SlideShare a Scribd company logo
บทเรียนสำำเร็จรูป
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
เรื่อง อริยสัจ 4 สำำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5
โรงเรียนศรีปทุมพิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี
โดย
นำงวัฒนำ หำสุข
ครูชำำนำญกำร
โรงเรียนศรีปทุมพิทยำคำร
อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี
สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำอุบลรำชธำนี เขต 1
คำำนำำ
บทเรียนสำำเร็จรูปกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และ
วัฒนธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 สำำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียน
ศรีปทุมพิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี ฉบับนี้จัดทำำขึ้นเพื่อ
ใช้เป็นนวัตกรรมประกอบกำรวิจัยกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ
และวัฒนธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียนศรีปทุม
พิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี สำำนักงำนเขตพื้นที่กำร
ศึกษำอุบลรำชธำนี เขต 1
วัฒนำ หำ
สุข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำำแนะนำำกำรใช้บทเรียนสำำเร็จรูป.................................................................................. 1
ะสงค์กำรเรียนรู้.....................................................................................................
อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)......................................................................................... 3
แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”……………………… 4
แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”……………….……… 13
เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”…………………………… 15
ริยสัจ 4 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ).................................................................................... 16
แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……..……………… 17
แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……….….………… 23
เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……..………….……….. 25
ริยสัจ 4 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)................................................................................ 26
แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………….. 27
แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………….. 31
เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………………. 33
ริยสัจ 4 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)................................................................................ 34
แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………………... 35
แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………………... 39
เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………..…………… 41
คำำแนะนำำกำรใช้บทเรียนสำำเร็จรูป
บทเรียนสำำเร็จรูปเล่มนี้ เป็นบทเรียนที่นักเรียนสำมำรถศึกษำด้วยควำมสำมำรถของ
นักเรียนเอง ให้นักเรียนอ่ำนคำำแนะนำำ และปฏิบัติตำมคำำแนะนำำเป็นขั้นตอนไปจนจบบทเรียน
แล้วนักเรียนจะเข้ำใจในหลักธรรม เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 ได้เป็นอย่ำงดีโดย
ให้นักเรียนปฏิบัติตำมขั้นตอนต่อไปนี้
