SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ จำนวน 25 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ 9 เรื่อง อนุภาคในอะตอม จำนวน 2 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนนธาตุ สมบัติธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร
ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตรอน นิวตรอน และอิเล็กตอนของอะตอม
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป
สาระสำคัญ
ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ โปรตอน, นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยมีโปรตอนกับ
นิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส นิวเคลียสนี้จะครอบครองเนื้อที่ภายในอะตอมเพียงเล็กน้อย และมีอิเล็กตรอน
วิ่งรอบๆนิวเคลียสด้วยความเร็วสูง คล้ายกับมีกลุ่มประจุลบปกคลุมอยู่โดยรอบ อนุภาคสำคัญทั้งสามนี้เรียกว่า
อนุภาคมูลฐาน
อะตอมของธาตุแต่ละชนิดมีมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่นๆ ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวน
โปรตอน เรียกว่า เลขอะตอม เนื่องจากมวลของอะตอมส่วนใหญ่เป็นมวลของนิวเคลี่ยสที่ประกอบด้วยโปรตอน
และนิวตรอน เรียกผลรวมนั้นว่า เลขมวล อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขมวลต่างกัน เรียกว่า ไอโซโทป
ธาตุชนิดหนึ่งอาจมีหลายไอโซโทปที่มีอยู่จริงในธรรมชาติ และบางไอโซโทปได้จากการสังเคราะห์
สาระการเรียนรู้
1. อนุภาคมูลฐานของอะตอม
2. สัญลักษณ์นิวเคลียร์
3. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
1.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทปได้
1.2 นักเรียนสามารถบอกการใช้ประโยชน์ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้านต่างๆได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
2.2 นักเรียนสามารถเขียน และแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.1 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.1 ความสามารถในการคิด
- กระบวนการคิดวิเคราะห์
- กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
- กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการคิดสร้างสรรค์
1.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
- การสืบค้นข้อมูล
- การทดลอง
- การอธิบาย
1.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- กระบวนการทำงานกลุ่ม
ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. สรุปสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปและการใช้ประโยชน์จากไอโซโทป
2. แบบฝึกหัดที่ 2.2 หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท)
หน้าที่ 71
3. แบบฝึกหัดที่ 2.3 และ 2.4
รูปแบบการสอนที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาที)
1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน และเช็คชื่อนักเรียนก่อนเข้าเรียน
1.2 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการพัฒนาแบบจำลองอะตอม
นักวิทยาศาสตร์ที่ได้เรียนไป
1.3 ครูทบทวนความรู้เดิมว่าจากการทดลองของทอมสันทำให้ทราบว่าอิเล็กตรอนมีประจุเป็นลบ
จากนั้นถามคำถามว่าเมื่อทราบค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนแล้วนักวิทยาศาสตร์นำข้อมูล
เหล่านั้นมาใช้หาค่าประจุและมวลของอิเล็กตรอนได้อย่างไร เพื่อร่วมกันอภิปรายและนำนักเรียน
เข้าสู่การศึกษาการทดลองของมิลลิแกน โดยครูอาจใช้รูป 2.12 ประกอบการอธิปรายและซักถาม
จนสรุปได้ว่า อิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ และมีมวล 9.11 × 10-28 กรัม
1.4 ครูตั้งคำถามว่า อนุภาคในอะตอมที่เรียนรู้มาแล้วมีอนุภาคใดบ้าง ซึ่งนักเรียนควรตอบได้ว่า
อิเล็กตรอน และอนุภาคที่มีประจุเป็นบวก โปรตอน
2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
2.1 ครูนำนักเรียนเข้าสู่การศึกษาการทดลองของโกลด์ชไตน์และการศึกษาของรัทเทอร์ฟอร์ด
โดยครูอาจใช้รูป 2.13 ประกอบการอภิปรายจนสรุปได้ว่าอนุภาคบวกนั้น คือ โปรตอน ซึ่งมีประจุ
เท่าอิเล็กตรอนคือ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ และมีมวล 1.673 × 10-24 กรัม ซึ่งมีค่ามากกว่ามวล
อิเล็กตรอนประมาณ 1,840 เท่า
2.2 ครูตั้งคำถามว่า นอกจากอิเล็กตรอนและโปรตอนแล้ว ยังมีอนุภาคชนิดอื่น ๆ ในอะตอมอีก
หรือไม่ เพื่อนำนักเรียนเข้าสู่การศึกษาการทดลองของแซดวิกจากนั้นให้ความรู้ว่านอกจาก
อิเล็กตรอนและโปรตอนแล้ว ในอะตอมยังมีอนุภาคนิวตรอน ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสและเป็นกลางทาง
ไฟฟ้ามีมวลใกล้เคียงกับโปรตอนคือ 1.675 × 10-24 กรัม
