  แต่จะมีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 3.   สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ
“ อะตอมมีขนาดเล็กมาก  ซึ่งแบ่งแยกและสร้างขึ้นหรือทำให้สูญหายไม่ได้” แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
ข .  ดิโมคริตุส   ,  แบ่งแยกไม่ได้ ค .  พลาโต  ,  แบ่งได้เป็น ดิน น้ำ ลม ไฟ ง .  ปีทากอรัส  ,  แบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยม ก .  อริโตสเติล  ,  แบ่งได้ไม่จำกัด นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ให้แนวคิดเรื่องอะตอมคือใคร ?  และอะตอมหมายถึงอะไร ? ลองทำดู  1
^_^  เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
ยังไม่ถูกเลย ลองกลับไปทำใหม่นะครับ
โจเซฟ จอห์น ทอมสัน  (J.J Thomson)  นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้สนใจ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทด    จึงทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สขึ้นในปี ค . ศ . 1897 โจเซฟ จอห์น ทอมสัน  (J.J Thomson)
หลอดรังสีแคโทดที่  เจ . เจ .  ทอมสันใช้ทดลอง
เจ . เจ .  ทอมสัน ได้สรุปสมบัติของรังสีไว้  ดังนี้   1. รังสีแคโทดเดินทางเป็นเส้นตรงจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด    รังสีแคโทดทำให้เกิดเงาดำของวัตถุได้  ถ้านำวัตถุไปขวางทางเดินของรังสี     2 . รังสีแคโทดเป็นอนุภาคที่มีมวล เนื่องจากรังสีทำให้ใบพัดที่ขวางทางเดินของรังสีหมุนได้เหมือนถูกลมพัด                        3. รังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ  เนื่องจากเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน “ อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยโปรตอน ซึ่งมีประจุบวก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วไป    อะตอมในสภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจำนวนประจุบวกเท่ากับจำนวนประจุลบ ”
ก .  อิเล็กตรอน  ,  ประจุ  - ข .  โปรตอน  ,  ประจุ  + ค .  นิวตรอน  ,  เป็นกลางทางไฟฟ้า ง .  โพรสิตอน  ,  ประจุ  - ลองทำดู  2 หลอดรังสีแคโทดที่ เจเจ ทอมสัน ทดลองมีชื่อเรียกว่าอะไร ?  และมีประจุทางไฟฟ้าอย่างไร ?
^_^  เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
ยังไม่ถูกเลย ลองกลับไปทำใหม่นะครับ
ในปี ค . ศ . 1910  เซอร์ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด  ( Sir Ernest Rutherford )  ได้ศึกษาแบบจำลองอะตอมของทอมสัน    และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริงหรือไม่  เเออร์เนสต์  รัทเทอร์ฟอร์ด  ( Sir Ernest Rutherford )
รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ  โดยมีความหนาไม่เกิน  0.0001  cm  โดยมีฉากสารเรืองแสงรองรับ 
ปรากฏผลการทดลองดังนี้ 1.  อนุภาคส่วนมากเคลื่อนที่ทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง 2.  อนุภาคส่วนน้อยเบี่ยงเบนไปจากเส้นตรง 3.  อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคำ
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด  “ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง    นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก  และมีประจุบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบ ”  
ข้อใดเป็นแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ? ลองทำดู  3 ก . ง . ค . ข .
^_^  เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
ยังไม่ถูกเลย ลองกลับไปทำใหม่นะครับ
เนื่องจาก แบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ดยังไม่สมบูรณ์  ในปี  1913   นีลส์ โบร์  ( Niels Bohr )  ได้นำทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมมาประยุกต์ใช้ในการทดลอง   เพื่อพัฒนาแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด  แต่ในการทดลองของเขาสามารถอธิบายได้เฉพาะ อะตอมของไฮโดรเจนที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว  นีล โบร์  ( Niels Bohr )
แบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบร์  “ อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส  และมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่ในวงโคจรที่เป็นวงกลมมีรัศมี  r  รอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ   หรือเป็นระดับพลังงานที่มีค่าพลังงานเฉพาะค่าหนึ่ง   คล้ายๆ กับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์”
ก .  ความลึกของระดับน้ำทะเล ข .  ระดับของน้ำที่มีผลต่อแรงดัน ค .  วงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ง .  ระดับความร้อนที่ให้แก่อาหาร ลองทำดู  4 ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน นีลส์ โบร์ เปรียบเทียบคล้ายกับอะไร ?
^_^  เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
ยังไม่ถูกเลย ลองกลับไปทำใหม่นะครับ
นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันได้ศึกษาอะตอมของธาตุเพิ่มเติม   และพบว่าอิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลมตามที่ นีลส์ โบร์เสนอไว้   แต่จะเคลื่อนที่เป็นรูปวงกลมหรือรูปอื่นๆ แล้วแต่ว่าอิเล็กตรอนตัวนั้นอยู่ในระดับพลังงานใด   เนื่องจากอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียสได้หลายรูปแบบ   จึงเสมือนดูเสมือนว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปทั่วทั้งอะตอม   ดังนั้นจึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้
แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกกล่าวไว้ดังนี้ 1.   อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม  จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอะตอมได้ 2.   มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านั้น  อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 3.   บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง ”
แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก “ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส รอบๆนิวเคลียสมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน รูปทรงต่างๆตามระดับพลังงานที่ห่อหุ้มอยู่  บริเวณกลุ่มหมอกทึบ มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่กลุ่มหมอกจาง”
ก .  อิเล็กตรอนกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอ ข .  อิเล็กตรอนอยู่ในภายในนิวเคลียส ค .  ไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้  ง .  อิเล็กตรอนอยู่ที่ซึ่งกำหนดตำแหน่งได้ ลองทำดู  5 ข้อใดกล่าวถึงแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้ถูกต้องที่สุด ?
^_^  เก่งมากครับ ^_^
ยังไม่ถูกเลย ลองกลับไปทำใหม่นะครับ
 

More Related Content

Similar to Atom-model[1]

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมsripa16
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

Similar to Atom-model[1] (14)

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
physics atom.ppt
physics atom.pptphysics atom.ppt
physics atom.ppt
 
physics atom.ppt
physics atom.pptphysics atom.ppt
physics atom.ppt
 
Plan 003
Plan 003Plan 003
Plan 003
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 

Atom-model[1]

  • 2.  
  • 3.
  • 4. สัญลักษณ์ที่ใช้ในบทเรียน คลิกเพื่อเลือกหน้าต่อไป คลิกเพื่อเลือกหน้าที่ผ่านมา คลิกเพื่อเลือกออกจากโปรแกรม คลิกเพื่อเลือกเมนูหลัก คลิกเพื่อเลือกเข้าสู่บทเรียน คลิกเพื่อเลือกกลับบทเรียนเริ่มต้น คลิกเพื่อเลือกกลับหน้าแรก
  • 5.
  • 7.
  • 8.
  • 9. ทอมสัน ดอลตัน แนวคิดพัฒนา รัทเทอร์ฟอร์ด นีลส์ โบร์ กลุ่มหมอก
  • 10. ในสมัยโบราณมีนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส ( Democritus ) เชื่อว่า เมื่อย่อยสารลงเรื่อย ๆ จะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคขนาดเล็กที่สุดว่า อะตอม ซึ่งคำว่า อะตอม ( atom ) เป็นคำซึ่งมาจากภาษากรีกว่า (atomas) แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้ ดิโมคริตุส ( Democritus )
  • 11. ในปี ค . ศ . 1803  จอห์น ดอลตัน ( John Dalton) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอทฤษฎีอะตอมเพื่อใช้อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารก่อนและหลังทำปฏิกิริยา   รวมทั้งอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบ  จอห์น ดอลตัน ( John Dalton )
  • 12. ดอลตันกล่าวถึงอะตอมซึ่งสรุปได้   ดังนี้ 1 .   ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค  อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า “ อะตอม ”  ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้  และทำให้สูญหายไม่ได้ 2.  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน  เช่นมีมวลเท่ากัน  แต่จะมีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 3.  สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ
  • 13. “ อะตอมมีขนาดเล็กมาก ซึ่งแบ่งแยกและสร้างขึ้นหรือทำให้สูญหายไม่ได้” แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
  • 14. ข . ดิโมคริตุส , แบ่งแยกไม่ได้ ค . พลาโต , แบ่งได้เป็น ดิน น้ำ ลม ไฟ ง . ปีทากอรัส , แบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยม ก . อริโตสเติล , แบ่งได้ไม่จำกัด นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ให้แนวคิดเรื่องอะตอมคือใคร ? และอะตอมหมายถึงอะไร ? ลองทำดู 1
  • 15. ^_^ เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
  • 17. โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้สนใจ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทด   จึงทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สขึ้นในปี ค . ศ . 1897 โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson)
  • 18. หลอดรังสีแคโทดที่ เจ . เจ . ทอมสันใช้ทดลอง
  • 19. เจ . เจ . ทอมสัน ได้สรุปสมบัติของรังสีไว้  ดังนี้   1. รังสีแคโทดเดินทางเป็นเส้นตรงจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด   รังสีแคโทดทำให้เกิดเงาดำของวัตถุได้  ถ้านำวัตถุไปขวางทางเดินของรังสี     2 . รังสีแคโทดเป็นอนุภาคที่มีมวล เนื่องจากรังสีทำให้ใบพัดที่ขวางทางเดินของรังสีหมุนได้เหมือนถูกลมพัด                        3. รังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ  เนื่องจากเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า
  • 20. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน “ อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยโปรตอน ซึ่งมีประจุบวก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วไป   อะตอมในสภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจำนวนประจุบวกเท่ากับจำนวนประจุลบ ”
  • 21. ก . อิเล็กตรอน , ประจุ - ข . โปรตอน , ประจุ + ค . นิวตรอน , เป็นกลางทางไฟฟ้า ง . โพรสิตอน , ประจุ - ลองทำดู 2 หลอดรังสีแคโทดที่ เจเจ ทอมสัน ทดลองมีชื่อเรียกว่าอะไร ? และมีประจุทางไฟฟ้าอย่างไร ?