1. ก่อนศึกษำบทเรียนเล่มนี้ นักเรียนควรทรำบก่อนว่ำ ตนเองมีควำมรู้เกี่ยวกับ
เรื่องที่เรียนมำกน้อยเพียงใด โดยกำรทำำแบบทดสอบก่อนเรียน นักเรียนยังไม่เคยเรียนใน
เนื้อหำนี้มำก่อน นักเรียนจึงไม่ต้องกังวลว่ำจะทำำผิด
2. นักเรียนจงซื่อสัตย์ต่อตนเองเป็นอย่ำงมำก โดยที่นักเรียนไม่เปิดดูคำำตอบก่อนที่
นักเรียนจะตอบคำำถำมในกรอบนั้นๆให้สมบูรณ์เสียก่อน
3. บทเรียนนี้จะมีประโยชน์อย่ำงมำก ถ้ำนักเรียนมีควำมซื่อสัตย์ต่อตนเองและก่อน
ที่จะตอบคำำถำมในแต่ละกรอบ นักเรียนควรคิดให้รอบคอบเสียก่อนที่จะตอบคำำถำม
4. บทเรียนนี้แบ่งเนื้อหำออกเป็นส่วนย่อยๆ เป็นตอนๆ ซึ่งเรียกว่ำกรอบให้นักเรียน
ศึกษำไปทีละกรอบเรียงตำมลำำดับ อย่ำศึกษำข้ำมกรอบ เพรำะจะทำำให้เกิดควำมสับสนและไม่
เข้ำใจเนื้อเรื่องที่อธิบำยไว้ โดยเริ่มศึกษำจำกกรอบที่ 1,2,3 ไปจนจบบทเรียน
5. เนื้อหำแต่ละกรอบจะมีคำำถำมให้นักเรียนได้ตอบง่ำยๆ เพื่อเป็นกำรทบทวนควำม
เข้ำใจ วิธีตอบคำำถำมให้นักเรียนเขียนคำำตอบที่ถูกต้องลงในกระดำษเขียนคำำตอบ แล้วตรวจ
คำำตอบจำกคำำเฉลยที่ให้ไว้ในกรอบควำมรู้ต่อไป
6. ถ้ำนักเรียนตอบถูกต้อง แสดงว่ำนักเรียนศึกษำเนื้อหำในบทเรียนเข้ำใจดีแล้ว
ให้นักเรียนค่อยๆศึกษำเนื้อหำในกรอบควำมรู้ต่อไปเรื่อยๆ จนจบ
7. ถ้ำนักเรียนตอบคำำถำมผิด ขอให้นักเรียนพลิกบทเรียนย้อนกลับไปศึกษำกรอบที่
ผ่ำนมำให้เข้ำใจอีกครั้งหนึ่ง แล้วตอบคำำถำมใหม่จนตอบถูกต้อง จึงศึกษำกรอบต่อไป
8. หลังจำกศึกษำบทเรียนในแต่ละกรอบที่กำำหนดให้จบแล้ว ให้นักเรียนทำำแบบ
ทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินควำมรู้ของตนเองอีกครั้งหนึ่ง
9. ถ้ำนักเรียนได้คะแนนตำ่ำกว่ำร้อยละ 80 ให้นักเรียนศึกษำบทเรียนนี้ซำ้ำอีก
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
- นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมหมำยของ
อริยสัจ 4 ได้
- นักเรียนสำมำรถจำำแนกองค์ประกอบของ
อริยสัจ 4 ได้
- นักเรียนสำมำรถบอกหลักธรรมที่
เกี่ยวข้องกับอริยสัจ 4ได้
อริยสัจ 4
ทุกข์
( ธรรมที่ควรรู้ )
แบบทดสอบก่อนเรียน
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
อริยสัจ 4
“ทุกข์”
คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที
2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูกต้องที่สุด
ลงในกระดำษคำำตอบ
3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือควำมหมำยของ “ อริยสัจ ”
ก. สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งกำรทำำบุญ
ข. รำกเหง้ำแห่งควำมดี
ค. ธรรมที่เป็นสัตบุสุมำ
ง. ควำมจริงอันประเสริฐ
2. ข้อใดคือองค์ประกอบของ “อริยสัจ”
ก. ขันติ
ข. วิริยะ
ค. ทุกข์
ง. อุตสำหะ
3. ข้อใดจัดเป็น “ ทุกข์ประจำำ ”
ก. ควำมเศร้ำโศรก
ข. ควำมคับแค้นใจ
ค . ควำมโทมนัส
ง. ควำมแก่
4.คำำว่ำ “ ทุกข์ ” ในอริยสัจ จัดเป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเสริม
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ หมำยถึงข้อใด
ก. ควำมไม่สบำยใจไม่สบำยกำย
ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์
ค. ควำมจริงดับทุกข์
ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับทุกข์
6. “ ทุกข์ ” จำำแนกออกเป็นกี่ประเภท
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
ข้อใดจัดว่ำเป็น ธรรมที่ควรละ
ก. ขันธ์ 5
ข. โลกธรรม 8
ค. มิจฉำนิชชำ 5
ง. มงคล 38
8. เพรำะเหตุใด “ ตัณหำ ” จึงจัดว่ำเป็นสำเหตุ
ให้เกิดทุกข์
ก. เพรำะเป็นปัจจัยให้จิตใจเศร้ำหมอง
ข. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมเสียใจ
ค. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมยึดมั่นคือมั่น
