SlideShare a Scribd company logo
PETROLEUM
ปิโตรเลียม
คำว่ำ ปิโตรเลียม มีรำกศัพท์มำจำกภำษำละตินว่ำ เพทรา ( Petra)
แปลว่ำ หิน และคำว่ำ โอเลียม (Oleum) แปลว่ำ น้ำมัน
รวมควำมแล้ว ปิโตรเลียม จึงหมำยถึง น้ำมันที่ได้มำจำกหิน
โดยไหลซึมออกมำเองในรูปของของเหลวหรือก๊ำซเมื่อแรกพบ
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม คือ สำรที่เกิดขึ้นตำมธรรมชำติ เป็นของผสมของ
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่ำงๆ ที่ยุ่งยำกและซับซ้อน
ทั้งที่อยู่ในสภำพ ของเหลว และก๊ำซ หรือปะปนกัน แต่เมื่อต้องกำรจะ
แยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่ำงๆ จะใช้คำว่ำ น้ำมันดิบ
(Crude oil) และ ก๊ำซธรรมชำติ (Natural gas)
(บำงแหล่งพบ ก๊ำซธรรมชำติเหลว (Condensate)ด้วย)
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือ
มีธาตุ C และ H องค์ประกอบหลัก
โดยปกติน้ำมันดิบและก๊ำซธรรมชำติมักจะเกิดร่วมกันใน
แหล่งปิโตรเลียม แต่บำงแหล่งอำจมีเฉพำะน้ำมันดิบ บำงแหล่ง
อำจมีเฉพำะก๊ำซธรรมชำติก็ได้
ส่วนก๊ำซธรรมชำติเหลวนั้น หมำยถึง ก๊ำซธรรมชำติใน
แหล่งที่อยู่ลึกลงไปใต้ดินภำยใต้สภำพอุณหภูมิและควำมกดดันที่
สูง เมื่อถูกนำขึ้นมำถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของกำรผลิต
อุณหภูมิและควำมกดดันจะลดลง ทำให้ก๊ำซธรรมชำติกลำย
สภำพไปเป็นของเหลว เรียกว่ำ ก๊ำซธรรมชำติเหลว
ปิโตรเลียม
เมื่อหลำยล้ำนปี ทะเลเต็มไปด้วยสัตว์และพืชเล็ก ๆ
จำพวกจุลินทรีย์เมื่อสิ่งมีชีวิตตำยลงจำนวนมหำศำล ก็จะตกลง
สู่ก้นทะเล และถูกทับถมด้วยโคลน และทรำย
แม่น้ำ จะพัดพำกรวดทรำย และโคลนสู่ทะเล ปีละ
หลำยแสนตัน ซึ่งกรวด ทรำย และโคลน จะทับถมสัตว์
และพืชสลับทับซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ อยู่ตลอดเวลำ นับเป็น
ล้ำนปี
กำรทับถมของชั้นตะกอนต่ำง ๆ มำกขึ้น จะหนำนับร้อยฟุต
ทำให้เพิ่มน้ำหนักควำมกดและบีบอัด จนทำให้ทรำย และชั้นโคลน
กลำยเป็นหินทรำย และหินดินดำน ตลอดจนเกิดกลั่นสลำยตัว
ของสัตว์และพืชทะเล เป็นน้ำมันดิบ และก๊ำซธรรมชำติ
น้ำมันดิบ และก๊ำซธรรมชำติ มีควำมเบำ จะเคลื่อนย้ำย
ไปกักเก็บอยู่ในชั้นหินเนื้อพรุนสูง เช่น หินทรายและหินปูน
(คล้ายฟองน้า) และ หินที่กักเก็บปิโตรเลียม คือ หินดินดาน
โครงสร้ำงของแหล่งกำเนิดปิโตรเลียม
โครงสร้างของชั้นหินที่พบปิโตรเลียมแบบหนึ่ง มีลักษณะโค้งคล้ายรูป
กระทะคว่า ชั้นบนเป็นหินทราย หินปูน หินดินดาน จากนั้นจึงพบ
แก๊สธรรมชาติ น้ามันดิบ และน้า จากชั้นน้าจะเป็นชั้นหินดินดาน หินทราย
ปริมาณน้ามันดิบที่พบในโลก
ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่พบในโลก
Petroleum
Field in
Thailand
ถ่านหินจัดเป็นปิโตรเลียมหรือไม่ ?
ถ่านหิน คือ ?
ร่วมด้วยช่วยกันคิด
ถ่านหิน ไม่จัดเป็นปิโตรเลียมนะครับ
การสารวจปิ โตรเลียม
การสารวจปิ โตรเลียมใช้ความรู้ทาง
ธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์ประกอบกันดังนี้
1. ทางธรณีวิทยา
2. ทางธรณีฟิสิกส์
1. ทางธรณีวิทยา
ใช้ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่เป็น
พื้นฐานในการสารวจพื้นผิว การเก็บและตรวจ
ตัวอย่างหิน เป็นข้อมูลในการคาดคะเนโครงสร้าง
และชนิดของหินกักเก็บปิโตรเลียม
การสารวจปิ โตรเลียม
2. ทางธรณีฟิสิกส์
- การวัดค่าสนามแม่เหล็ก ทาให้ทราบถึงลักษณะ
ความลึกของชั้นหิน และลักษณะของแนวหิน
- การวัดค่าโน้มถ่วงของโลก โครงสร้างของชั้นหิน
- การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน ซึ่งแรงสั่นสะเทือนจะวิ่ง
ผ่านชั้นหินชนิดต่างๆ และสะท้อนเป็นคลื่นกลับมา
แตกต่างกัน ทาให้ทราบลักษณะชั้นหินอย่างละเอียด
การสารวจปิ โตรเลียม
การสารวจปิ โตรเลียม
การสารวจปิ โตรเลียม
การสารวจปิโตรเลียม
การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
โดยกำรสร้ำงคลื่นสะท้อนจำกกำร
จุดระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นควำมสั่นสะเทือน
วิ่งไปกระทบชั้นหินใต้ท้องทะเลและใต้ดิน
แล้วสะท้อนกลับขึ้นมำบนผิวโลกเข้ำ
เครื่องรับสัญญำณ จำกนั้นเครื่องรับ
สัญญำณจะบันทึกเวลำที่คลื่นควำม
สั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมำจำกชั้นหิน
ณ ที่ระดับควำมสึกต่ำงกัน ซึ่งระยะเวลำที่
คลื่นควำมสั่นสะเทือนเดินทำงกระทบชั้น
หินที่เป็นตัวสะท้อนคลื่นได้
การวัดคลื่นไหวสะเทือน
(Seismic Survey)
ในทะเล
การวัดคลื่นไหวสะเทือน
(Seismic Survey)
บนภาคพื้นดิน
การสารวจปิโตรเลียม
การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
การสารวจปิโตรเลียม
การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
การสารวจปิโตรเลียม
การเจาะสารวจปิโตรเลียม
การเจาะสารวจ เป็นขั้นตอนที่จะบอกให้ทรำบถึงความยากง่าย
ของการขุดเจาะปิโตรเลียมมำใช้และสิ่งที่กักอยู่ในแหล่งนั้น ว่ำจะเป็นก๊ำซ
ธรรมชำติหรือน้ำมันดิบ และยังเป็นสิ่งที่บอกถึงปริมาณสารองที่มีอยู่
ซึ่งจะเป็นตัวบอกและตัดสินควำมเป็นไปได้ในกำรผลิตในเชิงเศรษฐกิจ
หัวขุดเจาะปิโตรเลียม
แท่นขุดเจาะในทะเล
แท่นขุดเจาะบนบก
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นใน
แท่นขุดเจาะน้ามัน
หลักการทางานของน้ายาสลายคราบน้ามัน
ปูลมที่พบบริเวณชายหาด อ่าวพร้าว มีคราบน้ามันเกาะทั้งตัว
น้ำมันดิบ
น้ามันดิบ (crude oil) เกิดจำกกำรทับถมของสำรอินทรีย์ใน
ระดับใต้ผิวโลก และเกิดกำรแปรสภำพซึมผ่ำนช่องว่ำงระหว่ำงชั้น
หินขึ้นสู่ผิวโลกจนถึงชั้นหินเนื้อแน่นที่ไม่สำมำรถซึมผ่ำนขึ้นมำได้
จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินกักเก็บคือ หินดินดาน ซึ่งจัดเป็นหิน
ตะกอนประเภทหนึ่ง
น้ำมันดิบ
ประเทศไทยสารวจพบน้ามันดิบครั้งแรกที่
อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2464
แหล่งน้ามันดิบในประเทศไทยที่สาคัญในป
ั จจุบัน ได้แก่
แหล่งน้ามันดิบ จากแหล่งสิริกิต์ ที่จังหวัดกาแพงเพชร
กำรกลั่นน้ำมันดิบ
น้ามันดิบมีลักษณะเป็ นของเหลวข้นคล้ายโคลน มีสีดา
และมีกลิ่น ใช้ประโยชน์โดยตรงได้น้อยมาก ต้องนาไปแยก
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกเป็ นกลุ่มๆ ตามช่วงของจุด
เดือด โดยองค์ประกอบแต่ละส่วนจะแยกออกจากกันด้วยหลัก
ของการกลั่นลาดับส่วน (fraction distillation)
กำรกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ
การกลั่นลาดับส่วน เป็ นกระบวนการที่ทาให้น้ามันดิบได้รับ
ความร้อนสูงประมาณ 500 องศาเซลเซียส ทาให้สารทุกชนิด
เปลี่ยนสถานะเป็ นก๊าซพร้อมกัน ผ่านขึ้นไปบนหอกลั่นแล้วควบแน่น
แยกออกเป็ นส่วนๆ
โดยสารที่มีจุดเดือดสูง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก
จึงควบแน่นเป็ นของเหลวก่อน และอยู่ที่ด้านล่างของหอกลั่น
ส่วนสารที่มีจุดเดือดต่า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย
จึงเคลื่อนที่ขึ้นไปควบแน่นที่ชั้นบนสุดของหอกลั่น
รูปแสดงหอกลั่นน้ามันดิบ
ส่วนประกอบของโรงกลั่นน้ามันดิบ
1
2
3
4
5
6
7
http://www.schoolscience.co.uk/content/4/chemistry/petroleum/knowl/4/flash/distillation.htm
โรงกลั่นน้ำมันดิบ
ภาพขยายส่วนที่ 1
ถังกักเก็บน้ามันดิบ
ภาพขยายส่วนที่ 2
ปั้ม เพื่อขนส่งน้ามันขึ้นหอกลั่น
ส่วนนี้ทำหน้ำแยกสำรที่ไม่ใช่ไฮโดรคำร์บอนออกเช่น น้ำโดยใช้ตัวดูดซับเกลือ
ภาพขยายส่วนที่ 3
ภาพขยายส่วนที่ 4
ภาพขยายส่วนที่ 5 เตาหลอมน้ามันดิบ
ภาพขยายส่วนที่ 6
หอกลั่น
แบบจาลองภายนอก แบบจาลองภายใน
ภาพขยายส่วนที่ 6 รูปแสดงหอกลั่นน้ามันดิบ
ภาพขยายส่วนที่ 7 แสดงหอกลั่นส่วนที่ 2 กลั่น bitumen fuel oil และ lubricants
สารที่ได้จากการกลั่น จานวน C จุดเดือด °C การนาไปใช้ประโยชน์
แก๊สปิโตรเลียม 1 - 4 < 30 แก๊สหุงต้ม
ทาเชื้อเพลิง สารเคมี
แนฟทาเบา 5 - 10 30 – 110 ตัวทาละลายในอุตสาหกรรมเคมี
แนฟทาหนัก 6 – 12 65 - 170 น้ามันเบนซิน
น้ามันก๊าด 10 – 14 170 – 250 เชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น
น้ามันดีเซล 14 - 19 250 – 360 เชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
น้ามันหล่อลื่น 19 - 35 330 – 380 น้ามันหล่อลื่น
น้ามันเตา 35 - 40 > 400 เชื้อเพลิงเครื่องจักร
ไข 40 - 50 > 400 ทาเทียนไข
ทาเครื่องสาอาง
วัตถุดิบในการผลิตผงซักฟอก
Bitumen > 50 >500 ทาวัสดุกันรั่วซึม ยางมะตอย
ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ามันดิบ
ลื่น
หนัก
ต้ม
เซล
ก๊าด
ไข
เตา
ตอย
จุดเดือดต่า
C น้อย
จุดเดือดสูง
C มาก
น้ามันหล่อลื่น
น้ามันเบนซิน
แก๊สหุงต้ม
น้ามันดีเซล
น้ามันก๊าด
ไข
น้ามันเตา
ยางมะตอย
(บิทูเมน)
หอกลั่นน้ามันดิบ
เบา ตัวทาละลาย
แก๊สธรรมชำติ
ก๊าซธรรมชาติเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่ง
ประกอบด้วย โดยเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการทับถมของ
ซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเลหลายร้อยล้านปี
มาแล้ว เช่นเดียวกับน้ามันดิบ และเนื่องจากความร้อนและ
ความกดดันของผิวโลกจึง เกิดการสลายตัวเป็นแก๊สธรรมชาติ
อยู่เหนือชั้นน้ามันดิบหรืออาจจะพบอยู่ตามลาพัง
แก๊สธรรมชำติ
คุณสมบัติของก๊าซธรรมชาติ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น
ในสถานะปกติมีสภาพเป็ นก๊าซหรือไอ ที่ความดันบรรยากาศ
โดยมีค่าความถ่วงจาเพาะต่ากว่า อากาศจึงเบากว่าอากาศ
เมื่อเกิดการรั่วไหลจะฟุ้ งกระจายไปตามบรรยากาศอย่าง
รวดเร็ว จึงไม่มีการสะสมลุกไหม้ บนพื้นราบ
แหล่งกาเนิดแก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชำติเกิดอยู่ใต้พื้นดิน อำจเป็นบนบกหรือในทะเล และอำจ
พบอยู่ตำมลำพัง ในสถำนะแก๊สหรืออยู่รวมกับน้ำมันดิบ
แหล่งแก๊สธรรมชำติในอ่ำวไทย ประกอบด้วย แก๊สมีเทน เป็นส่วนให่่
แก๊สธรรมชำติบำงส่วนเกิดจำกควำมร้อนสูงภำยในโลก ทำให้
น้ำมันดิบที่ถูกเก็บกักไว้เป็นเวลำนำนเกิดกำรสลำยตัวเป็นแก๊สธรรมชำติอยู่
เหนือชั้นน้ำมันดิบ
แหล่งกาเนิดแก๊สธรรมชาติในประเทศไทย
Thailand's Natural
Gas Pipelines
องค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติที่ขุดเจาะขึ้นมามีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ
1.ส่วนที่เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหมายชนิด ได้แก่
แก๊สมีเทน (CH4) , อีเทน (C2H6) , โพรเพน (C3H8) , บิวเทน
(C4H10) และแก๊สเหลว
2.ส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ได้แก่
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) , ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ,
ไอปรอท และไอน้า
หลักการแยกแก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติ แยกส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน เพื่อให้เปลี่ยน
สถานะเป็ นของเหลว
ผ่านไปยังหอกลั่นและลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
เพื่อเปลี่ยนสถานะเป็ นแก๊ส
แก๊สมีเทน (CH4)
แก๊สอีเทน (C2H6)
แก๊สโพรเพน (C3H8)
แก๊สหุงต้ม (LPG) (C3-C4)
แก๊สธรรมชำติเหลว (C5-C6)
องค์ประกอบและกำรใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชำติ
สำรประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมำตร ประโยชน์
มีเทน CH4 60-80 ใช้เป็นเชื้อเพลิง
อีเทน C2H4 4-10 ผลิตปุ๋ยไนโตรเจน
ผลิตแอลกอฮอล์
ผลิต LPG
โพรเพน C3H8 3-5 ใช้เป็นแก๊สหุงต้มในบ้ำนเรือน
เชื้อเพลิงในรถยนต์
สำรประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมำตร ประโยชน์
บิวเทน C4H10 1-3 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น
ผลิตสำรเคมี
เป็นแก๊สหุงต้ม
เพนเทน C5H12 3-5 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น
ผลิตสำรเคมี
เฮกเซน C6H14 0.1-1 ใช้เป็นตัวทำละลำย
องค์ประกอบและกำรใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชำติ
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
การบอกคุณภาพของน้ามัน
1. เลขออกเทน (Octane Number)
เลขออกเทนเป็ นตัวเลขที่ใช้บอกคุณภาพของน้ามันเบนซินในรถยนต์
โดยกาหนดประสิทธิภาพของการเผาไหม้
การเผาไหม้เหมือนสารประกอบไอโซออกเทนมีเลขออกเทนเป็ น 100
การเผาไหม้เหมือนสารประกอบนอร์มอลเฮปเทนมีเลขออกเทนเป็ น 0
น้ำมันเบนซิน ที่มีสมบัติกำรเผำไหม้เช่นเดียวกับ ไอโซออกเทน
เรียกน้ำมันเบนซินนั้นว่ำมี เลขออกเทนเป็น 100
น้ำมันเบนซิน ที่มีสมบัติกำรเผำไหม้เช่นเดียวกับ เฮปเทน
เรียกน้ำมันเบนซินนั้นว่ำมี เลขออกเทนเป็น 0
น้ำมันเบนซิน ที่มีเลขออกเทน 70 คือ น้ำมันเบนซินที่มีสมบัติกำรเผำไหม้
เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่มีไอโซออกเทน 70 ส่วน และเฮปเทน 30 ส่วน
ถ้ำน้ำมันเบนซินออกเทน
95
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
กำรบอกคุณภำพของน้ำมัน
1. เลขซีเทน (Cetane Number)
เลขออกเทนเป็ นตัวเลขที่ใช้บอกคุณภาพของน้ามันดีเซลในรถยนต์
โดยกาหนดประสิทธิภาพของการเผาไหม้
การเผาไหม้เหมือนซีเทนมีเลขซีเทนเป็ น 100
การเผาไหม้เหมือนแอลฟาเมทิลแนฟทาลีนมีเลขซีเทนเป็ น 0
ถ้ำน้ำมันเดีเซลซีเทน 55
น้ำมันดีเซลที่มีสมบัติกำรเผำไหม้ เช่นเดียวกับ ซีเทน
เรียกน้ำมันดีเซลนั้นว่ำ เลขซีเทนเป็น 100
น้ำมันดีเซลที่มีสมบัติกำรเผำไหม้ เช่นเดียวกับ แอลฟำเมทิลแนฟทำลีน
เรียกน้ำมันดีเซลนั้นว่ำ เลขซีเทนเป็น 0
น้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 คือ น้ำมันดีเซลที่มีสมบัติกำรเผำไหม้
เช่นเดียวกับซีเทน 80 ส่วน และแอลฟำเมทิลแนฟทำลีน 20 ส่วน
กำรปรับปรุงคุณภำพของน้ำมันเชื้อเพลิงโดยกำรเติมสำรบำงชนิด
1.การเติมสารประกอบตะกั่ว
ได้แก่ เตตระเมทิลเลด หรือ เตตระเอทิลเลด
เป็นสำรช่วยเพิ่มค่ำออกเทนให้สูงขึ้นได้ แต่พบปั่หำต่อสภำพแวดล้อม
เนื่องจำกขณะเผำไหม้เกิดตะกั่วออกไซด์กับตะกั่วคำร์บอเนตสู่บรรยำกำศ
ในปัจจุบันเลิกใช้วิธีนี้แล้ว
เตตระเมทิลเลด
เตตระเอทิลเลด
กำรปรับปรุงคุณภำพของน้ำมันเชื้อเพลิงโดยกำรเติมสำรบำงชนิด
2.การเติมเมทิลเทอร์เชียรีบิวทิลอีเทอร์
( methyltertiarybutylether : MTBE)
เพื่อแก้ปั่หำตะกั่วตกค้ำงในสิ่งแวดล้อม เรียกน้ำมันเบนซินชนิดนี้ว่ำ
“ น้ำมันไร้สำรตะกั่ว หรือ ULG ”
MTBE
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
LPG
NGV
Liquefied petroleum gas
Natural gas for vehicle
CNG Compressed natural gas
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
LPG
แก๊สปิ โตรเลียมเหลว หรือ แก๊สหุงต้ม เป็ นแก๊สผสมของ
แก๊สโพรเพน (C3H8) และ แก๊สบิวเทน (C4H10)
NGV
แก๊สธรรมชาติ มีองค์ประกอบหลัก เป็ น แก๊สมีเทน CH4
แก๊สโซฮอล์
เป็ นส่วนผสมระหว่าง น้ามันเบนซิน กับ เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์)
ผลิตมาเพื่อใช้เป็ นพลังงานทดแทน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
น้ามันแก๊สโซฮอล์ มี 3 ชนิด คือ
1. E10 มีส่วนผสมระหว่าง น้ามันเบนซิน กับ เอทานอล
น้ามันเบนซินร้อยละ 90 เอทานอลร้อยละ 10
2. E20 มีส่วนผสมระหว่าง น้ามันเบนซิน กับ เอทานอล
น้ามันเบนซินร้อยละ 80 เอทานอลร้อยละ 20
3. E85 มีส่วนผสมระหว่าง น้ามันเบนซิน กับ เอทานอล
น้ามันเบนซินร้อยละ 15 เอทานอลร้อยละ 85
*หมายเหตุ น้ามันแก๊สโซฮอล์แต่ละชนิดจะใช้กับเครื่องยนต์ที่เหมาะสม
Gas Station
HENRI BECQUEREL(พ.ศ. 2395-2451)
 นักฟิสิกส์ชำวฝรั่งเศสได้รับรำงวัลโนเบลทำงฟิสิกส์
ในปีพ.ศ.2446
 ค้นพบกัมมันตภาพรังสีในสารประกอบ
ยูเรเนียม เรียกว่า รังสียูเรนิก
ในปี ค.ศ. 1896 เบ็กเคอเรล พบว่า เมื่อเก็บ
แผ่นฟิล์มที่หุ้มด้วยกระดาษสีดาไว้กับ
สารประกอบของยูเรเนียม ฟิล์มจะมีลักษณะ
เหมือนถูกแสง และเมื่อทาการทดลองกับ
สารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่นๆ ก็ได้ผล
เช่นเดียวกัน จึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจาก
ธาตุยูเรเนียม
ภำพหมอกจำกแผ่นฟิล์มที่เบ็กเคอเรลได้ทดลองนำ
กัมมันตภำพรังสีมำวำงบนแผ่นฟิล์มที่ปกปิดอย่ำงดี
แต่ก็ไม่อำจต้ำนทำนกำรทะลุทะลวงได้
U
238
92
Uranium
PIERRE CURIE AND MARIE CURIE
(พ.ศ. 2402-2449)  Pierre Curie นักฟิสิกส์ชำวฝรั่งเศส
Marie Curie นักฟิสิกส์ชำวโปแลนด์
 จำกกำรค้นพบธำตุกัมมันตรังสีสอง
ธำตุคือ เรเดียมและพอโลเนียม
 สำมี ภรรยำคู่นี้ทำงำนทำงด้ำน
กัมมันตภำพรังสี และได้รับรำงวัล
โนเบลเช่นกัน
 เป็นที่น่ำสังเกตว่ำ มำดำมคูรีเสียชีวิต
ด้วยโรคลูคีเมีย หรือ มะเร็งในโลหิต
ซึ่งอำจเนื่องมำจำกกำรได้รับรังสีจำก
ธำตุกัมมันตภำพรังสีเกินควรก็ได้
Ra
226
88
Radium
Po
208
84
Polonium
ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่นิวเคลียสของอะตอมแผ่รังสีออกมา
อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งเรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)
และธาตุนั้นจะกลายเป็ นธาตุใหม่ จนในที่สุดได้อะตอมที่เสถียร
ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นธาตุที่มีเลขอะตอมมากกว่า 83 เช่น U-238
Th-232 Rn-222
รังสีที่ปล่อยออกมาส่วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ
รังสีแอลฟา รังสีบีต้า รังสีแกมมา
กัมมันตภาพรังสี คือ เป็นปรากฎการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง
จำกกำรศึกษำเพิ่มเติม แสดงให้เห็นว่ำรังสีที่ธำตุกัมมันตรังสีปล่อยมำ
อำจเป็นรังสีแอลฟา รังสีบีตา หรือรังสีแกมมา ซึ่งมีสมบัติต่ำงกัน
รังสีแอลฟำ เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอนอย่ำงละ 2 อนุภำค มีประจุ
ไฟฟ้ำ +2 มีอานาจทะลุทะลวงต่ามาก กระดำษเพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่นก็สำมำรถกั้นได้
รังสีบีตำ คือ อนุภำคที่มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้ำ -1 มีมวลเท่ำกับ
อิเล็กตรอน มีอานาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟา ประมำณ 100 เท่ำ สำมำรถผ่ำนแผ่น
โลหะบำงๆ ได้เช่น แผ่นตะกั่วหนำ 1 mm มีควำมเร็วใกล้เคียงควำมเร็วแสง
รังสีแกมมำ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่มีควำมยำวคลื่นสั้นมำก ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีอานาจ
ทะลุทะลวงสูงสุด สำมำรถทะลุผ่ำนแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได้แต่ถูกกั้นได้โดยคอนกรีต
หรือแผ่นตะกั่วหนำ
ชนิดและสมบัติของรังสีบางชนิด
Type of Radiation Alpha particle Beta particle Gamma ray
Symbol a b
g
(can look different,
depends on the font)
Mass (atomic mass
units)
4 1/2000 0
Charge +2 -1 0
Speed slow fast
very fast (speed of
light)
Ionising ability high medium 0
Penetrating power low medium high
Stopped by: paper aluminium lead
อำนำจกำรทะลุทะลวงของรังสี
ชนิดกัมมันตภำพรังสี
สรุปสมบัติของรังสี
ค่ำเปรียบเทียบรังสีทั้งสำม
ควำมสำมำรถในกำรทำให้อำกำศแตกตัวเป็นอิออน a b g
อำนำจกำรทะลุทะลวง g b a
มวล a b g
ควำมเร็ว g b a
พลังงำน a b g
X
A
Z
สัญลักษณ์ธำตุ
เลขอะตอม = p = e-
เลขมวล = p+n
ตัวเลขในตำแหน่งบนซ้ำย เรียกว่ำ “เลขมวล” (A)
ตัวเลขในตำแหน่งล่ำงซ้ำย เรียกว่ำ “เลขอะตอม” (Z)
เลขอะตอม (Atomic Number) ใช้สัญลักษณ์เป็น Z
คือ ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอน (p) สำหรับธำตุชนิดเดียวกันจะต้องมี
จำนวนโปรตอน(p) เท่ำกันเสมอ
เลขอะตอม = จำนวนโปรตอน (p) = จำนวนอิเล็กตรอน (e-) = Z
เลขมวล (Mass Number) ใช้สัญลักษณ์เป็น A
คือ ตัวเลขที่แสดงผลรวมจำนวนโปรตอน (p) และ นิวตรอน (n)
ในนิวเคลียสของอะตอม ดังนั้น
เลขมวล = จำนวนโปรตอน (p) + จำนวนนิวตรอน (n) = A
นั่นคือ จำนวนนิวตรอน (n) หำได้จำก เลขมวล – เลขอะตอม
• ธำตุชนิดเดียวกันที่มีเลขอะตอมเท่ำกัน แต่มีเลขมวลต่ำงกัน หรือ
• ธำตุชนิดเดียวกันที่มีจำนวนโปรตอนเท่ำกัน แต่มีจำนวน
นิวตรอนต่ำงกัน
สิ่งที่เหมือนกันของไอโซโทป สิ่งที่ต่างกันของไอโซโทป
1. จำนวนโปรตอนเท่ำกัน 1. มวลของอะตอมต่ำงกัน
2. จำนวนอิเล็กตรอนเท่ำกัน 2. จำนวนนิวตรอนต่ำงกัน
3. เลขอะตอมเท่ำกัน 3. เลขมวลต่ำงกัน
ธำตุไฮโดรเจน (H) มี 3 ไอโซโทป
กัมมันตภาพรังสี
ไอโซโทปเสถียร ไอโซโทปกัมมันตรังสี
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีแอลฟา
การแผ่รังสีแอลฟา
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีบีตา
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีบีต้า
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีแกมมา
Ra
Ra
226
88
*
222
86 Rn
Rn
222
86
He
4
2
g
X
234
97 Y
230
95
_______ +
X
189
85
Y
189
86
_______ +
X
256
98
Y
256
98
_______ +
X
267
91
_______ + Y
263
89
HALF-
LIFE
ครึ่งชีวิต (half life) ของสารกัมมันตรังสี
หมายถึง ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุ
กัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง
ของปริมาณเดิม ใช้สัญลักษณ์เป็น t1/2
ครึ่งชีวิตเป็ นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละ
ไอโซโทป และสามารถใช้เปรียบเทียบ
อัตราการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีแต่
ละชนิดได้
การสลายกัมมันตรังสี
100 50 25
ฟอสฟอรัส-32
14 วัน 14 วัน
ใช้เวลา 14 + 14 = 28 วัน
มีสตรอนเตียม-90 อยู่ 80 กรัม ใช้เวลานานเท่าไรจึงจะเหลือ สตรอนเตียม-90
อยู่ 5 กรัม ครึ่งชีวิตเท่ากับ 28 ปี
80 40 20
28 ปี 28 ปี
28 ปี
28 ปี
10
5
ใช้เวลา 28 + 28 + 28 + 28 = 112 ปี
ด้านการเกษตร
ฟอสฟอรัส-32
5 นาที
10 นาที
การนาไปใช้ประโยชน์
ด้านการเกษตร
แหนมฉายรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์
การนาไปใช้ประโยชน์
ด้านการแพทย์
ด้านการแพทย์
การนาไปใช้ประโยชน์
ด้านอุตสาหกรรม
น้ามันหรือแก๊ส
source
Detector
การนาไปใช้ประโยชน์
ด้านโบราณคดี
ขณะมีชีวิต อัตราส่วนระหว่าง C-
14 และ C-12 มีค่าคงที่
เมื่อตาย C-12 มีค่าคงที่ แต่ C-
14 สลายตัว (มีค่าลดลง) ตามครึ่ง
ชีวิต
การนาไปใช้ประโยชน์
การนาไปใช้ประโยชน์
ด้านโบราณคดี
เครื่องวัดรังสี
หน่วยวัดรังสี
-ใช้หน่วย ซีเวิร์ต
(sievert : Sv) หน่วยเดิม
คือ เรม(rem)
- ปริมาณที่ได้รับไม่ควรเกิน 5 มิลลิ
ซีเวิร์ตต่อปี
รังสีพื้นฐาน
(background radiation)
ปริมาณรังสี(มิลลิซีเวิร์ต) เกณฑ์ /แสดงอำกำร
2.2 ระดับรังสีปกติในธรรมชำติ ที่มนุษย์แต่ละคนได้รับใน 1 ปี
5 เกณฑ์สูงสุดที่อนุญำตให้บุคคลทั่วไปได้รับใน 1 ปี
20 เกณฑ์สูงสุดที่อนุญำตให้ผู้ปฏิบัติงำนทำงรังสีได้รับใน 1 ปี
500 เม็ดเลือดขำวลดลงเล็กน้อย
1000 มีอำกำรคลื่นเหียน และอ่อนเพลีย เม็ดเลือดขำวลดลง
3000
อ่อนเพลีย อำเจียน ท้องเสีย เม็ดเลือดขำวลดลง ผมร่วง เบื่ออำหำร
ตัวซีด คอแห้ง มีไข้อำยุสั้น อำจเสียชีวิตภำยใน 3-6 สัปดำห์
6000
อ่อนเพลีย อำเจียน ท้องร่วงภำยใน 1-2 ชั่วโมง เม็ดเลือดลดลงอย่ำง
รวดเร็ว ผมร่วง มีไข้อักเสบบริเวณปำกและลำคออย่ำงรุนแรง มี
เลือดออกมีโอกำสเสียชีวิตถึง 50% ภำยใน 2-6 สัปดำห์
10000
มีอำกำรเหมือนข้ำงต้น ผิวหนังพองบวม
ผมร่วง เสียชีวิตภำยใน 2-3 สัปดำห์
สัญลักษณ์สากล
บาดแผลจากการได้รับรังสี
ฟิ ล์มวัดรังสี
Radioactive
Waste
Radon
X-Rays
Consumer
Products
Nuclear
Power
Nuclear
Medicine
Solar Radiation
Cosmic Rays
Terrestrial
Radiation
Food &
Drink
Each
Other

a ++
RADIOACTIVE SOURCES
กากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสี
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
แบ่งเป็น 3 ระดับ
กากกัมมันตรังสีระดับสูง
กากกัมมันตรังสีระดับกลาง
กากกัมมันตรังสีระดับต่า
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีต่า
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับต่าและระดับกลาง
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับสูง
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
พลังงานนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์ (nuclear force) นิวตรอน
โปรตอน
แรงที่ยึดอนุภาคไว้ในอะตอม
ถ้ามีแรงที่กระทาแล้วทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียส เรียกว่า
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (nuclear reaction)
U-235
นิวเคลียสใหม่
การยิงอนุภาคมวนน้อยๆ เช่น นิวตรอน ไปยังอนุภาค
ที่มีเลขมวลมากๆ เช่น ยูเรเนียม จะทาให้นิวเคลียส
แยกตัวออกเป็นนิวเคลียสที่มีเลขมวลลดลง
ฟิชชัน (fission)
พลังงาน
170 MeV
2.7 x 10-12 J
อัลเบิร์ต ไอสไตน์ (Albert Eistein)
ปฏิกิริยาลูกโซ่ (chain reaction)
พลังงาน
พลังงาน
ฟิชชัน (fission)
ฟิชชัน (fission)
ระเบิดปรมาณู
Little boy
ระเบิดปรมาณู
Fat Man
ระเบิดปรมาณู
ระเบิดปรมาณู
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
แหล่งให้กาเนิดพลังงานไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วๆไปได้ความร้อนจากการเผา
ไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล ต่างๆ ภายนอกหม้อน้า เช่น
น้ามัน ถ่านหินหรือ ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
เกิดขึ้นหลังจาก เฟร์มี (Enrico Fermi) สามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่
ได้สาเร็จ โดยเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (nuclear reactor)
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
1 เครื่องปฏิกรณ์
2 เชื้อเพลิงนิวเคลียร์
4 เครื่องผลิตไอน้ำ
5ไอน้ำ
6 กังหันไอน้ำ
7 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ
ได้ความร้อนจากการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แตกตัวอย่างต่อเนื่อง(ปฏิกิริยา
ลูกโซ่) และสม่าเสมอของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ภายใต้การควบคุมภายในเครื่อง
ปฏิกรณ์ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
เรือตัดน้าแข็งพลังงานนิวเคลียร์
ข้อดีของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ใช้เชื้อเพลิงได้อย่ำงคุ้มค่ำกว่ำเมื่อเทียบกับประเภทอื่น โดยถ่ำนหิน
1 กก. ผลิตไฟฟ้ำได้3 หน่วย, ก๊ำซธรรมชำติ 1 กก. ผลิตไฟฟ้ำได้4 หน่วย แต่
ยูเรเนียมจำกโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ 1 กก. ผลิตไฟฟ้ำได้50,000 หน่วย ที่สำคัญ
ยังเป็นพลังงำนสะอำด, รำคำในระยะยำวจะไม่สูง และเพื่อนบ้ำนของไทย
เกือบทุกประเทศยังเดินหน้ำต่อเนื่อง
สานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูวิจัยในประเทศไทย
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลของสหภาพโซเวียต
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
โรงไฟฟ้าเชอร์โนบิลของสหภาพโซเวียต
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิดที่ญี่ปุ่น
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิม่า
ฟิวชัน (fusion) ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีมวลน้อยสองนิวเคลียส
รวมกันและปลดปล่อยพลังงานนิวเคลียร์ออกมา
26 MeV
4.2 x 10-12 J
ฟิ วชัน (fusion)
ฟิ วชัน (fusion)
ฟิ วชัน (fusion)
อุณหภูมิ 107 เคลวิน
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิ วชัน
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิ วชัน
ปัญหาที่สาคัญ คือ
- การควบคุมให้เกิดปฏิกิริยาฟิ วชันอย่างต่อเนื่อง
- แรงผลักของนิวเคลียสมีค่ามากเกินไป ต้องใช้อุณหภูมิสูงมาก

More Related Content

What's hot

เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
kkrunuch
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 
ลิพิด
ลิพิดลิพิด
ลิพิด
Piyanart Suebsanoh
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
Katewaree Yosyingyong
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
Siratcha Wongkom
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
Kan Pan
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
Preeyapat Lengrabam
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
NawatHongthongsakul
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Wichai Likitponrak
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ลิพิด
ลิพิดลิพิด
ลิพิด
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

พลังงาน