SlideShare a Scribd company logo
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
1 | P a g e
มวลอะตอมและมวลอะตอมเฉลี่ย
(Relative Atomic Mass and Average Atomic Mass)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความแตกต่างของมวลอะตอมกับมวลของธาตุ 1 อะตอม
2. คานวณหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุเป็นกรัม
3. คานวณหามวลอะตอม เฉลี่ยของธาตุและปริมาณในธรรมชาติของธาตุได้
อะตอม (atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย 2 ส่วนที่สาคัญ ส่วนแรกนิวเคลียส
มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนส่วนที่สองอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นลบเคลื่อนที่อยู่รอบ
นิวเคลียส มีสมบัติดังในตาราง
ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล ( g )
โปรตอน , p + 1.67 x 10 –24
g = 1 amu
นิวตรอน , n 0 1.67 x 10 –24
g = 1 amu
อิเล็กตรอน , e- - 9.11 x 10 –28
g = 0.00055 amu
เนื่องจากอะตอมมีมวลน้อยมาก และไม่สะดวกแก่การชั่ง ในทางปฏิบัติจึงใช้วิธีเปรียบเทียบโดยพิจารณาว่า
อะตอมของธาตุหนึ่งมีมวลมากกว่า หรือน้อยกว่าอะตอมของอีกธาตุหนึ่งกี่เท่า ค่าที่ได้จากการเปรียบเทียบดังกล่าวเรียกว่า
“มวลอะตอม”
การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐาน
ดอลตันพบว่าธาตุไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด จึงเสนอให้ใช้ไฮโดรเจนเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบเพื่อ
หามวลของอะตอมของธาตุอื่น ๆ โดยกาหนดให้ไฮโดรเจน 1 อะตอม มีมวล 1 หน่วย หรือ 1 amu
1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24
กรัม เมื่อใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐานจึงกาหนดนิยามของมวลอะตอม
ดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม”
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
2 | P a g e
เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม
ตัวอย่างเช่น
1. มวลอะตอมของธาตุคาร์บอน = 12 หมายความว่าธาตุคาร์บอน 1 อะตอม มีมวลเป็น 12 เท่าของมวลของธาตุ
ไฮโดรเจน 1 อะตอม
2. มวลอะตอมของธาตุคลอรีน = 35.453 หมายความว่า ธาตุคลอรีน 1 อะตอมมีมวลเป็น 35.453 เท่าของมวลของ
ไฮโดรเจน 1 อะตอม เป็นต้น
ดังนั้น จะเห็นว่า อะตอมของธาตุคลอรีนมีมวลมากกว่าอะตอมของธาตุคาร์บอน
H1
1
atomic mass unit หรือ 1 amu = 1.66 x 1
มวลอะตอมของธาตุ H ที่เบาที่สุด =
มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( Relative atomic mass ,
R.A.M )
ใช้ เป็นมวลมาตรฐานในการหามวลอะตอม
ของธาตุอื่น ๆ
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
3 | P a g e
นอกจากจะใช้หาค่ามวลอะตอมแล้ว ยังสามารถใช้หามวลของอะตอมได้ด้วย เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม
= 1.66 x 10-24
กรัม
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g)
1.66x 10-24
(g)
หรือ มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24
กรัม
ดังนั้น ถ้าทราบมวลอะตอมก็จะคานวณค่ามวลของ 1 อะตอมได้ เช่น
มวลของคาร์บอน 1 อะตอม = มวลอะตอมของคาร์บอน x 1.66 x 10-24 กรัม
= 12 x 1.66 x 10-24
กรัม
มวลของคลอรีน 1 อะตอม = 35.453 x 1.66 x 10-24
กรัม
การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐาน
J.S Stas นักเคมีชาวเบลเยียม ได้เสนอให้ใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหาค่ามวลอะตอมแทนธาตุ
ไฮโดรเจน โดยใช้เหตุผลว่าออกซิเจนมีอยู่มาก และเป็นอิสระในธรรมชาติ รวมทั้งยังเป็นธาตุที่สามารถทาปฏิกิริยากับธาตุ
อื่น ๆได้เกือบหมด จึงน่าจะใช้เป็นมาตรฐานแทนธาตุไฮโดรเจน และเปลี่ยนนิยามของมวลอะตอมใหม่เป็นดังนี้
“มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม หนักเป็นกี่เท่าของ 1/16 มวล
ของออกซิเจน 1 อะตอม” โดย 1/16 มวลของออกซิเจน 1 อะตอม มีค่า = 1 amu เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์
ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของออกซิเจน 1 อะตอม
เช่น ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอมเท่ากับ 24 หมายความว่า ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอม หนักเป็น24 เท่าของ มวล
ออกซิเจน 1 อะตอม เป็นต้น
การหามวลอะตอมโดยใช้คาร์บอน -12 เป็นมาตรฐาน
การใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหามวลอะตอม ทาให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่างนักเคมี