ในตัวเอง
ง. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมไม่เที่ยงแท้
แน่นอน
9. ทุกข์ประจำำ ที่มีแก่ทุกคนตำมธรรมชำติ มีกี่
ประกำร
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
10. “ ทุกข์จร ” มีกี่ประกำร
ก. 2
ข. 4
ค. 6
ง. 8
สวัสดีคะนักเรียนที่น่ำรักทุกๆคน วันนี้ครู
จะพำพวกเรำมำ
รู้จักกับหลักธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของ
พระพุทธศำสนำ และเป็น
ศำสนำประจำำชำติไทยของเรำ  
ธรรมะ คือ คำำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำ มีคุณค่ำอยู่หลำย
ประกำร เช่น
เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้ำตรัสไว้ดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึง
เห็นได้เอง
ไม่ขึ้นอยู่กับกำลเวลำ ควรเรียกให้มำดูควรนำำมำประพฤติ
ปฏิบัติ และ
เป็นธรรมวิญญูชน จะพึงรู้ได้เฉพำะตน นักเรียนคงพร้อมที่
จะศึกษำรำย
ละเอียดของธรรมที่ว่ำนี้แล้วนะคะ
ก่อนศึกษำหน้ำต่อไป นักเรียนอย่ำลืมทำำ แบบทดสอบก่อนเรียนกันก่อน
อริยสัจ คือ ควำมจริงอันประเสริฐ หรือควำม
จริงของอริยบุคคล
เพรำะผู้ใดรู้อริยสัจด้วยปัญญำ ผู้นั้นถือเป็นผู้
ประเสริฐทันที
อริยสัจเป็นหัวใจของพระพุทธศำสนำ คำำสอน
ของพระพุทธองค์
ทั้งหมดจะสรุปไว้ในอริยสัจได้ทั้งนั้น อริยสัจ
ประกอบด้วยองค์ 4 ดังนี้
1. ทุกข์ 2. สมุทัย
3. นิโรธ 4. มรรคนักเรียนคงจะทรำบ
ควำมหมำยและองค์
ประกอบของอริยสัจ
แล้วนะค่ะ
คำำถำม อริยสัจหมำยถึงอะไร
คำำ
ตอบ .............................................
.............................................
คำำถำม ธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของพระพุทธ
คำำถำม อริยสัจหมำยถึงอะไร
คำำตอบ ควำมจริงอันประเสริฐ หรือควำมจริงของอริยบุคคล
คำำถำม ธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของพระพุทธศำสนำเรียกว่ำอย่ำงไร
คำำตอบ อริยสัจ
ธรรมที่ควรรู้ เรื่อง ขันธ์ 5 และ
โลกธรรม8 นักเรียนจะได้ศึกษำ
ในชั่วโมงหน้ำต่อไปนะค่ะ
ควรรู้ )
มไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ได้แก่ ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ ควำมทุกข์นี้ แม้ว่ำบำงกรณีจะข
หม่ได้อีกเสมอ ดังนั้น เรำจึงต้องไม่ประมำท และพร้อมที่จะเผชิญหน้ำกับควำมจริงข้อนี้ ดังนั้น
วรรู้นั้นมีมำกมำย เช่น หลักธรรม “ ขันธ์ 5 ” และโลกธรรม 8
คำำถำม “ ทุกข์ ” หมำยถึงอะไร
คำำตอบ
.......................................................................................
คำำถำม ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คืออะไร
คำำตอบ .........................................................................
คำำถำม “ ทุกข์ ” หมำยถึงอะไร
คำำตอบ “ ทุกข์ ” หมำยถึง ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ
คำำถำม ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คืออะไร
คำำตอบ ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ ขันธ์ 5 และ โลกย
ธรรม 8
เพราะเหตุนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระองค์จึงตรัสว่า “ ความเกิดก็เป็น
ทุกข์ ” นะค่ะนักเรียน
นกเป็น 3 ประเภท คือ
า ได้แก่ ทุกข์ที่มีแก่ทุกคนตามธรรมชาติ มี 4 ประการ คือ
ได้แก่ความทุกข์ของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์กระทั่งคลอด แม้ทารกจะบอก
ป็นทุกข์ แก่จากการที่ความเกิดเป็นที่มาของความทุกข์ที่ตามมาในภายหลังอีกมากมายจึงถือได้ว่าความเกิด เป็นความ
คำาถาม “ ทุกข์ประจำา ” หมายถึงอะไร
คำาตอบ .........................................
