SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                    ชั้น ม.4           ภาคเรียนที่ 1                         ปีการศึกษา 2555
แผนการเรียนรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก                                                                                เวลา 3 คาบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551)
          มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
          ตัวชี้วัด
          1.4 วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร
          มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
          ตัวชี้วัด
          ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ
จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
          ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง
รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น
ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
          ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง
ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
          ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล
          ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ
ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม
          ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ
สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
          ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ
คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่
นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
          ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น
และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง
          ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ
ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ
ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

2. สาระสาคัญ
         พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสาร โดยที่อะตอมของธาตุที่มี ค่าพลังงานไอออไน
เซชันต่า ให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็ นไอออนที่มีประจุบวก
และประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรง ระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้าม
เหล่านั้น ทาให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกันด้วย โครงสร้างผลึกสารประกอบไอออนิกจะเป็นแบบใด ขึ้นอยู่กับประจุที่
ปรากฏอยู่บนไอออนบวก และลบ และอัตราส่วนระหว่างรัศมีไอออนบวกและลบ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
   3.1 ความรู้
         1. อธิบายเกี่ยวกับกฎออกเตต การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิกได้
         2. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและปัจจัยที่มีผลต่อโครงสร้างของสารประกอบไอออนิกได้
         3. เขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้
         4. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก รวมทั้งเขียนแผนภาพแสดง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้นได้
   3.2 ทักษะกระบวนการ
         สามารถอธิบายการเกิด โครงสร้าง การเขียนสูตร การเรียกชื่อ สมบัติและประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก
   3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
         1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
         2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น
    อย่างมีเหตุผล
         3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม
         4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม


4. สาระการเรียนรู้
         พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสาร โดยที่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออ
ไนเซชันต่า ให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวก
และประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้าม
เหล่านั้น ทาให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกันด้วย
ลักษณะสาคัญของสารประกอบไอออนิก
         1. พันธะไอออนิก เกิดจาก ไอออนของโลหะ + ไอออนของอโลหะ เช่น NaCl , MgO , KI
         2. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะเคมีที่เกิดจากธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชันต่ารวมกับธาตุที่มีพลังงาน
ไอออไนเซชันสูง
         3. พันธะไออนิก อาจเป็นพันธะเคมีที่เกดจากไอออนบวกที่เป็นกลุ่มอะตอมของอโลหะ เช่น NH4+ กับ
ไอออนลบของอโลหะ เช่น
4. สารประกอบไอออนิกไม่มีสูตรโมเลกุล มีแต่สูตรเอมพิริกัล
         5. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
         6. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง ประกอบด้วยไอออนบวก และไอออนลบ ไอออนเหล่านี้
ไม่เคลื่อนที่ ดังนั้นจึงไม่นาไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้า จะแตกตัวเป็นไอออนเคลื่อนที่ได้ เกิดเป็นสาร
อิเล็กโทรไลต์จึงสามารถนาไฟฟ้าได้
         7. สารประกอบไอออนิกชนิดที่ละลายน้าได้ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้นเสมอ อาจเป็นแบบคาย
หรือดูดพลังงาน
         8. สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากอะตอมโลหะกับอะตอมอโลหะ สร้างเฉพาะพันธะไอออนิกอย่างเดียว
         9. สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากโลหะหรือกลุ่มอะตอมอโลหะที่เกิดไอออนบวกกับอโลหะ หรือกลุ่มอะตอม
อโลหะที่เป็นไอออนลบ สารพวกนี้จะมีทั้งพันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
         โครงสร้างผลึกสารประกอบไอออนิกจะเป็นแบบใด ขึ้นอยู่กับ
                   ประจุที่ปรากฏอยู่บนไอออนบวก และลบ
                   อัตราส่วนระหว่างรัศมีไอออนบวกและลบ
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
         1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรือกลุ่มไอออนบวกไว้ข้างหน้า ตามด้วยไอออนลบของอโลหะ หรือกลุ่ม
ไอออนลบ ยกเว้นสารประกอบไอออนิกที่เป็นเกลืออะซิเตต (CH3COO-) จะเขียนกลุ่มไอออนลบไว้ก่อนแล้วตามด้วย
ไอออนบวกของโลหะ เช่น CH3COONa , (CH3COO)2Ca
         2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกันในอัตราส่วนที่ทาให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหา
ตัวเลขมาคูณกับจานวนประจุบนไอออนบวก และไอออนลบให้มีจานวนประจุเท่ากัน แล้วใส่ตัวเลขเหล่านั้นไว้มุมขวา
ล่างของแต่ละไอออน ซึ่งทาได้โดยใช้จานวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กัน
         3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรือกลุ่มไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่วงเล็บ ( ) และใส่จานวนกลุ่มไว้ที่มุม
ล่างขวา
การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
         1. สารประกอบธาตุคู่ (Binary compound) ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียว
รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่ออโลหะที่เป็นไอออนลบโดยลงเสียงพยางค์ท้าย
ด้วย ไอด์ (ide) เช่น ออกซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide) ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)
ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออน
บวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบโดยเปลี่ย น
เสียงพยางค์ท้ายเป็นไอด์ (ide) เช่น Fe เกิดไอออนได้ 2 ชนิด คือ Fe2+ และ Fe3+
             FeCl2          อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์
             FeCl3          อ่านว่า ไอร์ออน (III) คลอไรด์
         2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่า ถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออน
บวกรวมตัวกับ กลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะ (โลหะนั้นเกิดไอออนบวกได้ชนิดเดียว) หรือกลุ่ม
ไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อกลุ่มไอออนลบ เช่น
Na2SO4     อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต
            CaCO3      อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
        ถ้าสารประกอบเกิดจากโลหะที่เกิดไอออนได้หลายชนิดรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของ
โลหะแล้ววงเล็บค่าประจุของไอออนบวกนั้น แล้วจึงอ่านชื่อกลุ่มไอออนลบตามหลัง เช่น Cr เกิดไอออนได้ 2 ชนิด
คือ Cr2+ กับ Cr3+
            CrSO4      อ่านว่า โครเมียม (II) ซัลเฟต
            Cr2 (SO4)3 อ่านว่า โครเมียม (III) ซัลเฟต
        3. พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
        ในการเกิดสารประกอบไอออนิก จะมีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนย่อยจะมีการ
เปลี่ยนแปลงพลังงาน
5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
   5.1 ความรู้
      ภาระงาน/
                             วิธีการวัด        เครื่องมือ     เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน     ผู้ประเมิน
        ชิ้นงาน
   ทาแบบทดสอบ ตรวจสอบความถูก               แบบทดสอบ       มีความถูกต้อง 80% ขึ้นไป       ครู
   พันธะไอออนิก ต้อง                       พันธะไอออนิก                            เพื่อนนักเรียน
   แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน         - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน        ครู
   (Graphic         ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้   - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด
   Organize)        1. การกาหนดและ         แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                    เชื่อมโยงแนวความคิด                   = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
                    หลัก แนวความคิดรอง                    ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                    แนวความคิดย่อย                         = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                    2. การเชื่อมโยงความรู้                ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                    3. การเชื่อมโยง                       1 คะแนน
                    ประเด็นต่างๆอย่าง                     = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                    สมเหตุสมผล มี                         หรือไม่ถูกต้องเลย
                    คาเชื่อมถูกต้อง
                    ชัดเจน
   ตอบคาถาม         ตรวจคาตอบของ           - Exit ticket  ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน       ครู
   สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน               - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน
   (Exit ticket)    ความคิด ตามตัวชี้วัด การตอบคาถาม ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                    ต่อไปนี้               สะท้อนความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
                    1. ความถูกต้อง                        ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                    ครอบคลุมสิ่งที่ได้                     = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                    เรียนรู้                              ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                    2. ความสมเหตุสมผล                     1 คะแนน
                    ชัดเจน ของคาตอบ                       = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                    3. การตั้งคาถามที่                    หรือไม่ถูกต้องเลย
                    อยากรู้




