SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ชิ้นงานที่ 10 เรื่องไตรสิกขา
•ไตรสิกขากับการดาเนินชีวิตของชาวพุทธ
โดย พระมหาจักรพันธ์ จกฺกวโร
ถ้า พูดถึงเรื่องไตรสิกขาแล้วชาวพุทธส่วนใหญ่รู้ว่ามันคืออะไรแต่ไม่รู้ว่าจะ ปฏิบัติอย่างไรให้ คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาแต่ไม่เข้าใจว่า พระพุทธศาสนาคือ
อะไร อะไรเป็นคาสอน อะไรเป็นหลักในการปฏิบัติ อะไรเป็นข้อห้าม หรืออาจมีผู้รู้อยู่แต่ก็เป็นส่วนน้อยที่จะเข้าใจว่าพระพุทธศาสนาสอนอะไรและ ต้องปฏิบัติอย่างไรถึงจะ
เข้าสู่ภาวะธรรมของพระพุทธเจ้า อันนี้ถือว่าเป็นประเด็นปัญหาที่พระสงฆ์ควรเร่งแก้ไข ซึ่งวันนี้จะเสนอแนวทางในการดาเนินชีวิตตามแบบฉบับไตรสิกขาถือว่าเป็นธรรมมะ
พื้นๆในการดาเนินชีวิตก็ว่าได้หากเราทุกคนขาดสิ่งเหล่านี้นั้นก็หมายความว่าธรรมข้ออื่นอย่าไปพูดถึงเลย
ศีลสิกขา
ใน ด้านของศีลสิกขาคือต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา ให้รักษาความเป็นปกติของความเป็นมนุษย์ผู้ซึ่งมีใจสูงหรือ อาจ
กล่าวได้ว่าในด้านนี้เป็นการพัฒนาในเรื่องของพฤติกรรม โดยมีส่วนสาคัญที่ควรเน้น คือ
พฤติกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ หรืออาจกล่าวว่าเป็นการรู้จักใช้อินทรีย์คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ในการรับรู้โดยไม่เกิดผลเสียหรือ
เกิดโทษ แต่ให้เกิดผลดี ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการฝึกอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน ให้ตาดูเป็น ให้หูฟังเป็น ฯ อยู่ในหลักของอินทรีย์สังวร นั่นเอง การ เสพ การ
บริโภคปัจจัย ๔ การใช้ประโยชน์จากวัตถุ จากอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเทคโนโลยีด้วย ปัญญาที่รู้เข้าใจมุ่งคุณค่าที่แท้จริง ให้ได้คุณภาพชีวิต ไม่หลงไปกับคุณค่าเทียมตาม
ค่านิยมที่ผิด ๆ อันเป็นค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้อโก้เก๋ ที่ทาให้บริโภคมาก แต่เสียคุณภาพชีวิต เรียกง่ายๆ ว่า กินเป็น บริโภคเป็น ใช้เป็น เริ่มด้วยการกินพอดี อันเป็นการปฏิบัติตามหลัก
ของ โภชเนมัตตัญญุตา
พฤติกรรม ที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและโลกแห่งชีวิต เช่น การอยู่ร่วมกันในทางสังคม โดยไม่เบียดเบียน ก่อความทุกข์ความเดือดร้อน หรือก่อเวรภัย แต่รู้จักมี
ความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนมนุษย์อย่างช่วยเหลือเกื้อกูล ดารงตนอยู่ในกรอบของศีล ตาเนินชีวิตตามหลักของศีลให้ ความร่วมมือกับการรักษากติกาของสังคม กฎเกณฑ์หรือ
กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน หรือวินัยแม่บทของชุมชนหรือสังคมของตนและวัฒนธรรม รวมทั้งสิ่งที่เรียกว่าจรรยาบรรณต่างๆ และรู้จักแบ่งปัน การเผื่อแผ่แบ่งปันช่วยเหลือ
ตามหลักของการให้ทาน เพื่อช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์ของเพื่อนมนุษย์ให้ความสุข และส่งเสริมการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงาม ตลอดจนการประพฤติเกื้อกูลแก่ชีวิตอื่นๆ
ทั้งสัตว์มนุษย์และพืชพันธุ์ เช่น การร่วมสร้างเขตอภัยทาน นิวาปสถาน การปลูกสวนป่า สร้างแหล่งต้นน้า
พฤติกรรม ที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การเลี้ยงชีพอย่างมีศิลปวิทยาในวิชาชีพที่ฝึกไว้อย่างดี มีความชานาญที่จะปฏิบัติให้ได้ผลดีและเป็นสัมมาอาชีพซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญ คือ
ไม่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือก่อผลเสียหายแก่สังคม หากแต่เป็นเครื่องแก้ปัญหาของชีวิตและแก้ปัญหาของสังคมมีชีวิตที่เป็นไปเพื่อสร้างสรรค์
ทาให้เกิดประโยชน์เกื้อกูล ที่เอื้อต่อการพัฒนาชีวิตของตน ไม่ทาให้ชีวิตตกต่า หรือทาลายคุณค่าของความเป็นมนุษย์หรือเสื่อมจากคุณความดีในภาวะแห่งตน