และนักฟิสิกส์ในการกาหนดมวลของธาตุออกซิเจน เนื่องจากนักเคมีคิดมวลอะตอมของออกซิเจนจากไอโซโทปของ
ออกซิเจน – 16 เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นมวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ ที่คิดโดยนักเคมี
และนักฟิสิกส์จึงไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2504) นักวิทยาศาสตร์จึงตกลงเลือกธาตุ
มาตรฐานเพื่อหามวลอะตอมใหม่โดยใช้คาร์บอน–12 เป็นตัวเปรียบเทียบและให้นิยามมวลอะตอมดังนี้
x
16
1
16
1
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
4 | P a g e
“มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12มวลของคาร์บอน –12
1 อะตอม” เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของคาร์บอน-12 1 อะตอม
เช่น มวลอะตอมของออกซิเจน = 16.00 หมายความว่าธาตุออกซิเจน 1 อะตอม มีมวลเป็น 16 เท่าของ 1/12
มวลของคาร์บอน – 12 , 1 อะตอม
ตัวอย่างการคานวณหามวลอะตอม
1. ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ธาตุ X 20 อะตอมมีมวลกี่กรัม
วิธีคิด ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ∴ X 1 อะตอม หนัก 32 a.m.u
X 20 อะตอม หนัก 640 a.m.u = 640 x 1.66 x 10
- 24
g
2.ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10
-23
g จงหามวลอะตอมของ He
วิธีคิด ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10
-23
g
ธาตุ He 1 อะตอม มีมวล = 6.64 x 10
-23
g
10
∴ มวลอะตอมของ He = มวล He 1 อะตอม = 6.64×10-24
g
1/12 มวลของC-12 1 อะตอม 1.66×10-24
g
มวลอะตอมของ He = 4
3. ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ถ้า ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 จงหามวล
อะตอมของธาตุ X
วิธีคิด ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 ∴ B 1 อะตอมหนัก 4 a.m.u
B 40 อะตอม หนัก = 4(40) = 160 a.m.u
x
12
1
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
5 | P a g e
ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม
∴ X 10 อะตอม หนัก = 2(160) = 320 a.m.u
X 1 อะตอม หนัก = 32 a.m.u ∴ มวลอะตอมของ X = 32
4. ถ้ามวลอะตอมของ Z = 40 จงคานวณหา
4.1 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม (40 เท่า)
4.2 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลกี่ กรัม (40 x 1.66 x 10
- 24
g)
4.3 มวลของ Z 150 อะตอม หนักกี่กรัม ( 150 x 40 x 1.66 x 10
- 24
g)
4.4. ธาตุ Z 240 a.m.u. มีกี่อะตอม (240/40 = 6 อะตอม)
กิจกรรมที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเอกสารแล้วใช้กระบวนการกลุ่ม หาคาตอบแล้วทาลงในสมุดจด
1.ให้นักเรียนสรุปความรู้แนวการคิดในการหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุ 1 อะตอม เป็น mind mapping
2..ให้ทาแบบทดสอบต่อไปนี้
2.1. ธาตุ O 1 อะตอมมีมวล 26.56 x 10
-24
g จงคานวณหา
1. มวลอะตอมของ O
2. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม
3. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลกี่ a.m.u.
4. มวลของ O 100 อะตอม หนักกี่กรัม
2.2 ธาตุ X 10 อะตอมมีมวลเป็น 5 เท่าของ C-12 4 อะตอม มวลอะตอมของ X และมวลของธาตุ
X 1 อะตอม เป็นเท่าใด
2.3 ธาตุ A มีมวลอะตอม = 50 ธาตุ B มีมวลอะตอม = 80 ธาตุ A 20 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ
ธาตุ B 5 อะตอม
2.4 ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
2.5 ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม หนักกี่กรัม
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
6 | P a g e
2.6 ธาตุ X 2 อะตอมมีมวล 36.52x10–24
กรัม ถามว่า ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด
มวลอะตอมเฉลี่ย (Average Atomic Mass)
ธาตุแต่ละชนิดที่อยู่ในธรรมชาติมักจะมีไอโซโทปหลายชนิดปนกันอยู่ เช่น ธาตุคาร์บอนจะมีไอโซโทปในธรรมชาติ
ที่สาคัญคือ C – 12 และ C –13 ธาตุออกซิเจนมี O – 16 , O – 17 และ O –18 เป็นต้น ไอโซโทปของธาตุแต่ละชนิดจะมี
ปริมาณไม่เท่ากันในธรรมชาติ และมีมวลอะตอมไม่เท่ากันด้วยเช่น N - 14 มีในธรรมชาติ 99.64 % และมีมวลอะตอม
14.0031N - 15 มีในธรรมชาติ 0.36 % และมีมวลอะตอม 15.0001 การพิจารณามวลอะตอมที่แท้จริงจึงต้องคิดจาก
ไอโซโทปทุก ๆ ตัวที่มีอยู่ในธรรมชาติเป็นค่าเฉลี่ย เรียกว่า “มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป” การหามวลอะตอมและ
ปริมาณของไอโซโทปแต่ละธาตุ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แมสสเปกโตร มิเตอร์ (mass spectrometer)