    5.2 ทักษะกระบวนการ
      ภาระงาน/
                       วิธีการวัด            เครื่องมือ        เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน     ผู้ประเมิน
       ชิ้นงาน
   ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา        - ใบงาน เรื่อง    ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย           ครู
   พันธะไอออนิก ใบงาน                    พันธะไอออนิก      80 %                      เพื่อนนักเรียน
5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   คุณลักษณะ       ภาระงาน/
                                                                          เกณฑ์ที่ใช้
      อันพึง        ชิ้นงาน/            วิธีการวัด        เครื่องมือ                      ผู้ประเมิน
                                                                           ประเมิน
     ประสงค์       พฤติกรรม
   ตรงต่อเวลา เข้าเรียน             - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน       ต้องได้ไม่ต่ากว่า      ครู
               ปฏิบัติกิจกรรม       การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ        ระดับคุณภาพ
               ส่งงานตรงเวลา        ปฏิบัติกิจกรรม   อันพึงประสงค์    3 คือ ดี
                                    และการส่งงานของ                   จากระดับ
                                    นักเรียน                          คุณภาพ 4 คือ
                                                                      ดีมาก
    ใฝ่เรียนรู้   ร่วมมือในการ       - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า           ครู
                  เรียน แสวงหา       ความร่วมมือใน      คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                  ความรู้ ตอบ        การเรียน การ       อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                  คาถาม ยอมรับ แสวงหาความรู้                          จากระดับ
                  ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม                      คุณภาพ 4
                  และแสดงความ การยอมรับความ                           คือ ดีมาก
                  คิดเห็นอย่างมี     คิดเห็นผู้อื่น และ
                  เหตุผล             การแสดงความ
                                     คิดเห็นอย่างมี
                                     เหตุผล
     ซื่อสัตย์    บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า              ครู
                  การปฏิบัติ         การบันทึกข้อมูล คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                  กิจกรรม ทา         จากการปฏิบัติ      อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                  แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา                          จากระดับ
                  แบบทดสอบ           แบบฝึกหัดและการ                  คุณภาพ 4 คือ
                  ด้วยความซื่อสัตย์ ทาแบบทดสอบ                        ดีมาก


   คุณลักษณะ    ภาระงาน/
                                                                          เกณฑ์ที่ใช้
      อันพึง     ชิ้นงาน/               วิธีการวัด        เครื่องมือ                      ผู้ประเมิน
                                                                           ประเมิน
     ประสงค์    พฤติกรรม
    รักสะอาด รักษาความ              - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน         ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู
             สะอาดผลงาน             การรักษาความ     คุณลักษณะ          ระดับคุณภาพ เพื่อนนักเรียน
             ห้องเรียนและ           สะอาดผลงาน การ อันพึงประสงค์        3 คือ ดี
             สถานที่ปฏิบัติ         ทาความสะอาด                         จากระดับ
             กิจกรรม                ห้องเรียน และ                       คุณภาพ 4 คือ
                                    สถานที่ปฏิบัติ                      ดีมาก
                                    กิจกรรม

6. คาถามสาคัญ
1.   สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร
        2.   ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ
        3.   สารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร
        4.   สารประกอบที่เกิดขึ้น โลหะและอโลหะมีหน้าที่อย่างไร

7. การจัดกระบวนการเรียนรู้
          ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
          1. ครูสร้างความสนใจเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน โดยการให้ชมคลิปวีดีทัศน์เกี่ยวกับ Ionic and Molecular
   Compounds
          2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อทบทวนความรู้ โดยให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้ เกี่ยวกับ
   สมบัติของโลหะและอโลหะเกี่ยวกับค่าพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 การรับและการให้เวเลนซ์อิเล็กตรอน การ
   จั ดอิเล็ ก ตรอนของแก๊ส เฉื่อย กฎออกเตต การเกิดไอออนบวกและไอออนลบ ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่ อ
   ตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน (KWL) (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้
   เดิม และเปิดโอกาสให้ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ)
          2. ครูถามนักเรียนว่า สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ สารประกอบที่
   เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร และสารประกอบที่เกิดจากโลหะและอโลหะมี
   หน้าที่อย่างไร
          3. ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถามโดยให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share)
   ร่วมกันอภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกับคาถามนี้



        ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
        1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน (สร้าง
   ผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD)
        2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก
        3. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่อง พันธะไอออนิก (โดยมีรายละเอียดของเนื้อหาเกี่ยวกับ การ
   เกิดพันธะไอออนิก พลังงานแลตทิซ วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกและการเรียกชื่อ
   สารประกอบไอออนิก)
        4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันอภิปรายในรายข้อที่เป็นประเด็นสงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและ
   เขียนตอบลงในใบความรู้ฉบับนักเรียนเป็นระยะ)

       ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
       1. ครูแจกใบงานเรื่อง พันธะไอออนิก ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน เพื่อเตรียมตัว
   ทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล
       2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก
   คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง

        ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
        1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน
2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธะไอออนิก เป็นแผนผังความคิด (Concept map)

        ขั้นประเมิน (Evaluation)
        1. ครูทดสอบนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยแบบทดสอบ
        2. ครูแจ้งผลการทากิจกรรมให้นักเรียนทราบ และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนน
   เกินความคาดหมาย
        3. ครูและนักเรียนร่วมกับอภิปรายคาตอบและคาถามที่สงสัยจากการทดสอบ
        4. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ
     ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket)

8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้
               1. สื่อดิจิทัล เรื่อง พันธะไอออนิก
               2. ใบความรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก
               3. Power Point (PPT) เรื่อง พันธะไอออนิก
               4. กระดาษ post-it
               5. ใบงาน เรื่อง พันธะไอออนิก
               6. แบบทดสอบ
               7. แบบประเมินแผนผังความคิด
               8. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด
              9. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บันทึกหลังสอน
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                   ชั้น ม.4                                 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผนการเรียนรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

           ประเด็นการบันทึก                                                  ผลการใช้แผนการสอน
1. เนื้อหาที่สอน                      ....................................................................................................................
(สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่)         ....................................................................................................................
2. เวลา                               ....................................................................................................................
(เหมาะสมหรือไม่)                      ....................................................................................................................
3. กิจกรรมที่ใช้สอน                   ....................................................................................................................
(ตามแผนหรือไม่)                       ....................................................................................................................
4. ปัญหาและอุปสรรค                    ....................................................................................................................
                                      ....................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน
             ชั้น                                 เข้าเรียน (คน)                                                     ขาด (คน)
            ม.4/1
            ม.4/2
            ม.4/3
            ม.4/4
            ม.4/5
            ม.4/6
    ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน        ผ่าน                                                          ไม่ผ่าน
                                 เกณฑ์…………………………………….                                          เกณฑ์…………………………………..

การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บรรยากาศในการเรียน……………………………………………………….…………………………………………………………………………
………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
                                                ลงชื่อ
                                                       (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)

More Related Content

What's hot

เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 

Viewers also liked

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
7 วิชา ฟิสิกส์   the brain7 วิชา ฟิสิกส์   the brain
7 วิชา ฟิสิกส์ the brainHiran Vayakk
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายKittepot
 
Equilibrium1
Equilibrium1Equilibrium1
Equilibrium1Manchai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 

Viewers also liked (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
7 วิชา ฟิสิกส์   the brain7 วิชา ฟิสิกส์   the brain
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
 
Equilibrium1
Equilibrium1Equilibrium1
Equilibrium1
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 

Similar to 05 พันธะไอออนิก

มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 

Similar to 05 พันธะไอออนิก (20)

มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 

05 พันธะไอออนิก

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แผนการเรียนรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก เวลา 3 คาบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551) มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1.4 วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
  • 2. ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 2. สาระสาคัญ พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสาร โดยที่อะตอมของธาตุที่มี ค่าพลังงานไอออไน เซชันต่า ให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็ นไอออนที่มีประจุบวก และประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรง ระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้าม เหล่านั้น ทาให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกันด้วย โครงสร้างผลึกสารประกอบไอออนิกจะเป็นแบบใด ขึ้นอยู่กับประจุที่ ปรากฏอยู่บนไอออนบวก และลบ และอัตราส่วนระหว่างรัศมีไอออนบวกและลบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับกฎออกเตต การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิกได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและปัจจัยที่มีผลต่อโครงสร้างของสารประกอบไอออนิกได้ 3. เขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ 4. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก รวมทั้งเขียนแผนภาพแสดง การเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้นได้ 3.2 ทักษะกระบวนการ สามารถอธิบายการเกิด โครงสร้าง การเขียนสูตร การเรียกชื่อ สมบัติและประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม 4. สาระการเรียนรู้ พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสาร โดยที่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออ ไนเซชันต่า ให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวก และประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้าม เหล่านั้น ทาให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกันด้วย ลักษณะสาคัญของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิก เกิดจาก ไอออนของโลหะ + ไอออนของอโลหะ เช่น NaCl , MgO , KI 2. พันธะไอออนิก อาจเป็นพันธะเคมีที่เกิดจากธาตุที่มีพลังงานไอออไนเซชันต่ารวมกับธาตุที่มีพลังงาน ไอออไนเซชันสูง 3. พันธะไออนิก อาจเป็นพันธะเคมีที่เกดจากไอออนบวกที่เป็นกลุ่มอะตอมของอโลหะ เช่น NH4+ กับ ไอออนลบของอโลหะ เช่น
  • 3. 4. สารประกอบไอออนิกไม่มีสูตรโมเลกุล มีแต่สูตรเอมพิริกัล 5. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง 6. สารประกอบไอออนิกในภาวะปกติเป็นของแข็ง ประกอบด้วยไอออนบวก และไอออนลบ ไอออนเหล่านี้ ไม่เคลื่อนที่ ดังนั้นจึงไม่นาไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้า จะแตกตัวเป็นไอออนเคลื่อนที่ได้ เกิดเป็นสาร อิเล็กโทรไลต์จึงสามารถนาไฟฟ้าได้ 7. สารประกอบไอออนิกชนิดที่ละลายน้าได้ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้นเสมอ อาจเป็นแบบคาย หรือดูดพลังงาน 8. สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากอะตอมโลหะกับอะตอมอโลหะ สร้างเฉพาะพันธะไอออนิกอย่างเดียว 9. สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากโลหะหรือกลุ่มอะตอมอโลหะที่เกิดไอออนบวกกับอโลหะ หรือกลุ่มอะตอม อโลหะที่เป็นไอออนลบ สารพวกนี้จะมีทั้งพันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์ โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก โครงสร้างผลึกสารประกอบไอออนิกจะเป็นแบบใด ขึ้นอยู่กับ  ประจุที่ปรากฏอยู่บนไอออนบวก และลบ  อัตราส่วนระหว่างรัศมีไอออนบวกและลบ การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก 1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรือกลุ่มไอออนบวกไว้ข้างหน้า ตามด้วยไอออนลบของอโลหะ หรือกลุ่ม ไอออนลบ ยกเว้นสารประกอบไอออนิกที่เป็นเกลืออะซิเตต (CH3COO-) จะเขียนกลุ่มไอออนลบไว้ก่อนแล้วตามด้วย ไอออนบวกของโลหะ เช่น CH3COONa , (CH3COO)2Ca 2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกันในอัตราส่วนที่ทาให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหา ตัวเลขมาคูณกับจานวนประจุบนไอออนบวก และไอออนลบให้มีจานวนประจุเท่ากัน แล้วใส่ตัวเลขเหล่านั้นไว้มุมขวา ล่างของแต่ละไอออน ซึ่งทาได้โดยใช้จานวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กัน 3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรือกลุ่มไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่วงเล็บ ( ) และใส่จานวนกลุ่มไว้ที่มุม ล่างขวา การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก 1. สารประกอบธาตุคู่ (Binary compound) ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียว รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่ออโลหะที่เป็นไอออนลบโดยลงเสียงพยางค์ท้าย ด้วย ไอด์ (ide) เช่น ออกซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide) ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride) ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออน บวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบโดยเปลี่ย น เสียงพยางค์ท้ายเป็นไอด์ (ide) เช่น Fe เกิดไอออนได้ 2 ชนิด คือ Fe2+ และ Fe3+ FeCl2 อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ FeCl3 อ่านว่า ไอร์ออน (III) คลอไรด์ 2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่า ถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออน บวกรวมตัวกับ กลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะ (โลหะนั้นเกิดไอออนบวกได้ชนิดเดียว) หรือกลุ่ม ไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อกลุ่มไอออนลบ เช่น
  • 4. Na2SO4 อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต CaCO3 อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต ถ้าสารประกอบเกิดจากโลหะที่เกิดไอออนได้หลายชนิดรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของ โลหะแล้ววงเล็บค่าประจุของไอออนบวกนั้น แล้วจึงอ่านชื่อกลุ่มไอออนลบตามหลัง เช่น Cr เกิดไอออนได้ 2 ชนิด คือ Cr2+ กับ Cr3+ CrSO4 อ่านว่า โครเมียม (II) ซัลเฟต Cr2 (SO4)3 อ่านว่า โครเมียม (III) ซัลเฟต 3. พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก ในการเกิดสารประกอบไอออนิก จะมีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนย่อยจะมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงาน
  • 5. 5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล 5.1 ความรู้ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ทาแบบทดสอบ ตรวจสอบความถูก แบบทดสอบ มีความถูกต้อง 80% ขึ้นไป ครู พันธะไอออนิก ต้อง พันธะไอออนิก เพื่อนนักเรียน แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู (Graphic ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด Organize) 1. การกาหนดและ แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน เชื่อมโยงแนวความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก หลัก แนวความคิดรอง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน แนวความคิดย่อย = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย 2. การเชื่อมโยงความรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 3. การเชื่อมโยง 1 คะแนน ประเด็นต่างๆอย่าง = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก สมเหตุสมผล มี หรือไม่ถูกต้องเลย คาเชื่อมถูกต้อง ชัดเจน ตอบคาถาม ตรวจคาตอบของ - Exit ticket ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน (Exit ticket) ความคิด ตามตัวชี้วัด การตอบคาถาม ระดับ 3 ดี 3 คะแนน ต่อไปนี้ สะท้อนความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก 1. ความถูกต้อง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน ครอบคลุมสิ่งที่ได้ = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย เรียนรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 2. ความสมเหตุสมผล 1 คะแนน ชัดเจน ของคาตอบ = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก 3. การตั้งคาถามที่ หรือไม่ถูกต้องเลย อยากรู้ 5.2 ทักษะกระบวนการ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา - ใบงาน เรื่อง ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย ครู พันธะไอออนิก ใบงาน พันธะไอออนิก 80 % เพื่อนนักเรียน
  • 6. 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะ ภาระงาน/ เกณฑ์ที่ใช้ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ ผู้ประเมิน ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ตรงต่อเวลา เข้าเรียน - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู ปฏิบัติกิจกรรม การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ส่งงานตรงเวลา ปฏิบัติกิจกรรม อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี และการส่งงานของ จากระดับ นักเรียน คุณภาพ 4 คือ ดีมาก ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู เรียน แสวงหา ความร่วมมือใน คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ความรู้ ตอบ การเรียน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี คาถาม ยอมรับ แสวงหาความรู้ จากระดับ ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม คุณภาพ 4 และแสดงความ การยอมรับความ คือ ดีมาก คิดเห็นอย่างมี คิดเห็นผู้อื่น และ เหตุผล การแสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผล ซื่อสัตย์ บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู การปฏิบัติ การบันทึกข้อมูล คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ กิจกรรม ทา จากการปฏิบัติ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา จากระดับ แบบทดสอบ แบบฝึกหัดและการ คุณภาพ 4 คือ ด้วยความซื่อสัตย์ ทาแบบทดสอบ ดีมาก คุณลักษณะ ภาระงาน/ เกณฑ์ที่ใช้ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ ผู้ประเมิน ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม รักสะอาด รักษาความ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู สะอาดผลงาน การรักษาความ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ เพื่อนนักเรียน ห้องเรียนและ สะอาดผลงาน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี สถานที่ปฏิบัติ ทาความสะอาด จากระดับ กิจกรรม ห้องเรียน และ คุณภาพ 4 คือ สถานที่ปฏิบัติ ดีมาก กิจกรรม 6. คาถามสาคัญ