จิตสิกขา
ใน ด้านของจิตสิกขาคือศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้สงบตั้งมั่น เป็นสมาธิพร้อมที่จะทากิจหน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพ ในด้านการพัฒนาจิต หรือที่เรียกว่าสมาธิ แยกได้ดังนี้
ด้าน คุณภาพจิต ได้แก่คุณธรรมความดีงามต่างๆเช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวที คารวะ หิริโอตตัปปะ ฯ ซึ่งหล่อเลี้ยงจิตใจให้เจริญงอกงาม และเป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม
ด้าน สมรรถภาพจิต ได้แก่ความสามารถของจิต ที่เข้มแข็ง มั่นคงหรือความมีประสิทธิภาพของจิต เช่น มีฉันทะ ความใฝ่รู้ใฝ่ดีงามใฝ่กระทา จิตมีความเพียร ความขยัน ความอดทน มี
ความระลึกได้รู้ตัวทั่วพร้อมเท่าทัน ตื่นตัวอยู่เสมอ สามารถควบคุมตัวเองได้มีความตั้งมั่นแน่วแน่ ใส สงบ เป็นสมาธิ รวมไปถึงความไม่ประมาท ที่จะทาให้ก้าวหน้ามั่นคงใน
พฤติกรรมที่ดีงาม หรือตั้งมั่นในความดีงามและพร้อมที่จะใช้ปัญญาในการใช้ชีวิตและประกอบกิจ หน้าที่
ด้าน สุขภาพจิต ได้แก่สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัวเศร้าหมอง เร่าร้อน หากแต่มีความสดชื่นเอิบอิ่ม ร่าเริง เบิกบาน ผ่อนคลาย ผ่องใส เป็นสุข ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย และทา
ให้พฤติกรรมที่ดีงามมีความมั่นคงสอดคล้องกลมกลืน หรืออยู่ในภาวะที่สมดุล
ปัญญาสิกขา
ในด้านปัญญาสิกขาคือศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนาอยู่หลายระดับ เช่น
ความ รู้ความเข้าใจในสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมาหรือที่เล่าเรียนมาและรับการถ่ายทอดศิลปะวิทยาการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างถูกต้องตามเป็นจริง ไม่บิดเบือน หรืออคติด้วยความรัก ความชัง และเพราะความกลัว
การ คิดพินิจพิจารณาวินิจฉัยอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยการใช้ปัญญาที่บริสุทธิ์อิสระไม่ถูกกิเลส เช่น ความอยากได้ผลประโยชน์ และความเกลียดชังเข้าครอบงา
การ รู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุ
ปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป
การรู้จักจัดการ ดาเนินการ ทากิจให้สาเร็จ ฉลาดในวิธีการที่จะนาไปสู่จุดหมาย
มี ความสามารถในการแสวงหาเลือกคัดจัดสรรประมวลความรู้ คิดได้ชัดเจน และสามารถนาความรู้ที่มีอยู่มาเชื่อมโยมสร้างเป็นเครือข่ายความรู้และสร้างเป็นความรู้ความคิดใหม่
เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์
มี ความรู้แจ้งเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต รู้เท่าทันกับธรรมดา หรือกับธรรมชาติทั้งหลาย ที่ทาให้วางใจถูกต้องต่อทุกสิ่งทุกอย่าง สามารถแก้ปัญหาชีวิต ขจัดความทุกข์ในจิตใจ
ของตนเองได้หลุดพ้นจากความยึดติดในสิ่งทั้งหลาย จิตไม่ถูกบีบคั้นครอบงากระทบกระทั่งด้วยความผันผวนปรวนแปรของสิ่งต่างๆ หลุดพ้นเป็นอิสระ อยู่เหนือกระแสโลก
หากกล่าว โดยสรุปแล้ว ปัญญา ๒ ด้านที่สาคัญ คือปัญญาเข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติและปัญญาที่สามารถใช้ความรู้ นั้น จัดตั้งวางระบบแบบแผนของการ
ดาเนินชีวิตได้และสังคมของมนุษย์ได้ประโยชน์สูงสุดจากความจริงนั้น(พระธรรมปิฎก, ป.อ. ปยุตฺโต. ๒๕๓๙, หน้า ๑๒๑)
ตาม ที่ได้กล่าวมาแล้วเราจะเห็นได้ว่า หน้าที่โดยตรงของการศึกษานั้นเป็นตัวแก้ปัญหา ถ้าการศึกษาผิดพลาด กลายเป็นตัวก่อปัญหา เราก็ต้องมาแก้ไขปัญหาที่ตัวการศึกษา
เพื่อให้ได้การศึกษาที่ถูกต้อง ให้เป็นการศึกษาที่แท้จริงที่จะเป็นตัวแก้ปัญหา (พระธรรมปิฎก, ป.อ. ปยุตฺโต. ๒๕๔๒, หน้า ๔) ยิ่งตอนนี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้
มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่ง เป็นผู้จัดทาหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา เพื่อใช้สอนวิชาพระพุทธศาสนา ในหลักสูตรการศึกษาของชาติ และจัดเนื้อหาวิชา