คำาถาม “ ทุกข์ประจำา ” หมายถึงอะไร
คำาตอบ หมายถึง ทุกข์ที่มีแก่คนทุก
คนตามธรรมชาติ
เสื่อมลง เช่นผม
หงอก ฟันหัก หนังเหี่ยวย่น นัยน์ตาฝ้าฟาง หูตึง กำาลังลดลง มีความ
ปวดเมื่อยทั้งร่างกาย
ถึงคนจะยังไม่แก่มาก แต่ความไม่อยากแก่นั่นเอง ทำาให้คนเป็นทุกข์
เพราะเป็นความอยากที่
ทวนกระแสความเป็นไปตามธรรมชาติ
3. ความตาย ได้แก่ ความทุกข์ที่เกิดจากการสิ้นชีวิต เพราะทวน
กระแสความต้องการ
ของคน ทุกคนไม่อยากตาย อยากมีอายุยืน เมื่อถึงคราวจะต้องตายก็จะ
เกิดความทุกข์
เพราะเหตุนี้เอง การเกิด การแก่
การเจ็บ การตาย จึงถือว่าเป็นทุกข์
สำาหรับมนุษย์ทุกคนนะค่ะนักเรียน
ไม่มีใครที่จะหลีกหนี การ เกิด แก่
เจ็บ ตาย ได้เลยสักคน
คำาถาม คนเป็นทุกข์เพราะไม่อยากให้ตัว
เองแก่นั้นเป็นเพราะอะไรคำา
ตอบ ...........................................
.................................................
คำาถาม เมื่อถึงคราวจะต้องตายทำาไมทุก
คนจึงเกิดความทุกข์
คำาถาม คนเป็นทุกข์เพราะไม่อยากให้ตัวเองแก่นั้นเป็นเพราะอะไร
คำาตอบ เพราะเป็นความอยากที่ทวนกระแสความเป็นไปของธรรมชาติ
คำาถาม เมื่อถึงคราวจะต้องตายทำาไมทุกคนจึงเกิดความทุกข์
คำาตอบ เพราะคนไม่อยากตาย อยากมีอายุยืน
ทีนี้คงเข้าใจแล้วนะค่ะนักเรียนว่า คน
เราเกิดมาในแต่ละวันเราจะมีทั้งความ
สุขและความทุกข์ปะปนกันไป
ทุกข์จร หรือทุกข์ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว มี 8 ประการ
ามโศก ได้แก่ ความเศร้าใจ หรือความแห้งใจ
ามพิไรรำาพัน ได้แก่ ความครำ่าครวญ หรือความบ่นเพ้อ
ามทุกข์ทางกาย ได้แก่ ความเจ็บไข้ หรือความบาดเจ็บ
ามโทมนัส ได้แก่ ความไม่สบายใจ หรือความน้อยใจ
ามคับแค้นใจ ได้แก่ ความตรอมใจ หรือความคับอกคับใจ
ามประสบกับสิ่งที่ไม่รัก ไม่ชอบ
ามพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ที่ชอบ
ามปรารถนาสิ่งใด แล้วไม่ได้สิ่งนั้น
ข์โดยรวบยอด ทุกข์ที่กล่าวข้างต้นทั้งหมดสรุปได้เพียงประการเดียว คือ การยึดมั่นถือมั่นใน
คำาถาม โดยสรุปแล้ว คนเรามีความทุกข์กายทุกข์ใจเพราะเหตุใด
คำาตอบ ...........................................................