  • 22. ^_^ เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
  • 24. ในปี ค . ศ . 1910 เซอร์ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด  ( Sir Ernest Rutherford ) ได้ศึกษาแบบจำลองอะตอมของทอมสัน   และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริงหรือไม่  เเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ( Sir Ernest Rutherford )
  • 25. รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ โดยมีความหนาไม่เกิน 0.0001 cm โดยมีฉากสารเรืองแสงรองรับ 
  • 26. ปรากฏผลการทดลองดังนี้ 1. อนุภาคส่วนมากเคลื่อนที่ทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง 2. อนุภาคส่วนน้อยเบี่ยงเบนไปจากเส้นตรง 3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคำ
  • 27. แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด “ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง   นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก  และมีประจุบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบ ”  
  • 29. ^_^ เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
  • 31. เนื่องจาก แบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ดยังไม่สมบูรณ์ ในปี 1913 นีลส์ โบร์ ( Niels Bohr ) ได้นำทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมมาประยุกต์ใช้ในการทดลอง เพื่อพัฒนาแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แต่ในการทดลองของเขาสามารถอธิบายได้เฉพาะ อะตอมของไฮโดรเจนที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว นีล โบร์ ( Niels Bohr )
  • 32. แบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบร์ “ อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่ในวงโคจรที่เป็นวงกลมมีรัศมี r รอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ หรือเป็นระดับพลังงานที่มีค่าพลังงานเฉพาะค่าหนึ่ง คล้ายๆ กับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์”
  • 33. ก . ความลึกของระดับน้ำทะเล ข . ระดับของน้ำที่มีผลต่อแรงดัน ค . วงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ง . ระดับความร้อนที่ให้แก่อาหาร ลองทำดู 4 ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน นีลส์ โบร์ เปรียบเทียบคล้ายกับอะไร ?
  • 34. ^_^ เก่งมากครับ ^_^ เรียนเนื้อหาต่อไปกันเลย
  • 36. นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันได้ศึกษาอะตอมของธาตุเพิ่มเติม และพบว่าอิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลมตามที่ นีลส์ โบร์เสนอไว้ แต่จะเคลื่อนที่เป็นรูปวงกลมหรือรูปอื่นๆ แล้วแต่ว่าอิเล็กตรอนตัวนั้นอยู่ในระดับพลังงานใด เนื่องจากอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียสได้หลายรูปแบบ จึงเสมือนดูเสมือนว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปทั่วทั้งอะตอม ดังนั้นจึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้
  • 37. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกกล่าวไว้ดังนี้ 1.  อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม  จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอะตอมได้ 2.  มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านั้น  อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 3.  บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง ”
  • 38. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก “ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส รอบๆนิวเคลียสมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน รูปทรงต่างๆตามระดับพลังงานที่ห่อหุ้มอยู่ บริเวณกลุ่มหมอกทึบ มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่กลุ่มหมอกจาง”
  • 39. ก . อิเล็กตรอนกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอ ข . อิเล็กตรอนอยู่ในภายในนิวเคลียส ค . ไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ ง . อิเล็กตรอนอยู่ที่ซึ่งกำหนดตำแหน่งได้ ลองทำดู 5 ข้อใดกล่าวถึงแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้ถูกต้องที่สุด ?
  • 42.