พระพุทธศาสนาเข้าสอนบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (๘ กลุ่มวิชา) ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือจาก ประถมศึกษาปี่ที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เราเคยท้วงติงเขา
พอเอาเข้าจริงๆ เรามีความสามารถทาได้หรือไม่ งานนี้กาลังท้าทายมหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่ง อยู่ในขณะนี้
การ ให้การอบรม การสอน การเผยแผ่เป็นหน้าที่หลักของพระสงฆ์ที่สาคัญ ที่พระสงฆ์ปฏิบัติมาเป็นปกติอยู่แล้ว ทั้งที่เรียกว่าการเทศน์ แสดงธรรม หรือการปาฐกถาก็ตาม
ซึ่งประชาชนทั่วไปให้ความเคารพและสนใจที่จะฟังสาระที่พระสงฆ์เป็นผู้ให้อยู่ แล้ว และนับเป็นการศึกษาที่เข้าถึงประชาชนชาวบ้านได้อย่างกว้างขวาง ส่วนในเนื้อหา
สาระที่พระสงฆ์ให้แก่ประชาชนจะแตกต่างกันตามโอกาสและวาระต่างๆ แต่สิ่งที่เป็นธรรมะหรือคาสอนที่เป็นพระพุทธศาสนาที่นับได้ว่าเป็นสาระในพระ พุทธศาสนานั้น
เป็นเนื้อหาที่เป็นความจริงที่มีอยู่ที่เกิดขึ้นเป็นปกติ เพราะแท้ที่จริงแล้ว คาว่า "ธรรม"นั้นก็คือ "ธรรมชาติ" นั่นเอง (รศ.ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์. ๒๕๓๘, หน้า ๑๖๘)
บทบาท ด้านการเผยแผ่ที่เป็นปกติจนประชาชนมองเป็นวิถีชีวิตหรือเป็นกิจวัตรของพระ สงฆ์ ก็คือการแสดงธรรมในวันพระ ในเทศกาลวันสาคัญ พระสงฆ์ได้โอกาสในการ
แสดงธรรมการเผยแผ่ธรรมอยู่เป็นปกติ และในรูปแบบที่ไม่เป็นรูปแบบ กล่าวคืออาจจะใช้วิธีการพูดคุยสนทนาในโอกาสพบปะ จะเป็นการเผยแผ่โดยไม่เป็นกิจลักษณะ แต่
ก็แฝงด้วยให้ข้อคิดทางธรรม หรือในโอกาสที่ประชาชนมาทาบุญวันเกิดแล้วขอพรจากพระสงฆ์ มาถวายสังฆทานแล้วพระสงฆ์ก็ให้พร ในช่วงเวลาสั้นๆ เป็นการสอนโดยที่
ผู้รับไม่รู้ว่าถูกสอน แต่ได้ซึมซับเอาคาสอน เอาคติธรรม ได้เกิดการเรียนรู้พระธรรมคาสอน หากพระสงฆ์สานึกตระหนักในบทบาทเหล่านี้อย่างจริงจัง พระสงฆ์จะมีโอกาส
ในการเผยแผ่ธรรมและได้เข้าถึงประชาชนโดยไม่ยากเลย และไม่ต้องรอเทศกาลสาคัญใดๆ ทั้งสิ้น ในความเห็นส่วนตัวแล้วรูปแบบโอกาสใดไม่สาคัญ แต่ประเด็นสาคัญอยู่
ที่ผู้ฟังเกิดการเรียนรู้ (Learning) จุดที่ต้องการคือให้ผู้ฟังได้เกิดการเรียนรู้จะให้ใครเป็นศูนย์กลางก็แล้วแต่อยากจะกล่าวด้วยว่าขอให้การเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง (Learning
Center) อัน เป็นจุดที่ต้องการให้เกิดกับผู้ฟัง ที่จะเป็นจุดเปลี่ยนแห่งพฤติกรรมของคน ว่าจะเปลี่ยนไปในทิศทางใด ให้เขาเรียนรู้ในด้านใด อันเป็นการกาหนดทิศทางในการ
ดาเนินชีวิตของตัวเอง
ชิ้นงานที่ 11 เรื่องคาถามทบทวนไตรสิกขา
คาถามทบทวน
1.ศีลสิกขา คืออะไร
ตอบ ต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา
2. จิตสิกขา คืออะไร
ตอบ ศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้สงบตั้งมั่น
3.สมาธิแยกได้เป็นกี่ด้าน
ตอบ 1.ด้าน คุณภาพจิต
2.ด้านสมรรถภาพจิต
3.ด้านสุขภาพจิต
4. ปัญญาสิกขาคืออะไร
ตอบ ศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนา
5. ปัญญามี 2 ด้าน คือ
ตอบ 1. ปัญญาเข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติ
2. ปัญญาที่สามารถใช้ความรู้
6. การ รู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุ
ปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป เรียกว่า
ตอบ ปัญญาสิกขา
7. พฤติกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ ตรงกับศีลข้อใด
ตอบ ศีลสิกขา
8. การฝึกอบรมในด้าน ปัญญาในหลักธรรมเรื่องไตรสิกขาหมายถึงข้อได
ตอบ ปัญญาสิกขา
9. ไตรสิกขา คือ
ตอบ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา
10.หลักธรรมที่เป็นหลักการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคืออะไร
ตอบ ไตรสิกขา
.

More Related Content

What's hot

ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Pramook Boothsamarn
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Min Chatchadaporn
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมPorna Saow
 

What's hot (20)

Knowledge Capture Technique
Knowledge Capture TechniqueKnowledge Capture Technique
Knowledge Capture Technique
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 

Viewers also liked

Ахарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаАхарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаMiriamEidel Zak
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
¿Por qué conservar el derecho?
¿Por qué conservar el derecho?¿Por qué conservar el derecho?
¿Por qué conservar el derecho?Moisés Ramírez
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Prashant Kothari
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitosoFelipe Lopera Londoño
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisGo Markets
 
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...Jonathan Kanevsky, MD, FRCSC
 
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16Prashant Kothari
 
Kirt A Pummell Training & Certification
Kirt A Pummell Training & CertificationKirt A Pummell Training & Certification
Kirt A Pummell Training & CertificationKirt Pummell
 

Viewers also liked (20)

Factores productivos de la economia
Factores productivos de la economiaFactores productivos de la economia
Factores productivos de la economia
 
Ахарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группаАхарей мот- подготовительная группа
Ахарей мот- подготовительная группа
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
Новинки літератури
Новинки літературиНовинки літератури
Новинки літератури
 
¿Por qué conservar el derecho?
¿Por qué conservar el derecho?¿Por qué conservar el derecho?
¿Por qué conservar el derecho?
 
SRIDHARAN
SRIDHARANSRIDHARAN
SRIDHARAN
 
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
Iimpact 2016 deep v9.9.9_apr_07
 
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
10 claves para ser un estudiante virtual exitoso
 
Taller 3
Taller 3Taller 3
Taller 3
 
#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study#EngraveYourLove Case Study
#EngraveYourLove Case Study
 
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
Propranolol_versus_Corticosteroids_in_the.27
 
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD AnalysisWhere is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
Where is the Aussie Dollar Headed in 2016 - Our AUDUSD Analysis
 
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...
The differing perceptions of plastic surgery between potential applicants and...
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Masterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versieMasterthesis uiteindelijke versie
Masterthesis uiteindelijke versie
 
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16Prof Anil Gupta, IIMPACT16
Prof Anil Gupta, IIMPACT16
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
Kirt A Pummell Training & Certification
Kirt A Pummell Training & CertificationKirt A Pummell Training & Certification
Kirt A Pummell Training & Certification
 

Similar to ไตรสิกขา

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารบทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารathiwatpc
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 

Similar to ไตรสิกขา (20)

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารบทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 

More from ศศิพร แซ่เฮ้ง (17)

Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไรIsหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
Isหรือisisคืออะไรจะแก้ไขอย่างไร
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3กฏแห่งกรรม3
กฏแห่งกรรม3
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
สรุป.Ppt
สรุป.Pptสรุป.Ppt
สรุป.Ppt
 
Clip.ppt
Clip.pptClip.ppt
Clip.ppt
 
คลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรมคลิปกฏแห่งกรรม
คลิปกฏแห่งกรรม
 