คำาถาม โดยสรุปแล้ว คนเรามีความทุกข์กายทุกข์ใจเพราะเหตุใด
คำาตอบ เพราะการยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ 5
แบบทดสอบหลังเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“ทุกข์”
าชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาต
3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือความหมายของ “ อริยสัจ ”
ก. สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำาบุญ
ข. รากเหง้าแห่งความดี
ค. ธรรมที่เป็นสัตบุสุมา
ง. ความจริงอันประเสริฐ
2. ข้อใดคือองค์ประกอบของ “อริยสัจ”
ก. ขันติ
ข. วิริยะ
ค. ทุกข์
ง. อุตสาหะ
3. ข้อใดจัดเป็น “ ทุกข์ประจำา ”
ก. ความเศร้าโศรก
ข. ความคับแค้นใจ
ค. ความโทมนัส
ง. ความแก่
4. คำาว่า “ ทุกข์ ” ในอริยสัจ จัดเป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเสริม
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ หมายถึง
อใด
ก. ความไม่สบายใจไม่สบายกาย
ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์
ค. ความจริงดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์
6. “ ทุกข์ ” จำาแนกออกเป็นกี่ประเภท
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
7. ข้อใดจัดว่าเป็น ธรรมที่ควรละ
ก. ขันธ์ 5
ข. โลกธรรม 8
ค. มิจฉานิชชา 5
ง. มงคล 38
8. เพราะเหตุใด “ ตัณหา ” จึงจัดว่าเป็นสาเหตุให้
เกิดทุกข์
ก. เพราะเป็นปัจจัยให้จิตใจเศร้าหมอง
ข. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความเสียใจ
ค. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความยึดมั่นคือมั่นในต
เอง
ง. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความไม่เที่ยงแท้แน่นอ
9. ทุกข์ประจำา ที่มีแก่ทุกคนตามธรรมชาติ มีกี่
ประการ
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
10. “ ทุกข์จร ” มีกี่ประการ
ก. 2
ข. 4
ค. 6
ง. 8
เฉลยแบบทดสอบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“ทุกข์
1. ง
2. ค
3. ง
4. ก
5. ข
6. ค
7. ค
8. ค
9. ง
10. ง
อริยสัจ 4
“ สมุทัย ”
( ธรรมที่ควรละ )
แบบทดสอบก่อนเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“สมุทัย”
คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก
ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอ
3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือ องค์ประกอบของ อริยสัจ
ก. วิริยะ
ข. อุตสาหะ
ค. สมุทัย
ง. ขันติ
2.คำาว่า “ สมุทัย ” ในอริยสัจ เป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเจริญ
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
3. คำาว่า “ สมุทัย ” ในอริยสัจ หมายถึง
อะไร
ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์
ค. ความดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับ
ทุกข์
4. ในอริยสัจ “ สมุทัย ” จำาแนกได้กี่
ประเภท
ก. 1 ประการ
ข. 2 ประการ
ค. 3 ประการ
ง. 4 ประการ
5. กามตัณหา หมายถึงข้อใด
ก. ความทะยานอยากในความเป็น
ข. ความทะยานอยากในความไม่มี
ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น
ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม
6. ข้อไหนคือต้นตอ ความทุกข์ทั้งหมด
ก. ทุกข์
ข. สมุทัย
ค. นิโรธ
ง. มรรค
7. ภวตัณหา หมายถึงข้อใด
ก. ความทะยานอยากในความเป็น
ข. ความทะยานอยากในความไม่มี
ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น
ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม
8. วิภวตัณหา มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความทะยานอยากในความเป็น
ข. ความทะยานอยากในความไม่มี
ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น
ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม
9. ความทะยานอยากในรูป กลิ่น เสียง
รสจัดเป็นตัณหาตามข้อใด
ก. กามตัณหา
ข. ภวตัณหา
ค. วิภวตัณหา
ง. อวิภวตัณหา
10 เพราะเหตุใด “ ตัณหา ” จึงจัดว่า เป็น
สาเหตุแห่งความทุกข์
ก. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้จิตใจเศร้า
หมอง
ข. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้เกิดความ
เศร้าเสียใจ
ค. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้เกิดความ
ยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง
ง. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้ไม่เที่ยงแท้
ธรรมที่ควรละข้อนี้จะได้ศึกษาใน
ชั่วโมงต่อไปนะค่ะ
ทัย ( ธรรมที่ควรละ )
ย คือ ความตริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์ หรือต้นตอของความทุกข์ทั้งหมด ดังนั้นสมุทัยจึงเป็นธ
รรมที่ให้โทษ ธรรมที่ควรละมีมากมาย เช่น “ กรรมนิยาม ” หรือ “ กรรม 12 ” เป็นต้น
คำาถาม คำาว่า “ สมุทัย ” หมายถึงอะไร
คำาตอบ .............................................................