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
3.1 จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้ออนุภาคมูลฐานของอะตอม เพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่า ใน
เวลาต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้มีการค้นพบนิวตรอน และสรุปไว้ว่า โปรตอน อิเล็กตรอน และ
นิวตรอนเป็นอนุภาคมูลฐานที่สำคัญของอะตอม
3.2 ครูทบทวนการค้นพบอนุภาคนิวตรอนในนิวเคลียสของเซอร์เจมส์ แซดวิกกับทอมสัน จากนั้น
ครูอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้อเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
และให้นักเรียนฝึกเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ การเรียกชื่อ การหาจำนวนอนุภาคมูลฐานใน
อะตอมเมื่อทราบสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และการใช้ประโยชน์จากไอโซโทปของธาตุในด้านต่าง ๆ
3.3 ครูอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุดังนี้
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานของ
อะตอม
เลขมวล (A) คือ มวลของนิวเคลียส ผลรวมของ
จำนวนโปรตอน กับ นิวตรอน
เลขอะตอม (Z) แสดงจำนวนโปรตอนของธาตุ
ซึ่งไม่ซ้ำกับธาตุอื่น
3.4 ครูอธิบายให้ความรู้นักเรียน เรื่องความสัมพันธ์ของสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ดังนี้
3.4.1 ไอโซโทป ธาตุชนิดเดียวกันเลขอะตอมเหมือนกัน เลขมวลต่างกัน เช่น12
6C ,13
6C ,14
6C
3.4.2 ไอโซโทน ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน 18
8O, 19
9F
3.4.3 ไอโซบาร์ ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีเลขมวลเท่ากัน 30
15P , 30
14Si
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที)
4.1 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม อนุภาคมูลฐานในอะตอมและไอโซโทป โดยใช้ โปรแกรมจำลอง
PhET Colorado
4.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญลักษณ์ในเคลียร์ เรื่อง ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอิเล็กทรอ
นิกเพิมเติม
4.3 ครูสรุปเนื้อหาแบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์
นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ไอโซอิเล็กทรอนิก และเพิ่มเติมในบางส่วนที่นักเรียนยังไม่
เข้าใจ
4.4 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาค
มูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) (5 นาที)
5.1 การสรุปเนื้อหา เรื่อง แบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาคมูลฐานของอะตอม
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ในสมุด
5.2 การให้ความร่วมมือในตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
5.3 ครูประเมินความรู้ความเข้าใจจากแบบฝึกหัด เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท)
2. งานนำเสนอ เรื่อง อะตอม และสมบัติธาตุ
3. แบบฝึกหัด 2.3 เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์
4. ใบกิจกรรม อนุภาคมูลฐานในอะตอมและไอโซโทป
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การผ่านจุดประสงค์
ด้านความรู้ (K)
1. สามารถอธิบายความหมายของ
เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
ได้
2. สามารถบอกการใช้ประโยชน์
ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้าน
ต่างๆได้
ตรวจสมุด
แบบฝึกหัดที่ 2.2
และ
แบบฝึกหัดที่ 2.3
ใบกิจกรรม
อนุภาคมูลฐาน
ในอะตอมและ
ไอโซโทป
แบบประเมิน
ความรู้ความเข้าใจ
เรื่อง แบบ จำลอง
อะตอมของ
นักวิทยาศาสตร์ได้
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. สามารถเขียน และแปล
ความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ
ธาตุได้
ตรวจสมุด
แบบฝึกหัดที่ 2.2
และ
แบบฝึกหัดที่ 2.3
ใบกิจกรรม
อนุภาคมูลฐาน
ในอะตอมและ
ไอโซโทป
แบบประเมินทักษะ
การตีความหมาย
ข้อมูล และการลง
ข้อสรุป
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1. ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ
ทำงาน
การสังเกต
พฤติกรรมในชั้น
เรียนใฝ่เรียนรู้
และมุ่งมั่นในการ
ทำงาน
แบบประเมิน
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ด้านการใฝ่
เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการทำงาน
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
การสังเกต
พฤติกรรมในชั้น
เรียน และ
ตรวจสมุด
แบบประเมิน
สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K)
1. สามารถอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทปได้