  • 7. 1. สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร 2. ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ 3. สารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร 4. สารประกอบที่เกิดขึ้น โลหะและอโลหะมีหน้าที่อย่างไร 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูสร้างความสนใจเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน โดยการให้ชมคลิปวีดีทัศน์เกี่ยวกับ Ionic and Molecular Compounds 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อทบทวนความรู้ โดยให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้ เกี่ยวกับ สมบัติของโลหะและอโลหะเกี่ยวกับค่าพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 การรับและการให้เวเลนซ์อิเล็กตรอน การ จั ดอิเล็ ก ตรอนของแก๊ส เฉื่อย กฎออกเตต การเกิดไอออนบวกและไอออนลบ ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่ อ ตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน (KWL) (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้ เดิม และเปิดโอกาสให้ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ) 2. ครูถามนักเรียนว่า สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ สารประกอบที่ เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร และสารประกอบที่เกิดจากโลหะและอโลหะมี หน้าที่อย่างไร 3. ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถามโดยให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกับคาถามนี้ ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน (สร้าง ผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD) 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก 3. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่อง พันธะไอออนิก (โดยมีรายละเอียดของเนื้อหาเกี่ยวกับ การ เกิดพันธะไอออนิก พลังงานแลตทิซ วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกและการเรียกชื่อ สารประกอบไอออนิก) 4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันอภิปรายในรายข้อที่เป็นประเด็นสงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและ เขียนตอบลงในใบความรู้ฉบับนักเรียนเป็นระยะ) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ครูแจกใบงานเรื่อง พันธะไอออนิก ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน เพื่อเตรียมตัว ทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล 2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน
  • 8. 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธะไอออนิก เป็นแผนผังความคิด (Concept map) ขั้นประเมิน (Evaluation) 1. ครูทดสอบนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยแบบทดสอบ 2. ครูแจ้งผลการทากิจกรรมให้นักเรียนทราบ และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนน เกินความคาดหมาย 3. ครูและนักเรียนร่วมกับอภิปรายคาตอบและคาถามที่สงสัยจากการทดสอบ 4. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket) 8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้ 1. สื่อดิจิทัล เรื่อง พันธะไอออนิก 2. ใบความรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก 3. Power Point (PPT) เรื่อง พันธะไอออนิก 4. กระดาษ post-it 5. ใบงาน เรื่อง พันธะไอออนิก 6. แบบทดสอบ 7. แบบประเมินแผนผังความคิด 8. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด 9. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 9. บันทึกหลังสอน รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการเรียนรู้ เรื่อง พันธะไอออนิก โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ประเด็นการบันทึก ผลการใช้แผนการสอน 1. เนื้อหาที่สอน .................................................................................................................... (สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่) .................................................................................................................... 2. เวลา .................................................................................................................... (เหมาะสมหรือไม่) .................................................................................................................... 3. กิจกรรมที่ใช้สอน .................................................................................................................... (ตามแผนหรือไม่) .................................................................................................................... 4. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................... .................................................................................................................... ผลการเรียนของนักเรียน ชั้น เข้าเรียน (คน) ขาด (คน) ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์……………………………………. เกณฑ์………………………………….. การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียน……………………………………………………….………………………………………………………………………… ………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………… ลงชื่อ (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)