ไตรสิกขา

  • 2. •ไตรสิกขากับการดาเนินชีวิตของชาวพุทธ โดย พระมหาจักรพันธ์ จกฺกวโร ถ้า พูดถึงเรื่องไตรสิกขาแล้วชาวพุทธส่วนใหญ่รู้ว่ามันคืออะไรแต่ไม่รู้ว่าจะ ปฏิบัติอย่างไรให้ คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาแต่ไม่เข้าใจว่า พระพุทธศาสนาคือ อะไร อะไรเป็นคาสอน อะไรเป็นหลักในการปฏิบัติ อะไรเป็นข้อห้าม หรืออาจมีผู้รู้อยู่แต่ก็เป็นส่วนน้อยที่จะเข้าใจว่าพระพุทธศาสนาสอนอะไรและ ต้องปฏิบัติอย่างไรถึงจะ เข้าสู่ภาวะธรรมของพระพุทธเจ้า อันนี้ถือว่าเป็นประเด็นปัญหาที่พระสงฆ์ควรเร่งแก้ไข ซึ่งวันนี้จะเสนอแนวทางในการดาเนินชีวิตตามแบบฉบับไตรสิกขาถือว่าเป็นธรรมมะ พื้นๆในการดาเนินชีวิตก็ว่าได้หากเราทุกคนขาดสิ่งเหล่านี้นั้นก็หมายความว่าธรรมข้ออื่นอย่าไปพูดถึงเลย ศีลสิกขา ใน ด้านของศีลสิกขาคือต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา ให้รักษาความเป็นปกติของความเป็นมนุษย์ผู้ซึ่งมีใจสูงหรือ อาจ กล่าวได้ว่าในด้านนี้เป็นการพัฒนาในเรื่องของพฤติกรรม โดยมีส่วนสาคัญที่ควรเน้น คือ พฤติกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ หรืออาจกล่าวว่าเป็นการรู้จักใช้อินทรีย์คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ในการรับรู้โดยไม่เกิดผลเสียหรือ เกิดโทษ แต่ให้เกิดผลดี ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการฝึกอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน ให้ตาดูเป็น ให้หูฟังเป็น ฯ อยู่ในหลักของอินทรีย์สังวร นั่นเอง การ เสพ การ บริโภคปัจจัย ๔ การใช้ประโยชน์จากวัตถุ จากอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเทคโนโลยีด้วย ปัญญาที่รู้เข้าใจมุ่งคุณค่าที่แท้จริง ให้ได้คุณภาพชีวิต ไม่หลงไปกับคุณค่าเทียมตาม ค่านิยมที่ผิด ๆ อันเป็นค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้อโก้เก๋ ที่ทาให้บริโภคมาก แต่เสียคุณภาพชีวิต เรียกง่ายๆ ว่า กินเป็น บริโภคเป็น ใช้เป็น เริ่มด้วยการกินพอดี อันเป็นการปฏิบัติตามหลัก ของ โภชเนมัตตัญญุตา พฤติกรรม ที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและโลกแห่งชีวิต เช่น การอยู่ร่วมกันในทางสังคม โดยไม่เบียดเบียน ก่อความทุกข์ความเดือดร้อน หรือก่อเวรภัย แต่รู้จักมี ความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนมนุษย์อย่างช่วยเหลือเกื้อกูล ดารงตนอยู่ในกรอบของศีล ตาเนินชีวิตตามหลักของศีลให้ ความร่วมมือกับการรักษากติกาของสังคม กฎเกณฑ์หรือ กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน หรือวินัยแม่บทของชุมชนหรือสังคมของตนและวัฒนธรรม รวมทั้งสิ่งที่เรียกว่าจรรยาบรรณต่างๆ และรู้จักแบ่งปัน การเผื่อแผ่แบ่งปันช่วยเหลือ ตามหลักของการให้ทาน เพื่อช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์ของเพื่อนมนุษย์ให้ความสุข และส่งเสริมการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงาม ตลอดจนการประพฤติเกื้อกูลแก่ชีวิตอื่นๆ ทั้งสัตว์มนุษย์และพืชพันธุ์ เช่น การร่วมสร้างเขตอภัยทาน นิวาปสถาน การปลูกสวนป่า สร้างแหล่งต้นน้า
  • 3. พฤติกรรม ที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การเลี้ยงชีพอย่างมีศิลปวิทยาในวิชาชีพที่ฝึกไว้อย่างดี มีความชานาญที่จะปฏิบัติให้ได้ผลดีและเป็นสัมมาอาชีพซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญ คือ ไม่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือก่อผลเสียหายแก่สังคม หากแต่เป็นเครื่องแก้ปัญหาของชีวิตและแก้ปัญหาของสังคมมีชีวิตที่เป็นไปเพื่อสร้างสรรค์ ทาให้เกิดประโยชน์เกื้อกูล ที่เอื้อต่อการพัฒนาชีวิตของตน ไม่ทาให้ชีวิตตกต่า หรือทาลายคุณค่าของความเป็นมนุษย์หรือเสื่อมจากคุณความดีในภาวะแห่งตน จิตสิกขา ใน ด้านของจิตสิกขาคือศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้สงบตั้งมั่น เป็นสมาธิพร้อมที่จะทากิจหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ ในด้านการพัฒนาจิต หรือที่เรียกว่าสมาธิ แยกได้ดังนี้ ด้าน คุณภาพจิต ได้แก่คุณธรรมความดีงามต่างๆเช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวที คารวะ หิริโอตตัปปะ ฯ ซึ่งหล่อเลี้ยงจิตใจให้เจริญงอกงาม และเป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม ด้าน สมรรถภาพจิต ได้แก่ความสามารถของจิต ที่เข้มแข็ง มั่นคงหรือความมีประสิทธิภาพของจิต เช่น มีฉันทะ ความใฝ่รู้ใฝ่ดีงามใฝ่กระทา จิตมีความเพียร ความขยัน ความอดทน มี ความระลึกได้รู้ตัวทั่วพร้อมเท่าทัน ตื่นตัวอยู่เสมอ สามารถควบคุมตัวเองได้มีความตั้งมั่นแน่วแน่ ใส สงบ เป็นสมาธิ รวมไปถึงความไม่ประมาท ที่จะทาให้ก้าวหน้ามั่นคงใน พฤติกรรมที่ดีงาม หรือตั้งมั่นในความดีงามและพร้อมที่จะใช้ปัญญาในการใช้ชีวิตและประกอบกิจ หน้าที่ ด้าน สุขภาพจิต ได้แก่สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัวเศร้าหมอง เร่าร้อน หากแต่มีความสดชื่นเอิบอิ่ม ร่าเริง เบิกบาน ผ่อนคลาย ผ่องใส เป็นสุข ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย และทา ให้พฤติกรรมที่ดีงามมีความมั่นคงสอดคล้องกลมกลืน หรืออยู่ในภาวะที่สมดุล ปัญญาสิกขา ในด้านปัญญาสิกขาคือศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนาอยู่หลายระดับ เช่น ความ รู้ความเข้าใจในสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมาหรือที่เล่าเรียนมาและรับการถ่ายทอดศิลปะวิทยาการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างถูกต้องตามเป็นจริง ไม่บิดเบือน หรืออคติด้วยความรัก ความชัง และเพราะความกลัว การ คิดพินิจพิจารณาวินิจฉัยอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยการใช้ปัญญาที่บริสุทธิ์อิสระไม่ถูกกิเลส เช่น ความอยากได้ผลประโยชน์ และความเกลียดชังเข้าครอบงา การ รู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุ ปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป การรู้จักจัดการ ดาเนินการ ทากิจให้สาเร็จ ฉลาดในวิธีการที่จะนาไปสู่จุดหมาย มี ความสามารถในการแสวงหาเลือกคัดจัดสรรประมวลความรู้ คิดได้ชัดเจน และสามารถนาความรู้ที่มีอยู่มาเชื่อมโยมสร้างเป็นเครือข่ายความรู้และสร้างเป็นความรู้ความคิดใหม่ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ มี ความรู้แจ้งเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต รู้เท่าทันกับธรรมดา หรือกับธรรมชาติทั้งหลาย ที่ทาให้วางใจถูกต้องต่อทุกสิ่งทุกอย่าง สามารถแก้ปัญหาชีวิต ขจัดความทุกข์ในจิตใจ ของตนเองได้หลุดพ้นจากความยึดติดในสิ่งทั้งหลาย จิตไม่ถูกบีบคั้นครอบงากระทบกระทั่งด้วยความผันผวนปรวนแปรของสิ่งต่างๆ หลุดพ้นเป็นอิสระ อยู่เหนือกระแสโลก
  • 4. หากกล่าว โดยสรุปแล้ว ปัญญา ๒ ด้านที่สาคัญ คือปัญญาเข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติและปัญญาที่สามารถใช้ความรู้ นั้น จัดตั้งวางระบบแบบแผนของการ ดาเนินชีวิตได้และสังคมของมนุษย์ได้ประโยชน์สูงสุดจากความจริงนั้น(พระธรรมปิฎก, ป.อ. ปยุตฺโต. ๒๕๓๙, หน้า ๑๒๑) ตาม ที่ได้กล่าวมาแล้วเราจะเห็นได้ว่า หน้าที่โดยตรงของการศึกษานั้นเป็นตัวแก้ปัญหา ถ้าการศึกษาผิดพลาด กลายเป็นตัวก่อปัญหา เราก็ต้องมาแก้ไขปัญหาที่ตัวการศึกษา เพื่อให้ได้การศึกษาที่ถูกต้อง ให้เป็นการศึกษาที่แท้จริงที่จะเป็นตัวแก้ปัญหา (พระธรรมปิฎก, ป.