2. สามารถบอกการใช้ประโยชน์ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้านต่างๆได้
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ส ามาร ถ อธ ิ บ า ย
ความหมายของเลข
อะตอม เลขมวล และ
ไอโซโทปได้
2. สามารถบอกการใช้
ประโยชน์ไอโซโทปของ
ธาตุบางชนิดในด้านต่างๆ
ได้
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
เขียนถูกต้อง
ตามหลักภาษา
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาบางส่วน
ไม่สมบูรณ์ตามที่
กำหนด ลำดับ
หัวข้อเนื้อหา
ชัดเจน
เนื้อหาไม่
สมบูรณ์
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาไม่
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. สามารถเขียน และแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. สามารถเขียน และแปล
ความหมายสัญลักษณ์
นิวเคลียร์ของธาตุได้
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
เขียนถูกต้อง
ตามหลักภาษา
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาบางส่วน
ไม่สมบูรณ์ตามที่
กำหนด ลำดับ
หัวข้อเนื้อหา
ชัดเจน
เนื้อหาไม่
สมบูรณ์
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาไม่
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม
และมีความรับผิดชอบ
ตั้งใจและรับผิดชอบ
ใน การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนาการทำงานให้
ดีขึ้นด้วยตนเองและ
เป็นแบบอย่างที่ดี
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนา
การทำงานให้ดีขึ้น
ด้วยตนเอง
ตั้งใจและ
รับผิดชอบใน
การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับ
มอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนา
การทำงานดีขึ้น
รับผิดชอบใน
การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับ
มอบหมายให้
สำเร็จ
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน

More Related Content

What's hot

Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
oraneehussem
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
Katewaree Yosyingyong
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
Varin D' Reno
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf

แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
ปิยะพงษ์ โกศัลวิตร
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Nattapat Soaground
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
กันธิชา เพชรดี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
Manas Panjai
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
Katewaree Yosyingyong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNumpuengz' Piacker
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf (18)

Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
กำหนดการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเกิดฯและชนิดฯเผยแพร่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ จำนวน 25 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ 9 เรื่อง อนุภาคในอะตอม จำนวน 2 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนนธาตุ สมบัติธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตรอน นิวตรอน และอิเล็กตอนของอะตอม จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป สาระสำคัญ ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ โปรตอน, นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยมีโปรตอนกับ นิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส นิวเคลียสนี้จะครอบครองเนื้อที่ภายในอะตอมเพียงเล็กน้อย และมีอิเล็กตรอน วิ่งรอบๆนิวเคลียสด้วยความเร็วสูง คล้ายกับมีกลุ่มประจุลบปกคลุมอยู่โดยรอบ อนุภาคสำคัญทั้งสามนี้เรียกว่า อนุภาคมูลฐาน อะตอมของธาตุแต่ละชนิดมีมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่นๆ ตัวเลขที่แสดงถึงจำนวน โปรตอน เรียกว่า เลขอะตอม เนื่องจากมวลของอะตอมส่วนใหญ่เป็นมวลของนิวเคลี่ยสที่ประกอบด้วยโปรตอน และนิวตรอน เรียกผลรวมนั้นว่า เลขมวล อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขมวลต่างกัน เรียกว่า ไอโซโทป ธาตุชนิดหนึ่งอาจมีหลายไอโซโทปที่มีอยู่จริงในธรรมชาติ และบางไอโซโทปได้จากการสังเคราะห์ สาระการเรียนรู้ 1. อนุภาคมูลฐานของอะตอม 2. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 3. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทปได้ 1.2 นักเรียนสามารถบอกการใช้ประโยชน์ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้านต่างๆได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ 2.2 นักเรียนสามารถเขียน และแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.1 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ
  • 2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1.1 ความสามารถในการคิด - กระบวนการคิดวิเคราะห์ - กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ - กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล - กระบวนการคิดสร้างสรรค์ 1.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา - การสืบค้นข้อมูล - การทดลอง - การอธิบาย 1.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุ่ม ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. สรุปสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปและการใช้ประโยชน์จากไอโซโทป 2. แบบฝึกหัดที่ 2.2 หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท) หน้าที่ 71 3. แบบฝึกหัดที่ 2.3 และ 2.4 รูปแบบการสอนที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาที) 1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน และเช็คชื่อนักเรียนก่อนเข้าเรียน 1.2 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการพัฒนาแบบจำลองอะตอม นักวิทยาศาสตร์ที่ได้เรียนไป 1.3 ครูทบทวนความรู้เดิมว่าจากการทดลองของทอมสันทำให้ทราบว่าอิเล็กตรอนมีประจุเป็นลบ จากนั้นถามคำถามว่าเมื่อทราบค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนแล้วนักวิทยาศาสตร์นำข้อมูล เหล่านั้นมาใช้หาค่าประจุและมวลของอิเล็กตรอนได้อย่างไร เพื่อร่วมกันอภิปรายและนำนักเรียน เข้าสู่การศึกษาการทดลองของมิลลิแกน โดยครูอาจใช้รูป 2.12 ประกอบการอธิปรายและซักถาม จนสรุปได้ว่า อิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ และมีมวล 9.11 × 10-28 กรัม 1.4 ครูตั้งคำถามว่า อนุภาคในอะตอมที่เรียนรู้มาแล้วมีอนุภาคใดบ้าง ซึ่งนักเรียนควรตอบได้ว่า อิเล็กตรอน และอนุภาคที่มีประจุเป็นบวก โปรตอน 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 ครูนำนักเรียนเข้าสู่การศึกษาการทดลองของโกลด์ชไตน์และการศึกษาของรัทเทอร์ฟอร์ด โดยครูอาจใช้รูป 2.13 ประกอบการอภิปรายจนสรุปได้ว่าอนุภาคบวกนั้น คือ โปรตอน ซึ่งมีประจุ เท่าอิเล็กตรอนคือ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ และมีมวล 1.673 × 10-24 กรัม ซึ่งมีค่ามากกว่ามวล อิเล็กตรอนประมาณ 1,840 เท่า
  • 3. 2.2 ครูตั้งคำถามว่า นอกจากอิเล็กตรอนและโปรตอนแล้ว ยังมีอนุภาคชนิดอื่น ๆ ในอะตอมอีก หรือไม่ เพื่อนำนักเรียนเข้าสู่การศึกษาการทดลองของแซดวิกจากนั้นให้ความรู้ว่านอกจาก อิเล็กตรอนและโปรตอนแล้ว ในอะตอมยังมีอนุภาคนิวตรอน ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสและเป็นกลางทาง ไฟฟ้ามีมวลใกล้เคียงกับโปรตอนคือ 1.675 × 10-24 กรัม 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้ออนุภาคมูลฐานของอะตอม เพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่า ใน เวลาต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้มีการค้นพบนิวตรอน และสรุปไว้ว่า โปรตอน อิเล็กตรอน และ นิวตรอนเป็นอนุภาคมูลฐานที่สำคัญของอะตอม 3.2 ครูทบทวนการค้นพบอนุภาคนิวตรอนในนิวเคลียสของเซอร์เจมส์ แซดวิกกับทอมสัน จากนั้น ครูอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้อเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และให้นักเรียนฝึกเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ การเรียกชื่อ การหาจำนวนอนุภาคมูลฐานใน อะตอมเมื่อทราบสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และการใช้ประโยชน์จากไอโซโทปของธาตุในด้านต่าง ๆ 3.3 ครูอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุดังนี้ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานของ อะตอม เลขมวล (A) คือ มวลของนิวเคลียส ผลรวมของ จำนวนโปรตอน กับ นิวตรอน เลขอะตอม (Z) แสดงจำนวนโปรตอนของธาตุ ซึ่งไม่ซ้ำกับธาตุอื่น 3.4 ครูอธิบายให้ความรู้นักเรียน เรื่องความสัมพันธ์ของสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ดังนี้ 3.4.1 ไอโซโทป ธาตุชนิดเดียวกันเลขอะตอมเหมือนกัน เลขมวลต่างกัน เช่น12 6C ,13 6C ,14 6C 3.4.2 ไอโซโทน ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน 18 8O, 19 9F 3.4.3 ไอโซบาร์ ธาตุต่างชนิดกัน เลขอะตอมต่างกัน มีเลขมวลเท่ากัน 30 15P , 30 14Si 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที) 4.1 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม อนุภาคมูลฐานในอะตอมและไอโซโทป โดยใช้ โปรแกรมจำลอง PhET Colorado 4.