คำำถำม คำำว่ำ “ สมุทัย ” หมำยถึงอะไร
คำำตอบ ควำมจริงว่ำด้วยเหตุแห่งทุกข์ หรือต้นตอของควำมทุกข์ทั้งหมด
เพรำะเหตุนี้เอง นักเรียนจึงมัก
จะเห็นภำพกำรฆ่ำกัน ข่มเหง
รังแกกัน กำรแย่งชิงกัน
มำกมำย ในเรื่องต่ำงๆ ตำม
หนังสือพิมพ์ หรือโทรทัศน์
ทุกข์สมุทัย แปลว่ำ เหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหำ หรือควำมทะยำนอยำก ซึ่งจำำแนกได้ 3 ปร
1. กำมตัณหำ ควำมทะยำนอยำกในกำม กำม หมำยถึง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่ำใคร่ น่ำป
พอใจ ควำมทะยำนอยำกในกำม จึงหมำยถึง ควำมดิ้นรนอยำกเห็นในสิ่งที่สวยงำม อยำกฟังเสียงที่ไพ
ำกอมกลิ่นที่หอย อยำกลิ้มรสที่อร่อย อยำกสัมผัสสิ่งที่น่ำใคร่ น่ำปรำรถนำ น่ำพอใจ
คำำถำม ควำมทะยำนอยำกใน “ กำม ” หมำยถึงอะไร
คำำตอบ ...................................................................
คำำถำม ควำมทะยำนอยำกใน “ กำม ”
หมำยถึงอะไร
คำำตอบ หมำยถึง ควำมทะยำนอยำกใน รูป
เสียง กลิ่น รส สัมผัส
นักเรียนอยำกได้คะแนนมำกๆ หรือ
อยำกได้เกรด 4 วิชำสังคมศึกษำฯ ไม่
ถือว่ำเป็นตัณหำนะครับ เพรำะเรำขยัน
อ่ำนหนังสือ จนเข้ำใจแล้ว ไปทำำ
ข้อสอบได้แต่ถ้ำอยำกได้เกรด 4 แล้วไม่
อ่ำนหนังสือ เวลำสอบไปลอกข้อสอบ
เพื่อนไปทุจริตในกำรสอบ อย่ำงนี้ถือว่ำ
เป็นตัณหำนะคะ
หำ ควำมทะยำนอยำกเป็น คือ ควำมทะยำนอยำกเป็นบุคคลประเภทที่ตนชอบ เช่น นักร้อง นักแสดง
กได้เลื่อนยศ เลื่อนตำำแหน่งก่อนใครๆ
หำ ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มีหรือไม่เป็น คือ ดิ้นรนอยำกไม่เป็นสิ่งที่เขำให้เป็นหรืออยำกจะพ้นไ
รวมทั้งอยำกให้สิ่งนั้น สิ่งนี้หมดสิ้นไป
ประเภทนี้ เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ทุกข์ที่เกิดจำกตัณหำต้องเป็นทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับจิตใจ ไม่ใช่ทุกข์เพรำะ
สิ่งไม่มีชีวิต ตัณหำเป็นปัจจัยให้เกิดควำมยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง และสิ่งต่ำงๆ ของตัวเอง ควำมยึดมั่นถือ
คำำถำม ควำมทะยำนอยำกเป็นนั่น เป็นนี่ จัดเป็นตัณหำอะไร
คำำตอบ ........................................................................
