SlideShare a Scribd company logo
ชิ้นงานที่ 14 เรื่อง อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
หลักธรรม
ไตรลักษณ์ • อริยสัจ 4 • มรรค 8 • ปฏิจจสมุปบาท • มงคล 38
นิกาย
เถรวาท • มหายาน • วัชรยาน
สังคมศาสนาพุทธ
ปฏิทิน • บุคคล • วันสาคัญ • ศาสนสถาน
การจาริกแสวงบุญ
พุทธสังเวชนียสถาน •
การแสวงบุญในพุทธภูมิ
ดูเพิ่มเติม
อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความ
จริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ
1. ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลาย
ไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็
คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยาน
อยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ
ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง
4. มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความ
ดาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทาการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึก
ชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา"หรือทางสายกลาง
มรรคมีองค์แปดนี้สรุปลงในไตรสิกขา ได้ดังนี้ 1. อธิสีลสิกขา ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ 2. อธิจิตสิกขา ได้แก่ สัมมาวายามะ
สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ และ 3. อธิปัญญาสิกขา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ
อริยสัจ 4 นี้ เรียกสั้น ๆ ว่า ทุกข์สมุทัย นิโรธ และมรรค
กิจในอริยสัจ 4
กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทาต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่
1.ปริญญา - ทุกข์ควรรู้ คือการทาความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา
2.ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกาจัดสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ
3.สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทาให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย
4.ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนาไปสู่จุดหมายที่ไร้ปัญหา
กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ
กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้
1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า
1.นี่คือทุกข์
2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์
3.นี่คือความดับทุกข์
4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์
2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า
1.ทุกข์ควรรู้
2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ
3.ความดับทุกข์ควรทาให้ประจักษ์แจ้ง
4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น
3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทากิจที่ควรทาได้เสร็จสิ้นแล้ว
1.ทุกข์ได้กาหนดรู้แล้ว
2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว
3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว
4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
ชิ้นงานที่ 15 คาถามทบทวนอริยสัจ 4
คาถามทบทวน อริยส้จ 4
1.อริยสัจ 4 คืออะไร
ตอบ ความจริงอันประเสริฐ ความจิงของพระอริยะ หรือความจิงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
2.กิจในอริยสัจ 4 ที่ต้องทาได้แก่
ตอบ ปริญญา, ปหานะ, สัจฉิกิริยา, ภาวนา
3.กรรมนิกายคือ อะไร
ตอบ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์ หรือเรียก กฎแห่งกรรม
4.ความอยากได้ความทะเยอทะยาน ตรงกับอริยสัจ 4 ข้อใด
ตอบ สมุทัย
5. โภคอาทิยะ หมายถึงอะไร
ตอบ หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้
6.การคบคนดีเป็น มิตร ตรงกับ ความหมายใด
ตอบ การเลือกคบคนดี คนมีคุณธรรม และ มีความรู้
7. ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ มี 4 ประการคือ
ตอบ 1.อุฎฐานสัมปทา ความขยันหมั่นเพียร
2.อารักขาสัมปทา การเก็บรักษา
3.กัลยาณมิตร การคบคนดีเป็นมิตร
4.การดารงชีพที่เหมาะสมพอดี หรือตามกาลัง
8.อริยสัจ 4 หรือ จตุราริยสัจ เป็นคาสอนของใคร
ตอบ พระโคตมพุทธเจ้า
9.อปริหานิยธรรมแปลว่า อะไร
ตอบ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ธรรมที่ทาให้เกิดวามเจริญทั้ง ส่วนตนและส่วนรวม
10.การค้าขายที่ผิดกฎหมายผิดศีลธรรมเป็นธรรมที่ควรละ ข้อใด
ตอบ สมุทัย ( มิจฉาวณิชชา 5)

More Related Content

What's hot

อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
niralai
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาSuraphat Honark
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
Chalachon Presentation Studio
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
ต้นไม้ เดียวกัน
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
june_yenta4
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
Padvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
Padvee Academy
 

What's hot (20)

อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 

Viewers also liked

ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
niralai
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
Felipe Lopera Londoño
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
George Ly
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
El plato del bien comer
El plato del bien comerEl plato del bien comer
El plato del bien comer
Axel Balderas
 
ахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LSахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LS
MiriamEidel Zak
 
Spotlight on Innovation
Spotlight on InnovationSpotlight on Innovation
Spotlight on Innovation
Results for Development Institute
 
#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study
Six Inches Communication Pvt. Ltd.
 
Resume 2016
Resume 2016Resume 2016
Resume 2016
Louis A. Castro
 
DIEP
DIEPDIEP
International operations specialist
International operations specialistInternational operations specialist
International operations specialist
Louis A. Castro
 
Ахарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаАхарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группа
MiriamEidel Zak
 
Alexei_Plescan - updated
Alexei_Plescan - updatedAlexei_Plescan - updated
Alexei_Plescan - updated
Alexei Plescan
 
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prashant Kothari
 
Six inches digital creds 2016
Six inches digital creds 2016Six inches digital creds 2016
Six inches digital creds 2016
Six Inches Communication Pvt. Ltd.
 
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torresAprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
Luis Mauricio Esquivel Torres
 
vijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv newvijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselvaraj selvaraj
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
 
Final Paper 410
Final Paper 410Final Paper 410
Final Paper 410
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
Kan jeg klare det
Kan jeg klare detKan jeg klare det
Kan jeg klare det
 
El plato del bien comer
El plato del bien comerEl plato del bien comer
El plato del bien comer
 
ахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LSахарей мот- средняя группа LS
ахарей мот- средняя группа LS
 
Spotlight on Innovation
Spotlight on InnovationSpotlight on Innovation
Spotlight on Innovation
 
#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study
 
Resume 2016
Resume 2016Resume 2016
Resume 2016
 
DIEP
DIEPDIEP
DIEP
 
International operations specialist
International operations specialistInternational operations specialist
International operations specialist
 
Ахарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаАхарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группа
 
Alexei_Plescan - updated
Alexei_Plescan - updatedAlexei_Plescan - updated
Alexei_Plescan - updated
 
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
 
Six inches digital creds 2016
Six inches digital creds 2016Six inches digital creds 2016
Six inches digital creds 2016
 
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torresAprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
Aprendizajes autónomo y significativo luis mauricio esquivel torres
 
vijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv newvijayanandselnaraj_cv new
vijayanandselnaraj_cv new
 

Similar to อริยสัจ4

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
Sombat Nakasathien
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธการจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
Nopporn Thepsithar
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธOrraya Swager
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
Padvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to อริยสัจ4 (20)

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธการจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
การจัดการเรียนรู้วิถึพุทธ
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง (20)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 