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสัญลักษณ์ในเคลียร์ เรื่อง ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอิเล็กทรอ นิกเพิมเติม 4.3 ครูสรุปเนื้อหาแบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์ นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ไอโซอิเล็กทรอนิก และเพิ่มเติมในบางส่วนที่นักเรียนยังไม่ เข้าใจ 4.4 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาค มูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
  • 4. 5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) (5 นาที) 5.1 การสรุปเนื้อหา เรื่อง แบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ในสมุด 5.2 การให้ความร่วมมือในตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 5.3 ครูประเมินความรู้ความเข้าใจจากแบบฝึกหัด เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท) 2. งานนำเสนอ เรื่อง อะตอม และสมบัติธาตุ 3. แบบฝึกหัด 2.3 เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 4. ใบกิจกรรม อนุภาคมูลฐานในอะตอมและไอโซโทป การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การผ่านจุดประสงค์ ด้านความรู้ (K) 1. สามารถอธิบายความหมายของ เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป ได้ 2. สามารถบอกการใช้ประโยชน์ ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้าน ต่างๆได้ ตรวจสมุด แบบฝึกหัดที่ 2.2 และ แบบฝึกหัดที่ 2.3 ใบกิจกรรม อนุภาคมูลฐาน ในอะตอมและ ไอโซโทป แบบประเมิน ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง แบบ จำลอง อะตอมของ นักวิทยาศาสตร์ได้ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. สามารถเขียน และแปล ความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ ธาตุได้ ตรวจสมุด แบบฝึกหัดที่ 2.2 และ แบบฝึกหัดที่ 2.3 ใบกิจกรรม อนุภาคมูลฐาน ในอะตอมและ ไอโซโทป แบบประเมินทักษะ การตีความหมาย ข้อมูล และการลง ข้อสรุป ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ ทำงาน การสังเกต พฤติกรรมในชั้น เรียนใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ ทำงาน แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้านการใฝ่ เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป
  • 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด การสังเกต พฤติกรรมในชั้น เรียน และ ตรวจสมุด แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K) 1. สามารถอธิบายความหมายของเลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทปได้ 2. สามารถบอกการใช้ประโยชน์ไอโซโทปของธาตุบางชนิดในด้านต่างๆได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ส ามาร ถ อธ ิ บ า ย ความหมายของเลข อะตอม เลขมวล และ ไอโซโทปได้ 2. สามารถบอกการใช้ ประโยชน์ไอโซโทปของ ธาตุบางชนิดในด้านต่างๆ ได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด เขียนถูกต้อง ตามหลักภาษา ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาบางส่วน ไม่สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ลำดับ หัวข้อเนื้อหา ชัดเจน เนื้อหาไม่ สมบูรณ์ ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาไม่ ชัดเจน เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
  • 6. เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. สามารถเขียน และแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. สามารถเขียน และแปล ความหมายสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ของธาตุได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด เขียนถูกต้อง ตามหลักภาษา ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาบางส่วน ไม่สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ลำดับ หัวข้อเนื้อหา ชัดเจน เนื้อหาไม่ สมบูรณ์ ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาไม่ ชัดเจน เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
  • 7. เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้นด้วยตนเองและ เป็นแบบอย่างที่ดี ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนา การทำงานให้ดีขึ้น ด้วยตนเอง ตั้งใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนา การทำงานดีขึ้น รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน