SlideShare a Scribd company logo
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. อธิบายหลักการเกิดพันธะไอออนิกได้
2. อธิบายการจัดเรียงตัวของไอออนบวกและไอออนลบ และบอกโครงสร้าง
ของสารประกอบไอออนิกบางชนิดได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
การเกิดพันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก เกิดขึ้นเมื่อโลหะรวมตัวกับอโลหะ แล้วโลหะให้อิเล็กตรอนเนื่องจากโลหะมี
ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่า ส่วนอโลหะรับอิเล็กตรอนเนื่องจากอโลหะมี ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูง เพื่อให้แต่ละ
อะตอม มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 หรือเป็นไปตามกฎออกเตต อะตอมของโลหะก็จะกลายเป็นไอออนบวก
เพราะมีโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน ส่วนอะตอมของอโลหะกลายเป็นไอออนลบเพราะมีโปรตอนน้อยกว่า
อิเล็กตรอน ไอออนทั้งสองมีประจุต่างกันจึงเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้ายึดเหนี่ยวอะตอมทั้งสองเข้าด้วยกัน
(เกิดเป็นพันธะไอออนิก ) และเรียกสารประกอบที่เกิดจากอะตอมยึดเหนี่ยวกัน ด้วยพันธะไอออนิกว่า
สารประกอบไอออนิก
เนื่องจากโครงสร้างของสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ
มีการจัดเรียงตัวสลับกันไปแบบต่อเนื่องทั่วทั้งผลึก ไม่สามารถแยกออกเป็นโมเลกุลได้ จึงถือว่าสารประกอบ
ไอออนิกเป็นสารประกอบที่ไม่มีสูตรโมเลกุล การเขียนสูตรแทนสารประกอบไอออนิก ใช้สูตรเอมพิริกัล
(สูตรอย่างง่าย) แสดงอัตราส่วนอย่างต่าในการรวมตัวกันระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ
หมายเหตุ : โลหะบางชนิด เช่น Be, Sn เมื่อรวมตัวกับอโลหะบางชนิด เช่น Cl
ไม่ได้เกิดพันธะไอออนิก แต่เกิดพันธะโคเวเลนต์ เช่น BeCl2 SnCl4 SnCl2 เป็นต้น
ใบความรู้
ตัวอย่าง 1 การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
เขียนสูตรโครงสร้างได้ดังนี้
เมื่อโลหะโซเดียมทาปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนจะเกิดการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างอะตอมทั้งสอง เกิดเป็น
โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออน ไอออนทั้งสองจะยึดกันด้วยพันธะไอออนิก แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออนจะเกิดอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นโครงผลึกขนาดใหญ่ของสารประกอบ
โซเดียมคลอไรด์ ดังรูปที่ 6.1
รูปที่ 6.1 โครงผลึกโซเดียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com)
ตัวอย่าง 2 การเกิดสารประกอบแมกนิเซียมคลอไรด์ (มีหลักการเดียวกับการเกิด NaCl)
เขียนสูตรโครงสร้างได้ ดังนี้
โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
ผลึกของสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบจัดเรียงตัวสลับกัน
ไปอย่างมีระเบียบทั่วทั้งก้อนผลึกสามมิติ ทาให้ผลึกมีโครงสร้างที่แน่นอน ในการจัดเรียงตัวของไอออน
ไอออนบวกจะห้อมล้อมและสัมผัสกับไอออนลบ ในทานองเดียวกันไอออนลบก็จะห้อมล้อมและสัมผัสกับ
ไอออนบวก จานวนไอออนที่ห้อมล้อมและสัมผัสกับไอออนอื่น เรียกว่า โคออร์ดิเนชันนัมเบอร์
(Coordination Number ) ซึ่งจะมีจานวนเท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของไอออนทั้งสองชนิด โครงสร้างผลึกขง
สารประกอบไอออนิกที่ควรทราบได้แก่
1. โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์ ( Rock salt structure ) ในผลึกของโซเดียมคลอไรด์
ประกอบด้วย Na+
และ Cl-
การจัดเรียงตัวของไอออนคือ Na+
จะมี Cl-
ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ
6 ไอออน และ Cl-
จะมี Na+
ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออนเช่นเดียวกัน โครงสร้างแบบ
โซเดียมคลอไรด์ โดยทั่วไปเรียกว่า Rock-salt structure สารประกอบแฮไลด์ของโลหะแอลคาไลด์
( ธาตุหมู่ IA ) และสารประกอบออกไซด์และซัลไฟด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ( ธาตุหมู่ IIA )
ส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบเดียวกับโซเดียมคลอไรด์
รูปที่ 6.2 โครงผลึกโซเดียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com)
2. โครงสร้างแบบซีเซียมคลอไรด์ ( Cesium Chloride structure ) เนื่องจาก Cs+
มีขนาด
โตกว่า Na+