Recently uploaded (6)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 

อริยสัจ4

  • 2. อริยสัจ 4 หลักธรรม ไตรลักษณ์ • อริยสัจ 4 • มรรค 8 • ปฏิจจสมุปบาท • มงคล 38 นิกาย เถรวาท • มหายาน • วัชรยาน สังคมศาสนาพุทธ ปฏิทิน • บุคคล • วันสาคัญ • ศาสนสถาน การจาริกแสวงบุญ พุทธสังเวชนียสถาน • การแสวงบุญในพุทธภูมิ ดูเพิ่มเติม อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ
  • 3. อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคาสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความ จริงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ 1. ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลาย ไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็ คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5 2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยาน อยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ 3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง 4. มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความ ดาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทาการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึก ชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา"หรือทางสายกลาง มรรคมีองค์แปดนี้สรุปลงในไตรสิกขา ได้ดังนี้ 1. อธิสีลสิกขา ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ 2. อธิจิตสิกขา ได้แก่ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ และ 3. อธิปัญญาสิกขา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ อริยสัจ 4 นี้ เรียกสั้น ๆ ว่า ทุกข์สมุทัย นิโรธ และมรรค
  • 4. กิจในอริยสัจ 4 กิจในอริยสัจ คือสิ่งที่ต้องทาต่ออริยสัจ 4 แต่ละข้อ ได้แก่ 1.ปริญญา - ทุกข์ควรรู้ คือการทาความเข้าใจปัญหาหรือสภาวะที่เป็นทุกข์อย่างตรงไปตรงมาตามความเป็นจริง เป็นการเผชิญหน้ากับปัญหา 2.ปหานะ - สมุทัย ควรละ คือการกาจัดสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ เป็นการแก้ปัญหาที่เหตุต้นตอ 3.สัจฉิกิริยา - นิโรธ ควรทาให้แจ้ง คือการเข้าถึงภาวะดับทุกข์ หมายถึงภาวะที่ไร้ปัญหาซึ่งเป็นจุดมุ่งหมาย 4.ภาวนา - มรรค ควรเจริญ คือการฝึกอบรมปฏิบัติตามทางเพื่อให้ถึงความดับแห่งทุกข์ หมายถึงวิธีการหรือทางที่จะนาไปสู่จุดหมายที่ไร้ปัญหา กิจทั้งสี่นี้จะต้องปฏิบัติให้ตรงกับมรรคแต่ละข้อให้ถูกต้อง การรู้จักกิจในอริยสัจนี้เรียกว่ากิจญาณ กิจญาณเป็นส่วนหนึ่งของญาณ 3 หรือญาณทัสสนะ (สัจญาณ, กิจญาณ, กตญาณ) ซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบ ญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ 12 ดังนี้ 1.สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า 1.นี่คือทุกข์ 2.นี่คือเหตุแห่งทุกข์ 3.นี่คือความดับทุกข์ 4.นี่คือทางแห่งความดับทุกข์ 2.กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า 1.ทุกข์ควรรู้ 2.เหตุแห่งทุกข์ควรละ 3.ความดับทุกข์ควรทาให้ประจักษ์แจ้ง 4.ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น 3.กตญาณ หยั่งรู้ว่าได้ทากิจที่ควรทาได้เสร็จสิ้นแล้ว 1.ทุกข์ได้กาหนดรู้แล้ว 2.เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว 3.ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว 4.ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว
  • 6. คาถามทบทวน อริยส้จ 4 1.อริยสัจ 4 คืออะไร ตอบ ความจริงอันประเสริฐ ความจิงของพระอริยะ หรือความจิงที่ทาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ 2.กิจในอริยสัจ 4 ที่ต้องทาได้แก่ ตอบ ปริญญา, ปหานะ, สัจฉิกิริยา, ภาวนา 3.กรรมนิกายคือ อะไร ตอบ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์ หรือเรียก กฎแห่งกรรม 4.ความอยากได้ความทะเยอทะยาน ตรงกับอริยสัจ 4 ข้อใด ตอบ สมุทัย 5. โภคอาทิยะ หมายถึงอะไร ตอบ หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้ 6.การคบคนดีเป็น มิตร ตรงกับ ความหมายใด ตอบ การเลือกคบคนดี คนมีคุณธรรม และ มีความรู้ 7. ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ มี 4 ประการคือ ตอบ 1.อุฎฐานสัมปทา ความขยันหมั่นเพียร 2.อารักขาสัมปทา การเก็บรักษา 3.กัลยาณมิตร การคบคนดีเป็นมิตร 4.การดารงชีพที่เหมาะสมพอดี หรือตามกาลัง 8.อริยสัจ 4 หรือ จตุราริยสัจ เป็นคาสอนของใคร ตอบ พระโคตมพุทธเจ้า 9.อปริหานิยธรรมแปลว่า อะไร ตอบ ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ธรรมที่ทาให้เกิดวามเจริญทั้ง ส่วนตนและส่วนรวม 10.การค้าขายที่ผิดกฎหมายผิดศีลธรรมเป็นธรรมที่ควรละ ข้อใด ตอบ สมุทัย ( มิจฉาวณิชชา 5)