มวลอะตอมเฉลี่ย A = ∑(มวลอะตอมแต่ละไอโซโทปA x %)
100
แนวคาถาม ถามเกี่ยวกับ มวลอะตอมเฉลี่ย A , มวลอะตอมแต่ละ ไอโซโทปของ A และ %ในธรรมชาติ
Ex 1 คาร์บอนมีไอโซโทป 2 ชนิดที่เสถียรคือ C-12 กับ C-13 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของคาร์บอน เมื่อกาหนดให้
C-12 ในธรรมชาติมี 98.99 % มีมวลอะตอม = 12 และ C-13 มี 1.01 % มีมวลอะตอม = 13
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
7 | P a g e
Ex 2 ธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทปที่ 1 มีมวลอะตอม 23.08 มีปริมาณในธรรมชาติ 90.00 % ที่เหลือเป็น
ปริมาณของไอโซโทปที่ 2 ถ้ามวลอะตอมของ ธาตุ A = 23.19 มวลอะตอมไอโซโทปที่ 2 เป็นเท่าใด
(Ent’ มี.ค. 43 )
1. 24.00 2. 24.18 3. 25.00 4. 25.50
Ex 3 Ex 11 ไนโตรเจนในธรรมชาติ ( มวลอะตอม = 14.004) ประกอบด้วย 2 ไอโซโทปคือ N14
และ N15
ปริมาณร้อยละของไอโซโทปทั้งสองของไนโตรเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ มีค่าเป็นเท่าใด( Ent ‘ ต.ค. 42)
1. N14
= 4, N15
= 96 2. N14
= 50, N15
= 50
3. N14
= 96, N15
= 4 4. N14
= 99.6, N15
= 0.4
โมล (The Mole)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและที่มาของโมลสารได้
2. อธิบายความหมายและระบุชนิดของโมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออนได้
3. สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP ได้
4.คานวณหาปริมาณสารได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP
การนับจานวนในชีวิตประจาวัน
ชนิด การนับจานวน ปริมาณ
รองเท้า คู่ 2
ปากกา โหล 12
กระดาษ รีม 480
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
8 | P a g e
ปริมาณสาร 1 โมล
การบอกปริมาณสาร บอกในหน่วย โมล (mole : mol) เพราะ………………………………………
โมล หมายถึง หน่วยบอกปริมาณสาร ที่มีจานวนอนุภาค เท่ากับ อนุภาคใน 12 g ของ C-12
C – 12 หนัก 12 x 1.66 x 10 -24
g มีจานวนอะตอม = 1 อะตอม
ดังนั้น ถ้า C -12 หนัก 12 g ก็จะมีจานวนอะตอม =
gxx
gx
24
1066.112
121

= 6.02 x 10 23
อะตอม
ดังนั้น สารใด 1 โมล จึงมีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x 10 23
Ex1. จงแสดงแนวคิด มวลอะตอมของ Na = 23 ถ้า Na หนัก 23 กรัม จะมี Na กี่อะตอม
Ex 2 H2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 18 ถ้า H2O หนัก 18 กรัมจะมีจานวนกี่โมเลกุล
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับอนุภาค
สาร จานวนโมล ชนิดของโมล จานวนอนุภาค
Na 1 1x6.02 x 10 23
Ca2+
2
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
9 | P a g e
H2O 3
CaO 5 formula unit
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลโมเลกุล กับโมลอะตอม หรือโมลสูตรกับโมลไอออน
สาร โมล
โมเลกุล
โมล
อะตอม
โมล
ไอออน
โมเลกุล อะตอม ไอออน
CO2 1 3 - 1x6.02 x 10 23
3x6.02 x 10 23
-
Al(NO3)3 1
C2H6 1
CaO 1 2 2 1x6.02 x 10 23
- 2x6.02 x 10 23
H2O 0.5
CH3COOH 0.5
Na3PO4 0.5
CuSO4.5H2O 2
C2H5OH 2
ตอบคาถามต่อไปนี้
1. อาร์กอนปริมาณ ……..โมล มีจานวน 5 x 6.02 x 10 23
อะตอม
2. จานวนอนุภาค 6.02 x 10 23
อนุภาคคิดเป็นสาร…….โมล
3. Na มีจานวนอะตอมมากกว่า Ca หมายความว่า Na มี…………….. มากกว่า Ca
4. CO2 0.2 mol มีจานวนโมเลกุล…………………………. โมเลกุล
5. แมว 10 โมล มีแมว…………………… ตัว
6. ก๊าซมีเทน 18.06 x 10 23
โมเลกุล คิดเป็น ……….โมลโมเลกุล
7. Fe และ H มีจานวนอะตอมเท่ากัน แสดงว่ามี ………………….เท่ากัน
8. H2S กับ Cl2 มีโมลโมเลกุลเท่ากัน แสดงว่ามี…………………….. เท่ากัน
9. ถ้าชั่งสารออกมาเป็น “กรัม” โดยให้ตัวเลขของมวลนั้น = ………………………… สารนั้นจะมีจานวน
อนุภาค = 6.02 x 10 23
อนุภาค
10. หน่วยที่ใช้เรียกสารที่มีจานวนอนุภาค อนุภาค = 6.02 x 10 23
อนุภาค ว่า................................
11. คาว่าอนุภาค หมายถึง สิ่งใดบ้าง..............................................................................................
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
10 | P a g e
12. กรณีที่บอกอนุภาคของาตุที่เป็นโลหะ เราระบุชนิดของอนุภาคเป็น...............................................
13. ธาตุที่ประกอบกันเข้าเป็นโมเลกุล ถ้าไม่ระบุชนิดของอนุภาค อนุภาคจะหมายถึง...............................
14. เลขอาโวกาโดร มีค่าเท่ากับ............................................................................................................
16. Na 1 mol มีจานวนอนุภาค = 6.02 x 10 23
อะตอม
Na 2.5 mol จานวนอนุภาค = ………………..อะตอม
17. ปรอท 30.1 x 1022
อะตอม มีจานวน = ………………………………โมล
18. จงคานวณหาอนุภาคและระบุชนิดของอนุภาคของสารต่อไปนี้
a) 1.75 โมลของก๊าซออกซิเจน b) 2.00 โมลของ K+
c) 5.00 โมลของ Cu d) 0.25 โมลของ NH3
19. จงหาจานวนโมลของ
a) Pb 1 อะตอม b) HCl 3.01 x 10 23
โมเลกุล
20) สารในข้อใดต่อไปนี้มีจานวนอะตอมของออกซิเจนมากที่สุด ( O = 16 )
a. อะตอมออกซิเจน 10 โมล
b. แก๊สออกซิเจน 10 โมล
c. แก๊สโอโซน 10 โมล
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับมวลเป็นกรัม
1. จงพิจารณาคากล่าวต่อไปนี้
สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม)
12
C 1 - 12 12
H2O 1 18 -
NaCl 1 - 58.5
CO2 1 44 -
( กาหนด มวลอะตอม C = 12, H = 1, O=16, Na = 23, Cl=35.5 )
2. จงพิจารณาตารางต่อไปนี้แล้วเติมช่องว่างให้สมบูรณ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
11 | P a g e
สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม)
12
C 2 - 12 2x12
H2O 3 18 - 3x18
NaCl 3 -
CO2 3 -
นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมล กับมวลเป็นกรัมอย่างไร.....................................................................................
...............................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
Ex 1 แอสไพริน (C9H8O4) 0.01 โมล จงหา
ก. มวล (กรัม) ของแอสไพริน
ข. มวลของ C, H, O
แนวคิด
Ex 2 P4O10 หนัก 2.84 กรัม มีออกซิเจนหนักกี่กรัม (P=31, O=16)
แนวคิด
Ex 3 ฮีโมโกลบิน มีมวลโมเลกุล 67,200 g/mol มีเหล็กเป็นส่วนผสมร้อยละ 1/3 ในฮีโมโกลบิน 2.5 โมล จะมีเหล็ก
อยู่กี่กรัม ( Fe = 56)
แนวคิด
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
12 | P a g e
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับปริมาตรของแก๊สที่ STP
สภาวะที่ 1
 แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 24.0 dm3
ที่ RTP
 RTP ( Room Temperture and Pressure) T = 250
C , P= 1 atm
 โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3
)
24.0 dm3
สภาวะที่ 2
 แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 dm3
ที่ STP
 STP ( Standard Temperture and Pressure) T = 00
C , P = 1 atm
 โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3
)
22.4 dm3
Ex 1 จงหาปริมาตรในหน่วย dm3
ของ CO2 0.5 mol ที่ STP
Ex 2 จงหาโมลของ CH4 4.48 dm3
ที่ STP
Ex 3 จงหา ปริมาตรของ SO2 2.0 mol ที่ RTP
Ex 4 จงหาจานวนโมลของ NH3 24000 cm3
ที่ RTP
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
13 | P a g e
ความสัมพันธ์ระหว่างโมล อนุภาค มวล (g) และปริมาตรของแก๊สที่ STP
จงเขียนความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค มวล (g) และ ปริมาตรของแก๊สที่ STP
สาร โมลโมเลกุล จานวนโมเลกุล โมลอะตอม จานวนอะตอม มวล (กรัม) ปริมาตรที่
STP (dm3
)
CO2 1 6.02 x 10 23
3 3x6.02 x 10 23
44 22.4
NH3 2
C2H5OH 2
Al(NO3)3 1
O3 3
CH3COOH 0.5
พิจารณาข้อมูลจากตาราง แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค 1 โมลกับมวล และ1 โมลกับปริมาตรที่ STP อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
Ex 1 NH3 6.72 ลิตร ที่ STP ถ้าทาให้สลายตัวเป็นธาตุ จะได้ธาตุรวมกันทั้งสิ้นกี่อะตอม
Ex 2 แก๊สไนโตรเจน 70 กรัมที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ( N=14)
Ex 3 สารประกอบชนิดหนึ่ง 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 3 อะตอม, H 8 อะตอม, O 2 อะตอม ถ้าสารนี้ 1.806 x 1024
โมเลกุล จะมีมวลกี่กรัม ( C=12, H=1, O=16)
Ex 4 A4B6 จานวน 6.02 x 1023
อะตอม จะมีปริมาตรเท่าใด ที่ STP
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
14 | P a g e
Ex 5 จงพิจารณาข้อความเกี่ยวกับแอมเฟตามีน ซึ่งมีสูตรเป็น C9H13N ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร
1. แอมเฟตามีน หนัก 0.135 g มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ 6.02 x 1020
กรัม
2. แอมเฟตามีน 8 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ 1.080x1.66x10-21
กรัม
3. แอมเฟตามีน 2.5 โมล มีมวล 135 กรัม
Ex 6 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร
1. ทองคา 1 โมล มีจานวน 6.02 x 1023
อะตอม 3. แก๊สคลอรีน 1 โมลมี 6.02 x 1023
อะตอม
2. SO2 6.4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ H2 0.5 โมล 4. CH4 2 โมล มีปริมาตรที่ STP เท่ากับ O2 64 กรัม

More Related Content

What's hot

5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
Srinakharinwirot University
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
oraneehussem
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล

1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
Saipanya school
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
Basicatom
BasicatomBasicatom
Basicatom
FairNattawut
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
Wichai Likitponrak
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550nocky8296
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912CUPress
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
LeeMinho84
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
Gawewat Dechaapinun
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล (20)

1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
Basicatom
BasicatomBasicatom
Basicatom
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล

  • 1. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 1 | P a g e มวลอะตอมและมวลอะตอมเฉลี่ย (Relative Atomic Mass and Average Atomic Mass) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความแตกต่างของมวลอะตอมกับมวลของธาตุ 1 อะตอม 2. คานวณหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุเป็นกรัม 3. คานวณหามวลอะตอม เฉลี่ยของธาตุและปริมาณในธรรมชาติของธาตุได้ อะตอม (atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย 2 ส่วนที่สาคัญ ส่วนแรกนิวเคลียส มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนส่วนที่สองอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นลบเคลื่อนที่อยู่รอบ นิวเคลียส มีสมบัติดังในตาราง ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล ( g ) โปรตอน , p + 1.67 x 10 –24 g = 1 amu นิวตรอน , n 0 1.67 x 10 –24 g = 1 amu อิเล็กตรอน , e- - 9.11 x 10 –28 g = 0.00055 amu เนื่องจากอะตอมมีมวลน้อยมาก และไม่สะดวกแก่การชั่ง ในทางปฏิบัติจึงใช้วิธีเปรียบเทียบโดยพิจารณาว่า อะตอมของธาตุหนึ่งมีมวลมากกว่า หรือน้อยกว่าอะตอมของอีกธาตุหนึ่งกี่เท่า ค่าที่ได้จากการเปรียบเทียบดังกล่าวเรียกว่า “มวลอะตอม” การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐาน ดอลตันพบว่าธาตุไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด จึงเสนอให้ใช้ไฮโดรเจนเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบเพื่อ หามวลของอะตอมของธาตุอื่น ๆ โดยกาหนดให้ไฮโดรเจน 1 อะตอม มีมวล 1 หน่วย หรือ 1 amu 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 กรัม เมื่อใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐานจึงกาหนดนิยามของมวลอะตอม ดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม”
  • 2. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 2 | P a g e เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม ตัวอย่างเช่น 1. มวลอะตอมของธาตุคาร์บอน = 12 หมายความว่าธาตุคาร์บอน 1 อะตอม มีมวลเป็น 12 เท่าของมวลของธาตุ ไฮโดรเจน 1 อะตอม 2. มวลอะตอมของธาตุคลอรีน = 35.453 หมายความว่า ธาตุคลอรีน 1 อะตอมมีมวลเป็น 35.453 เท่าของมวลของ ไฮโดรเจน 1 อะตอม เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นว่า อะตอมของธาตุคลอรีนมีมวลมากกว่าอะตอมของธาตุคาร์บอน H1 1 atomic mass unit หรือ 1 amu = 1.66 x 1 มวลอะตอมของธาตุ H ที่เบาที่สุด = มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( Relative atomic mass , R.A.M ) ใช้ เป็นมวลมาตรฐานในการหามวลอะตอม ของธาตุอื่น ๆ
  • 3. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 3 | P a g e นอกจากจะใช้หาค่ามวลอะตอมแล้ว ยังสามารถใช้หามวลของอะตอมได้ด้วย เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม = 1.66 x 10-24 กรัม มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g) 1.66x 10-24 (g) หรือ มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24 กรัม ดังนั้น ถ้าทราบมวลอะตอมก็จะคานวณค่ามวลของ 1 อะตอมได้ เช่น มวลของคาร์บอน 1 อะตอม = มวลอะตอมของคาร์บอน x 1.66 x 10-24 กรัม = 12 x 1.66 x 10-24 กรัม มวลของคลอรีน 1 อะตอม = 35.453 x 1.66 x 10-24 กรัม การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐาน J.S Stas นักเคมีชาวเบลเยียม ได้เสนอให้ใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหาค่ามวลอะตอมแทนธาตุ ไฮโดรเจน โดยใช้เหตุผลว่าออกซิเจนมีอยู่มาก และเป็นอิสระในธรรมชาติ รวมทั้งยังเป็นธาตุที่สามารถทาปฏิกิริยากับธาตุ อื่น ๆได้เกือบหมด จึงน่าจะใช้เป็นมาตรฐานแทนธาตุไฮโดรเจน และเปลี่ยนนิยามของมวลอะตอมใหม่เป็นดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม หนักเป็นกี่เท่าของ 1/16 มวล ของออกซิเจน 1 อะตอม” โดย 1/16 มวลของออกซิเจน 1 อะตอม มีค่า = 1 amu เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของออกซิเจน 1 อะตอม เช่น ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอมเท่ากับ 24 หมายความว่า ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอม หนักเป็น24 เท่าของ มวล ออกซิเจน 1 อะตอม เป็นต้น การหามวลอะตอมโดยใช้คาร์บอน -12 เป็นมาตรฐาน การใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหามวลอะตอม ทาให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่างนักเคมี และนักฟิสิกส์ในการกาหนดมวลของธาตุออกซิเจน เนื่องจากนักเคมีคิดมวลอะตอมของออกซิเจนจากไอโซโทปของ ออกซิเจน – 16 เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นมวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ ที่คิดโดยนักเคมี และนักฟิสิกส์จึงไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2504) นักวิทยาศาสตร์จึงตกลงเลือกธาตุ มาตรฐานเพื่อหามวลอะตอมใหม่โดยใช้คาร์บอน–12 เป็นตัวเปรียบเทียบและให้นิยามมวลอะตอมดังนี้ x 16 1 16 1
  • 4. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 4 | P a g e “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12มวลของคาร์บอน –12 1 อะตอม” เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของคาร์บอน-12 1 อะตอม เช่น มวลอะตอมของออกซิเจน = 16.00 หมายความว่าธาตุออกซิเจน 1 อะตอม มีมวลเป็น 16 เท่าของ 1/12 มวลของคาร์บอน – 12 , 1 อะตอม ตัวอย่างการคานวณหามวลอะตอม 1. ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ธาตุ X 20 อะตอมมีมวลกี่กรัม วิธีคิด ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ∴ X 1 อะตอม หนัก 32 a.m.u X 20 อะตอม หนัก 640 a.m.u = 640 x 1.66 x 10 - 24 g 2.ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10 -23 g จงหามวลอะตอมของ He วิธีคิด ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10 -23 g ธาตุ He 1 อะตอม มีมวล = 6.64 x 10 -23 g 10 ∴ มวลอะตอมของ He = มวล He 1 อะตอม = 6.64×10-24 g 1/12 มวลของC-12 1 อะตอม 1.66×10-24 g มวลอะตอมของ He = 4 3. ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ถ้า ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 จงหามวล อะตอมของธาตุ X วิธีคิด ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 ∴ B 1 อะตอมหนัก 4 a.m.u B 40 อะตอม หนัก = 4(40) = 160 a.m.u x 12 1
  • 5. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 5 | P a g e ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ∴ X 10 อะตอม หนัก = 2(160) = 320 a.m.u X 1 อะตอม หนัก = 32 a.m.u ∴ มวลอะตอมของ X = 32 4. ถ้ามวลอะตอมของ Z = 40 จงคานวณหา 4.1 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม (40 เท่า) 4.2 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลกี่ กรัม (40 x 1.66 x 10 - 24 g) 4.3 มวลของ Z 150 อะตอม หนักกี่กรัม ( 150 x 40 x 1.66 x 10 - 24 g) 4.4. ธาตุ Z 240 a.m.u. มีกี่อะตอม (240/40 = 6 อะตอม) กิจกรรมที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเอกสารแล้วใช้กระบวนการกลุ่ม หาคาตอบแล้วทาลงในสมุดจด 1.ให้นักเรียนสรุปความรู้แนวการคิดในการหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุ 1 อะตอม เป็น mind mapping 2..ให้ทาแบบทดสอบต่อไปนี้ 2.1. ธาตุ O 1 อะตอมมีมวล 26.56 x 10 -24 g จงคานวณหา 1. มวลอะตอมของ O 2. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม 3. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลกี่ a.m.u. 4. มวลของ O 100 อะตอม หนักกี่กรัม 2.2 ธาตุ X 10 อะตอมมีมวลเป็น 5 เท่าของ C-12 4 อะตอม มวลอะตอมของ X และมวลของธาตุ X 1 อะตอม เป็นเท่าใด 2.3 ธาตุ A มีมวลอะตอม = 50 ธาตุ B มีมวลอะตอม = 80 ธาตุ A 20 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ ธาตุ B 5 อะตอม 2.4 ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม 2.5 ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม หนักกี่กรัม
  • 6. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 6 | P a g e 2.6 ธาตุ X 2 อะตอมมีมวล 36.52x10–24 กรัม ถามว่า ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด มวลอะตอมเฉลี่ย (Average Atomic Mass) ธาตุแต่ละชนิดที่อยู่ในธรรมชาติมักจะมีไอโซโทปหลายชนิดปนกันอยู่ เช่น ธาตุคาร์บอนจะมีไอโซโทปในธรรมชาติ ที่สาคัญคือ C – 12 และ C –13 ธาตุออกซิเจนมี O – 16 , O – 17 และ O –18 เป็นต้น ไอโซโทปของธาตุแต่ละชนิดจะมี ปริมาณไม่เท่ากันในธรรมชาติ และมีมวลอะตอมไม่เท่ากันด้วยเช่น N - 14 มีในธรรมชาติ 99.64 % และมีมวลอะตอม 14.0031N - 15 มีในธรรมชาติ 0.36 % และมีมวลอะตอม 15.0001 การพิจารณามวลอะตอมที่แท้จริงจึงต้องคิดจาก ไอโซโทปทุก ๆ ตัวที่มีอยู่ในธรรมชาติเป็นค่าเฉลี่ย เรียกว่า “มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป” การหามวลอะตอมและ ปริมาณของไอโซโทปแต่ละธาตุ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แมสสเปกโตร มิเตอร์ (mass spectrometer) มวลอะตอมเฉลี่ย A = ∑(มวลอะตอมแต่ละไอโซโทปA x %) 100 แนวคาถาม ถามเกี่ยวกับ มวลอะตอมเฉลี่ย A , มวลอะตอมแต่ละ ไอโซโทปของ A และ %ในธรรมชาติ Ex 1 คาร์บอนมีไอโซโทป 2 ชนิดที่เสถียรคือ C-12 กับ C-13 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของคาร์บอน เมื่อกาหนดให้ C-12 ในธรรมชาติมี 98.99 % มีมวลอะตอม = 12 และ C-13 มี 1.01 % มีมวลอะตอม = 13
  • 7. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 7 | P a g e Ex 2 ธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทปที่ 1 มีมวลอะตอม 23.08 มีปริมาณในธรรมชาติ 90.00 % ที่เหลือเป็น ปริมาณของไอโซโทปที่ 2 ถ้ามวลอะตอมของ ธาตุ A = 23.19 มวลอะตอมไอโซโทปที่ 2 เป็นเท่าใด (Ent’ มี.ค. 43 ) 1. 24.00 2. 24.18 3. 25.00 4. 25.50 Ex 3 Ex 11 ไนโตรเจนในธรรมชาติ ( มวลอะตอม = 14.004) ประกอบด้วย 2 ไอโซโทปคือ N14 และ N15 ปริมาณร้อยละของไอโซโทปทั้งสองของไนโตรเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ มีค่าเป็นเท่าใด( Ent ‘ ต.ค. 42) 1. N14 = 4, N15 = 96 2. N14 = 50, N15 = 50 3. N14 = 96, N15 = 4 4. N14 = 99.6, N15 = 0.4 โมล (The Mole) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและที่มาของโมลสารได้ 2. อธิบายความหมายและระบุชนิดของโมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออนได้ 3. สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP ได้ 4.คานวณหาปริมาณสารได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP การนับจานวนในชีวิตประจาวัน ชนิด การนับจานวน ปริมาณ รองเท้า คู่ 2 ปากกา โหล 12 กระดาษ รีม 480
  • 8. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 8 | P a g e ปริมาณสาร 1 โมล การบอกปริมาณสาร บอกในหน่วย โมล (mole : mol) เพราะ……………………………………… โมล หมายถึง หน่วยบอกปริมาณสาร ที่มีจานวนอนุภาค เท่ากับ อนุภาคใน 12 g ของ C-12 C – 12 หนัก 12 x 1.66 x 10 -24 g มีจานวนอะตอม = 1 อะตอม ดังนั้น ถ้า C -12 หนัก 12 g ก็จะมีจานวนอะตอม = gxx gx 24 1066.112 121  = 6.02 x 10 23 อะตอม ดังนั้น สารใด 1 โมล จึงมีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x 10 23 Ex1. จงแสดงแนวคิด มวลอะตอมของ Na = 23 ถ้า Na หนัก 23 กรัม จะมี Na กี่อะตอม Ex 2 H2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 18 ถ้า H2O หนัก 18 กรัมจะมีจานวนกี่โมเลกุล ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับอนุภาค สาร จานวนโมล ชนิดของโมล จานวนอนุภาค Na 1 1x6.02 x 10 23 Ca2+ 2
  • 9. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 9 | P a g e H2O 3 CaO 5 formula unit ความสัมพันธ์ระหว่างโมลโมเลกุล กับโมลอะตอม หรือโมลสูตรกับโมลไอออน สาร โมล โมเลกุล โมล อะตอม โมล ไอออน โมเลกุล อะตอม ไอออน CO2 1 3 - 1x6.02 x 10 23 3x6.02 x 10 23 - Al(NO3)3 1 C2H6 1 CaO 1 2 2 1x6.02 x 10 23 - 2x6.02 x 10 23 H2O 0.5 CH3COOH 0.5 Na3PO4 0.5 CuSO4.5H2O 2 C2H5OH 2 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. อาร์กอนปริมาณ ……..โมล มีจานวน 5 x 6.02 x 10 23 อะตอม 2. จานวนอนุภาค 6.02 x 10 23 อนุภาคคิดเป็นสาร…….โมล 3. Na มีจานวนอะตอมมากกว่า Ca หมายความว่า Na มี…………….. มากกว่า Ca 4. CO2 0.2 mol มีจานวนโมเลกุล…………………………. โมเลกุล 5. แมว 10 โมล มีแมว…………………… ตัว 6. ก๊าซมีเทน 18.06 x 10 23 โมเลกุล คิดเป็น ……….โมลโมเลกุล 7. Fe และ H มีจานวนอะตอมเท่ากัน แสดงว่ามี ………………….เท่ากัน 8. H2S กับ Cl2 มีโมลโมเลกุลเท่ากัน แสดงว่ามี…………………….. เท่ากัน 9. ถ้าชั่งสารออกมาเป็น “กรัม” โดยให้ตัวเลขของมวลนั้น = ………………………… สารนั้นจะมีจานวน อนุภาค = 6.02 x 10 23 อนุภาค 10. หน่วยที่ใช้เรียกสารที่มีจานวนอนุภาค อนุภาค = 6.02 x 10 23 อนุภาค ว่า................................ 11. คาว่าอนุภาค หมายถึง สิ่งใดบ้าง..............................................................................................
  • 10. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 10 | P a g e 12. กรณีที่บอกอนุภาคของาตุที่เป็นโลหะ เราระบุชนิดของอนุภาคเป็น............................................... 13. ธาตุที่ประกอบกันเข้าเป็นโมเลกุล ถ้าไม่ระบุชนิดของอนุภาค อนุภาคจะหมายถึง............................... 14. เลขอาโวกาโดร มีค่าเท่ากับ............................................................................................................ 16. Na 1 mol มีจานวนอนุภาค = 6.02 x 10 23 อะตอม Na 2.5 mol จานวนอนุภาค = ………………..อะตอม 17. ปรอท 30.1 x 1022 อะตอม มีจานวน = ………………………………โมล 18. จงคานวณหาอนุภาคและระบุชนิดของอนุภาคของสารต่อไปนี้ a) 1.75 โมลของก๊าซออกซิเจน b) 2.00 โมลของ K+ c) 5.00 โมลของ Cu d) 0.25 โมลของ NH3 19. จงหาจานวนโมลของ a) Pb 1 อะตอม b) HCl 3.01 x 10 23 โมเลกุล 20) สารในข้อใดต่อไปนี้มีจานวนอะตอมของออกซิเจนมากที่สุด ( O = 16 ) a. อะตอมออกซิเจน 10 โมล b. แก๊สออกซิเจน 10 โมล c. แก๊สโอโซน 10 โมล ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับมวลเป็นกรัม 1. จงพิจารณาคากล่าวต่อไปนี้ สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม) 12 C 1 - 12 12 H2O 1 18 - NaCl 1 - 58.5 CO2 1 44 - ( กาหนด มวลอะตอม C = 12, H = 1, O=16, Na = 23, Cl=35.5 ) 2. จงพิจารณาตารางต่อไปนี้แล้วเติมช่องว่างให้สมบูรณ์
  • 11. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 11 | P a g e สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม) 12 C 2 - 12 2x12 H2O 3 18 - 3x18 NaCl 3 - CO2 3 - นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมล กับมวลเป็นกรัมอย่างไร..................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. Ex 1 แอสไพริน (C9H8O4) 0.01 โมล จงหา ก. มวล (กรัม) ของแอสไพริน ข. มวลของ C, H, O แนวคิด Ex 2 P4O10 หนัก 2.84 กรัม มีออกซิเจนหนักกี่กรัม (P=31, O=16) แนวคิด Ex 3 ฮีโมโกลบิน มีมวลโมเลกุล 67,200 g/mol มีเหล็กเป็นส่วนผสมร้อยละ 1/3 ในฮีโมโกลบิน 2.5 โมล จะมีเหล็ก อยู่กี่กรัม ( Fe = 56) แนวคิด
  • 12. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 12 | P a g e ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับปริมาตรของแก๊สที่ STP สภาวะที่ 1  แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 24.0 dm3 ที่ RTP  RTP ( Room Temperture and Pressure) T = 250 C , P= 1 atm  โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3 ) 24.0 dm3 สภาวะที่ 2  แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 dm3 ที่ STP  STP ( Standard Temperture and Pressure) T = 00 C , P = 1 atm  โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3 ) 22.4 dm3 Ex 1 จงหาปริมาตรในหน่วย dm3 ของ CO2 0.5 mol ที่ STP Ex 2 จงหาโมลของ CH4 4.48 dm3 ที่ STP Ex 3 จงหา ปริมาตรของ SO2 2.0 mol ที่ RTP Ex 4 จงหาจานวนโมลของ NH3 24000 cm3 ที่ RTP
  • 13. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 13 | P a g e ความสัมพันธ์ระหว่างโมล อนุภาค มวล (g) และปริมาตรของแก๊สที่ STP จงเขียนความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค มวล (g) และ ปริมาตรของแก๊สที่ STP สาร โมลโมเลกุล จานวนโมเลกุล โมลอะตอม จานวนอะตอม มวล (กรัม) ปริมาตรที่ STP (dm3 ) CO2 1 6.02 x 10 23 3 3x6.02 x 10 23 44 22.4 NH3 2 C2H5OH 2 Al(NO3)3 1 O3 3 CH3COOH 0.5 พิจารณาข้อมูลจากตาราง แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค 1 โมลกับมวล และ1 โมลกับปริมาตรที่ STP อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… Ex 1 NH3 6.72 ลิตร ที่ STP ถ้าทาให้สลายตัวเป็นธาตุ จะได้ธาตุรวมกันทั้งสิ้นกี่อะตอม Ex 2 แก๊สไนโตรเจน 70 กรัมที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ( N=14) Ex 3 สารประกอบชนิดหนึ่ง 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 3 อะตอม, H 8 อะตอม, O 2 อะตอม ถ้าสารนี้ 1.806 x 1024 โมเลกุล จะมีมวลกี่กรัม ( C=12, H=1, O=16) Ex 4 A4B6 จานวน 6.02 x 1023 อะตอม จะมีปริมาตรเท่าใด ที่ STP
  • 14. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 14 | P a g e Ex 5 จงพิจารณาข้อความเกี่ยวกับแอมเฟตามีน ซึ่งมีสูตรเป็น C9H13N ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร 1. แอมเฟตามีน หนัก 0.135 g มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ 6.02 x 1020 กรัม 2. แอมเฟตามีน 8 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ 1.080x1.66x10-21 กรัม 3. แอมเฟตามีน 2.5 โมล มีมวล 135 กรัม Ex 6 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร 1. ทองคา 1 โมล มีจานวน 6.02 x 1023 อะตอม 3. แก๊สคลอรีน 1 โมลมี 6.02 x 1023 อะตอม 2. SO2 6.4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ H2 0.5 โมล 4. CH4 2 โมล มีปริมาตรที่ STP เท่ากับ O2 64 กรัม