ดังนั้น Cl-
จึงสามารถห้อมล้อมและสัมผัสกับ Cs+
ได้มากกว่า Na+
กล่าวคือ Cs+
มี Cl-
ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน ทานองเดียวกัน Cl-
ก็จะมี Cs+
ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออนเช่นเดียวกัน
รูปที่ 6.3 โครงผลึกซีเซียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.ponglearning.com/?p=1155)
3. โครงสร้างแบบแคลเซียมฟลูออไรด์ ( Fluorite structure ) โครงสร้างของแคลเซียม
ฟลูออไรด์ประกอบด้วย Ca2+
และ F-
โดย Ca2+
มี F-
ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน แต่ F-
มี Ca2+
ห้อมล้อมและสัมผัสเพียง 4 ไอออนเท่านั้น
รูปที่ 6.4 โครงผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com)
4. โครงสร้างแบบซิงซัลไฟด์ ( Zinc blend structure ) โครงสร้างของซิงซัลไฟด์ประกอบด้วย Zn2+
และ S2-
โดย Zn2+
มี S2-
ห้อมล้อมและสัมผัส 4 ไอออน ทานองเดียวกัน S2-
ก็มี Zn2+
ห้อมล้อมและสัมผัส 4
ไอออนเช่นเดียวกัน
รูปที่ 6.4 โครงผลึกซิงค์ซัลไฟด์ (ที่มา : http://chempumarin.blogspot.com/2008_07_01_archive.html)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 6 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
จานวน 5 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. ธาตุที่เกิดพันธะไอออนิกกับออกซิเจนได้ดีที่สุด
คือข้อใด
ก. ฟลูออรีน ข. คลอรีน
ค. เบริลเรียม ง. โซเดียม
2. การที่โลหะรวมกับอโลหะแล้วโลหะจะให้
อิเล็กตรอนแก่อโลหะเกิดไอออนบวกและไอออนลบ
ดึงดูดกันด้วยแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตสร้างพันธะ
ไอออนิกขึ้นในสารประกอบนั้นเพราะเหตุใด
ก. โลหะมีขนาดอะตอมเล็กกว่าอโลหะ
จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย
ข. อโลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าโลหะ
จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย
ค. โลหะมีค่า IE ต่าจึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย
เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย
ง. โลหะมีค่า IE สูงจึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย
เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย
3. ธาตุ A B C Dค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี 0.8, 1.4, 3.6,
4.0 ตามลาดับ สารประกอบของธาตุคู่ใดที่สร้าง
พันธะไอออนิกได้ดีที่สุด
ก. A กับ C ข. B กับ C
ค. A กับ D ง. B กับ D
4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง
ข. สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก
เพราะมีแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตระหว่าง
ไอออนต่างชนิดกัน
ค. สารประกอบไอออนิกเกิดระหว่างโลหะ
ที่มีค่า IEต่า กับอโลหะที่มีค่า IEสูง
ง. โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
มีลักษณะเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย
แต่ละไอออนจะมีไอออนอื่นมาล้อมรอบ
ด้วยจานวนที่ไม่คงที่เสมอ
แบบทดสอบหลังเรียน
5. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
ก. โครงสร้างผลึกแบบโซเดียมคลอไรด์
จะมีอัตราส่วน Na+
:Cl-
เท่ากับ 6 : 6
ข. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกัน
ด้วยแรงทางไฟฟ้าสถิตย์
ค. การที่สารประกอบไอออนิกจะมีโครงสร้าง
ผลึกแบบใดนั้นขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง
เช่น ขนาดไอออน จานวนไอออน
ง. การจัดเรียงไอออนบวกและไอออนลบ
ในผลึกของสารประกอบไอออนิกแต่ละชนิด
จะมีโครงสร้างเหมือนกันเสมอ
ชุดที่ 6 เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 5
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 6 เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1) ง.
2) ค.
3) ค.
4) ง.
5) ง.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
Nadeeya Benlateh
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
Dr.Woravith Chansuvarn
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
renusaowiang
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
Oui Nuchanart
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
Thanyamon Chat.
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 

What's hot (20)

คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 

Viewers also liked

บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
Hydrocarbon
HydrocarbonHydrocarbon
Hydrocarbonkaoijai
 
Periodic Properties Of Elements In The Periodic Table
Periodic Properties Of Elements In The Periodic TablePeriodic Properties Of Elements In The Periodic Table
Periodic Properties Of Elements In The Periodic Tablejuanjose
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
Flook Owen'zl
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
monchai chaiprakarn
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งบทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งtheerapong_puangmali
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
Dr.Woravith Chansuvarn
 

Viewers also liked (9)

บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
Hydrocarbon
HydrocarbonHydrocarbon
Hydrocarbon
 
Periodic Properties Of Elements In The Periodic Table
Periodic Properties Of Elements In The Periodic TablePeriodic Properties Of Elements In The Periodic Table
Periodic Properties Of Elements In The Periodic Table
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งบทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 

Similar to Punmanee study 6

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
isaka123
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Gawewat Dechaapinun
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
nn ning
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
Katewaree Yosyingyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 

Similar to Punmanee study 6 (20)

Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

Punmanee study 6

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. อธิบายหลักการเกิดพันธะไอออนิกได้ 2. อธิบายการจัดเรียงตัวของไอออนบวกและไอออนลบ และบอกโครงสร้าง ของสารประกอบไอออนิกบางชนิดได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก การเกิดพันธะไอออนิก พันธะไอออนิก เกิดขึ้นเมื่อโลหะรวมตัวกับอโลหะ แล้วโลหะให้อิเล็กตรอนเนื่องจากโลหะมี ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่า ส่วนอโลหะรับอิเล็กตรอนเนื่องจากอโลหะมี ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูง เพื่อให้แต่ละ อะตอม มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 หรือเป็นไปตามกฎออกเตต อะตอมของโลหะก็จะกลายเป็นไอออนบวก เพราะมีโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน ส่วนอะตอมของอโลหะกลายเป็นไอออนลบเพราะมีโปรตอนน้อยกว่า อิเล็กตรอน ไอออนทั้งสองมีประจุต่างกันจึงเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้ายึดเหนี่ยวอะตอมทั้งสองเข้าด้วยกัน (เกิดเป็นพันธะไอออนิก ) และเรียกสารประกอบที่เกิดจากอะตอมยึดเหนี่ยวกัน ด้วยพันธะไอออนิกว่า สารประกอบไอออนิก เนื่องจากโครงสร้างของสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ มีการจัดเรียงตัวสลับกันไปแบบต่อเนื่องทั่วทั้งผลึก ไม่สามารถแยกออกเป็นโมเลกุลได้ จึงถือว่าสารประกอบ ไอออนิกเป็นสารประกอบที่ไม่มีสูตรโมเลกุล การเขียนสูตรแทนสารประกอบไอออนิก ใช้สูตรเอมพิริกัล (สูตรอย่างง่าย) แสดงอัตราส่วนอย่างต่าในการรวมตัวกันระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ หมายเหตุ : โลหะบางชนิด เช่น Be, Sn เมื่อรวมตัวกับอโลหะบางชนิด เช่น Cl ไม่ได้เกิดพันธะไอออนิก แต่เกิดพันธะโคเวเลนต์ เช่น BeCl2 SnCl4 SnCl2 เป็นต้น ใบความรู้
  • 3. ตัวอย่าง 1 การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เขียนสูตรโครงสร้างได้ดังนี้
  • 4. เมื่อโลหะโซเดียมทาปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนจะเกิดการให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างอะตอมทั้งสอง เกิดเป็น โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออน ไอออนทั้งสองจะยึดกันด้วยพันธะไอออนิก แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โซเดียมไอออนและคลอไรด์ไอออนจะเกิดอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นโครงผลึกขนาดใหญ่ของสารประกอบ โซเดียมคลอไรด์ ดังรูปที่ 6.1 รูปที่ 6.1 โครงผลึกโซเดียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com) ตัวอย่าง 2 การเกิดสารประกอบแมกนิเซียมคลอไรด์ (มีหลักการเดียวกับการเกิด NaCl) เขียนสูตรโครงสร้างได้ ดังนี้
  • 5. โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก ผลึกของสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบจัดเรียงตัวสลับกัน ไปอย่างมีระเบียบทั่วทั้งก้อนผลึกสามมิติ ทาให้ผลึกมีโครงสร้างที่แน่นอน ในการจัดเรียงตัวของไอออน ไอออนบวกจะห้อมล้อมและสัมผัสกับไอออนลบ ในทานองเดียวกันไอออนลบก็จะห้อมล้อมและสัมผัสกับ ไอออนบวก จานวนไอออนที่ห้อมล้อมและสัมผัสกับไอออนอื่น เรียกว่า โคออร์ดิเนชันนัมเบอร์ (Coordination Number ) ซึ่งจะมีจานวนเท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของไอออนทั้งสองชนิด โครงสร้างผลึกขง สารประกอบไอออนิกที่ควรทราบได้แก่ 1. โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์ ( Rock salt structure ) ในผลึกของโซเดียมคลอไรด์ ประกอบด้วย Na+ และ Cl- การจัดเรียงตัวของไอออนคือ Na+ จะมี Cl- ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน และ Cl- จะมี Na+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออนเช่นเดียวกัน โครงสร้างแบบ โซเดียมคลอไรด์ โดยทั่วไปเรียกว่า Rock-salt structure สารประกอบแฮไลด์ของโลหะแอลคาไลด์ ( ธาตุหมู่ IA ) และสารประกอบออกไซด์และซัลไฟด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ( ธาตุหมู่ IIA ) ส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบเดียวกับโซเดียมคลอไรด์ รูปที่ 6.2 โครงผลึกโซเดียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com) 2. โครงสร้างแบบซีเซียมคลอไรด์ ( Cesium Chloride structure ) เนื่องจาก Cs+ มีขนาด โตกว่า Na+ ดังนั้น Cl- จึงสามารถห้อมล้อมและสัมผัสกับ Cs+ ได้มากกว่า Na+ กล่าวคือ Cs+ มี Cl- ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน ทานองเดียวกัน Cl- ก็จะมี Cs+ ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออนเช่นเดียวกัน
  • 6. รูปที่ 6.3 โครงผลึกซีเซียมคลอไรด์ (ที่มา : http://www.ponglearning.com/?p=1155) 3. โครงสร้างแบบแคลเซียมฟลูออไรด์ ( Fluorite structure ) โครงสร้างของแคลเซียม ฟลูออไรด์ประกอบด้วย Ca2+ และ F- โดย Ca2+ มี F- ห้อมล้อมและสัมผัส 8 ไอออน แต่ F- มี Ca2+ ห้อมล้อมและสัมผัสเพียง 4 ไอออนเท่านั้น รูปที่ 6.4 โครงผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์ (ที่มา : http://www.vcharkarn.com) 4. โครงสร้างแบบซิงซัลไฟด์ ( Zinc blend structure ) โครงสร้างของซิงซัลไฟด์ประกอบด้วย Zn2+ และ S2- โดย Zn2+ มี S2- ห้อมล้อมและสัมผัส 4 ไอออน ทานองเดียวกัน S2- ก็มี Zn2+ ห้อมล้อมและสัมผัส 4 ไอออนเช่นเดียวกัน รูปที่ 6.4 โครงผลึกซิงค์ซัลไฟด์ (ที่มา : http://chempumarin.blogspot.com/2008_07_01_archive.html)
  • 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 6 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก จานวน 5 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ธาตุที่เกิดพันธะไอออนิกกับออกซิเจนได้ดีที่สุด คือข้อใด ก. ฟลูออรีน ข. คลอรีน ค. เบริลเรียม ง. โซเดียม 2. การที่โลหะรวมกับอโลหะแล้วโลหะจะให้ อิเล็กตรอนแก่อโลหะเกิดไอออนบวกและไอออนลบ ดึงดูดกันด้วยแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตสร้างพันธะ ไอออนิกขึ้นในสารประกอบนั้นเพราะเหตุใด ก. โลหะมีขนาดอะตอมเล็กกว่าอโลหะ จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ข. อโลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าโลหะ จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ค. โลหะมีค่า IE ต่าจึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย ง. โลหะมีค่า IE สูงจึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย 3. ธาตุ A B C Dค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี 0.8, 1.4, 3.6, 4.0 ตามลาดับ สารประกอบของธาตุคู่ใดที่สร้าง พันธะไอออนิกได้ดีที่สุด ก. A กับ C ข. B กับ C ค. A กับ D ง. B กับ D 4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง ข. สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตระหว่าง ไอออนต่างชนิดกัน ค. สารประกอบไอออนิกเกิดระหว่างโลหะ ที่มีค่า IEต่า กับอโลหะที่มีค่า IEสูง ง. โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก มีลักษณะเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย แต่ละไอออนจะมีไอออนอื่นมาล้อมรอบ ด้วยจานวนที่ไม่คงที่เสมอ แบบทดสอบหลังเรียน
  • 8. 5. ข้อใดต่อไปนี้ผิด ก. โครงสร้างผลึกแบบโซเดียมคลอไรด์ จะมีอัตราส่วน Na+ :Cl- เท่ากับ 6 : 6 ข. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกัน ด้วยแรงทางไฟฟ้าสถิตย์ ค. การที่สารประกอบไอออนิกจะมีโครงสร้าง ผลึกแบบใดนั้นขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ขนาดไอออน จานวนไอออน ง. การจัดเรียงไอออนบวกและไอออนลบ ในผลึกของสารประกอบไอออนิกแต่ละชนิด จะมีโครงสร้างเหมือนกันเสมอ
  • 9. ชุดที่ 6 เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 5 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 10. ชุดที่ 6 เรื่อง การเกิดพันธะไอออนิกและโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1) ง. 2) ค. 3) ค. 4) ง. 5) ง. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 11. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. บรรณานุกรม