อ. ปยุตฺโต. ๒๕๔๒, หน้า ๔) ยิ่งตอนนี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้ มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่ง เป็นผู้จัดทาหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา เพื่อใช้สอนวิชาพระพุทธศาสนา ในหลักสูตรการศึกษาของชาติ และจัดเนื้อหาวิชา พระพุทธศาสนาเข้าสอนบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (๘ กลุ่มวิชา) ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือจาก ประถมศึกษาปี่ที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เราเคยท้วงติงเขา พอเอาเข้าจริงๆ เรามีความสามารถทาได้หรือไม่ งานนี้กาลังท้าทายมหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่ง อยู่ในขณะนี้ การ ให้การอบรม การสอน การเผยแผ่เป็นหน้าที่หลักของพระสงฆ์ที่สาคัญ ที่พระสงฆ์ปฏิบัติมาเป็นปกติอยู่แล้ว ทั้งที่เรียกว่าการเทศน์ แสดงธรรม หรือการปาฐกถาก็ตาม ซึ่งประชาชนทั่วไปให้ความเคารพและสนใจที่จะฟังสาระที่พระสงฆ์เป็นผู้ให้อยู่ แล้ว และนับเป็นการศึกษาที่เข้าถึงประชาชนชาวบ้านได้อย่างกว้างขวาง ส่วนในเนื้อหา สาระที่พระสงฆ์ให้แก่ประชาชนจะแตกต่างกันตามโอกาสและวาระต่างๆ แต่สิ่งที่เป็นธรรมะหรือคาสอนที่เป็นพระพุทธศาสนาที่นับได้ว่าเป็นสาระในพระ พุทธศาสนานั้น เป็นเนื้อหาที่เป็นความจริงที่มีอยู่ที่เกิดขึ้นเป็นปกติ เพราะแท้ที่จริงแล้ว คาว่า "ธรรม"นั้นก็คือ "ธรรมชาติ" นั่นเอง (รศ.ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์. ๒๕๓๘, หน้า ๑๖๘) บทบาท ด้านการเผยแผ่ที่เป็นปกติจนประชาชนมองเป็นวิถีชีวิตหรือเป็นกิจวัตรของพระ สงฆ์ ก็คือการแสดงธรรมในวันพระ ในเทศกาลวันสาคัญ พระสงฆ์ได้โอกาสในการ แสดงธรรมการเผยแผ่ธรรมอยู่เป็นปกติ และในรูปแบบที่ไม่เป็นรูปแบบ กล่าวคืออาจจะใช้วิธีการพูดคุยสนทนาในโอกาสพบปะ จะเป็นการเผยแผ่โดยไม่เป็นกิจลักษณะ แต่ ก็แฝงด้วยให้ข้อคิดทางธรรม หรือในโอกาสที่ประชาชนมาทาบุญวันเกิดแล้วขอพรจากพระสงฆ์ มาถวายสังฆทานแล้วพระสงฆ์ก็ให้พร ในช่วงเวลาสั้นๆ เป็นการสอนโดยที่ ผู้รับไม่รู้ว่าถูกสอน แต่ได้ซึมซับเอาคาสอน เอาคติธรรม ได้เกิดการเรียนรู้พระธรรมคาสอน หากพระสงฆ์สานึกตระหนักในบทบาทเหล่านี้อย่างจริงจัง พระสงฆ์จะมีโอกาส ในการเผยแผ่ธรรมและได้เข้าถึงประชาชนโดยไม่ยากเลย และไม่ต้องรอเทศกาลสาคัญใดๆ ทั้งสิ้น ในความเห็นส่วนตัวแล้วรูปแบบโอกาสใดไม่สาคัญ แต่ประเด็นสาคัญอยู่ ที่ผู้ฟังเกิดการเรียนรู้ (Learning) จุดที่ต้องการคือให้ผู้ฟังได้เกิดการเรียนรู้จะให้ใครเป็นศูนย์กลางก็แล้วแต่อยากจะกล่าวด้วยว่าขอให้การเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง (Learning Center) อัน เป็นจุดที่ต้องการให้เกิดกับผู้ฟัง ที่จะเป็นจุดเปลี่ยนแห่งพฤติกรรมของคน ว่าจะเปลี่ยนไปในทิศทางใด ให้เขาเรียนรู้ในด้านใด อันเป็นการกาหนดทิศทางในการ ดาเนินชีวิตของตัวเอง
  • 6. คาถามทบทวน 1.ศีลสิกขา คืออะไร ตอบ ต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา 2. จิตสิกขา คืออะไร ตอบ ศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้สงบตั้งมั่น 3.สมาธิแยกได้เป็นกี่ด้าน ตอบ 1.ด้าน คุณภาพจิต 2.ด้านสมรรถภาพจิต 3.ด้านสุขภาพจิต 4. ปัญญาสิกขาคืออะไร ตอบ ศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนา 5. ปัญญามี 2 ด้าน คือ ตอบ 1. ปัญญาเข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติ 2. ปัญญาที่สามารถใช้ความรู้ 6. การ รู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุ ปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป เรียกว่า ตอบ ปัญญาสิกขา 7. พฤติกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ ตรงกับศีลข้อใด ตอบ ศีลสิกขา 8. การฝึกอบรมในด้าน ปัญญาในหลักธรรมเรื่องไตรสิกขาหมายถึงข้อได ตอบ ปัญญาสิกขา 9. ไตรสิกขา คือ ตอบ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา 10.หลักธรรมที่เป็นหลักการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคืออะไร ตอบ ไตรสิกขา .