คำำถำม ควำมทะยำนอยำกเป็นนั่น เป็นนี่ จัดเป็นตัณหำอะไร
คำำตอบ ภวตัณหำ
แบบทดสอบหลังเรียน
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“สมุทัย”
คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที
2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูก
ต้องที่สุด ลงในกระดำษคำำตอบ
3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือ องค์ประกอบของ อริยสัจ
ก. วิริยะ
ข. อุตสำหะ
ค. สมุทัย
ง. ขันติ
2. คำำว่ำ “ สมุทัย ” ในอริยสัจ เป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเจริญ
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
3. คำำว่ำ “ สมุทัย ” ในอริยสัจ หมำยถึง
อะไร
ก. ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ
ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์
ค. ควำมดับทุกข์
ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับ
ทุกข์
4. ในอริยสัจ “ สมุทัย ” จำำแนกได้กี่
ประเภท
ก. 1 ประกำร
ข. 2 ประกำร
ค. 3 ประกำร
ง. 4 ประกำร
5. กำมตัณหำ หมำยถึงข้อใด
ก. ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น
ข. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี
ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น
ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม
6. ข้อไหนคือต้นตอ ควำมทุกข์ทั้งหมด
ก. ทุกข์
ข. สมุทัย
ค. นิโรธ
ง. มรรค
7. ภวตัณหำ หมำยถึงข้อใด
ก .ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น
ข .ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี
ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น
ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม
8. วิภวตัณหำ มีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น
ข. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี
ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น
ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม
9. ควำมทะยำนอยำกในรูป กลิ่น เสียง รส
จัดเป็นตัณหำตำมข้อใด
ก. กำมตัณหำ
ข. ภวตัณหำ
ค. วิภวตัณหำ
ง. อวิภวตัณหำ
10. เพรำะเหตุใด “ ตัณหำ ” จึงจัดว่ำ เป็น
สำเหตุแห่งควำมทุกข์
ก. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้จิตใจเศร้ำ
หมอง
ข. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้เกิดควำม
เศร้ำเสียใจ
ค. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้เกิดควำม
ยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง
ง. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้ไม่เที่ยงแท้
เฉลยแบบทดสอบ
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
สมุทัย
1. ค
2. ข
3. ข
4. ค
5. ง
6. ข
7. ก
8. ข
9. ก
10. ค
อริยสัจสี่
“ นิโรธ ”
( ธรรมที่ควรบรรลุ )
แบบทดสอบก่อนเรียน
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“นิโรธ”
คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที
2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูกต้องที่สุด
ลงในกระดำษคำำตอบ
3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือองค์ประกอบ ของอริยสัจ
ก. ขันติ
ข. วิริยะ
ค. สมุทัย
ง. นิโรธ
2. คำำว่ำ นิโรธ ในอริยสัจ เป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเจริญ
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
3. คำำว่ำ นิโรธ หมำยถึงข้อใด
ก. ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ
ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์
ค. ควำมดับทุกข์
ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับ
ทุกข์
4. ในอริยสัจ นิโรธ จำำแนกได้กี่ประเภท
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อนิโรธ ) คือ
ข้อใด
ก. ควำมไม่สบำยใจ ไม่สบำยกำย
ข. ควำมจริงว่ำด้วย แห่งทุกข์
ค. ควำมดับทุกข์
ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงดับทุกข์
6. ธรรมที่ควรบรรลุ คือข้อใด
ก. ภำวนำ 4
ข. มงคล 38
ค. อปริกำนิยธรรม 7
ง. อริยวัฑฒิ 5
7. หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ จะต้อง
มีข้อใด กำำกับไว้เสมอ
ก. สติ
ข. ปัญญำ
ค. วิริยะ
ง. อุตสำหะ
8. นักเรียนต้องกำรค้นคว้ำเรื่อง อริยสัจ 4
ควรค้นจำกคัมภีร์เล่มใด
ก. วินัยปิฎก
ข. ปรมัตถปิฎก
ค. สุตตันตปิฎก
ง. อภิธรรมปิฎก
9. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบของ ภำวนำ
4
ก. กำยสังวร
ข. จิตภำวนำ
ค. ปัญญำภำวนำ
ง. โยนิโสนสิกำร
10. ข้อใดไม่ใช่ควำมหมำยของ ภำวนำ
ก. กำรทำำให้มีขึ้น
ข. กำรปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
ค. กำรพัฒนำตน
ง. กำรฝึกอบรม
ควำมอยำกที่เกินควำมพอดี
( เกินกำำลังควำมสำมำรถของเรำ
ที่จะทำำที่จะหำได้ )
เขำเรียกว่ำตัณหำนะคะนักเรียน
3. นิโรธ ( ธรรมที่ควรบรรลุ )
นิโรธ ( นิโรธ – ควำมดับ ) แปลว่ำ ควำมดับทุกข์ หมำยถึง กำรดับหรือกำรละ
ตัณหำ3 ประกำรดังกล่ำวแล้วได้ ตัณหำเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ถ้ำดับเหตุได้ทุกข์ซึ่งเป็น
ผลก็ดับไปเองเหมือนกับกำรดับไฟต้องดับที่เชื้อไฟ เช่น ฟืนหรือนำ้ำมัน นำำเชื้อออกเสีย
เมื่อเชื้อออกหมดไป ไฟก็ดับเอง นิโรธเป็นธรรมที่ควรบรรลุ ธรรมที่ควรบรรลุ ได้แก่
ภำวนำ 4
คำำถำม ทุกข์นิโรธ หรือ นิโรธ แปลว่ำอะไร
คำำตอบ ...........................................................
คำำถำม ทุกข์นิโรธ หรือ นิโรธ แปลว่ำอะไร
คำำตอบ ควำมดับทุกข์
แบบทดสอบหลังเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“นิโรธ”
คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุด
ลงในกระดาษคำาตอบ
3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ
1. ข้อใดคือองค์ประกอบ ของอริยสัจ
ก. ขันติ
ข. วิริยะ
ค. สมุทัย
ง. นิโรธ
2. คำาว่า นิโรธ ในอริยสัจ เป็นธรรมประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเจริญ
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
3. คำาว่า นิโรธ หมายถึงข้อใด
ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์
ค. ความดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับ
ทุกข์
4. ในอริยสัจ นิโรธ จำาแนกได้กี่ประเภท
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อนิโรธ ) คือ
ข้อใด
ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย
ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์
ค. ความดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยทางดับทุกข์
6. ธรรมที่ควรบรรลุ คือข้อใด
ก. ภาวนา 4
ข. มงคล 38
ค. อปริกานิยธรรม 7
ง. อริยวัฑฒิ 5
7. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จะต้อง
มีข้อใด กำากับไว้เสมอ
ก. สติ
ข. ปัญญา
ค. วิริยะ
ง. อุตสาหะ
8. นักเรียนต้องการค้นคว้าเรื่อง อริยสัจ 4
ควรค้นจากคัมภีร์เล่มใด
ก. วินัยปิฎก
ข. ปรมัตถปิฎก
ค. สุตตันตปิฎก
ง. อภิธรรมปิฎก
9. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบของ ภาวนา
4
ก. กายสังวร
ข. จิตภาวนา
ค. ปัญญาภาวนา
ง. โยนิโสนสิการ
10 .ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ ภาวนา
ก. การทำาให้มีขึ้น
ข. การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
ค. การพัฒนาตน
ง. การฝึกอบรม
เฉลยแบบทดสอบเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“นิโรธ”
1. ง
2. ง
3. ค
4. ค
5. ค
6. ก
7. ข
8. ง
9. ง
10. ข
อริยสัจสี่
มรรค
( ธรรมที่ควรเจริญ )
แบบทดสอบก่อนเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“ มรรค ”
คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก
ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอบ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลง
ในแบบทดสอบ
1. ข้อใดจัดว่าเป็นคุณค่าของธรรมะที่มีต่อ
ชีวิตของมนุษย์
ก. หลักการซึ่งเป็นความจริงของ
ชีวิต
ข. แนวการปฏิบัติซึ่งคนส่วนใหญ่
ยึดถือ
ค. สิ่งที่มนุษย์แสวงหาเพื่อความอยู่
รอด
ง. แนวทางจะพามนุษย์ไปสู่ความ
ถูกต้อง
2. คำาว่า “ มรรค ” ในอริยสัจ เป็นธรรม
ประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
3. ธรรมในอริยสัจ ( ข้อมรรค ) หมายถึง
ข้อใด
ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย
ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์
ค. ความดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วย ทางแห่งการดับ
ทุกข์
4. ข้อใดคือองค์ประกอบของ อริยสัจ
ก. มรรค
ข. วิริยะ
ค. ขันติ
ง. อุตสาหะ
5. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบ ( ธรรมที่
ควรเจริญ )
ก. ภาวนา 4
ข. มงคล 38
ค. อปริหานิยธรรม 7
ง. อริยวัฑฒิ 5
6. ข้อใดไม่ใช่ สัทธรรม 3
ก. ปริยัติสัทธรรม
ข. ปฎิบัติสัทธรรม
ค. ปฎิเวธสัทธรรม
ง. วุฒิบัติ สัทธรรม
7. ข้อใดคือในตโยปุตตสูตร
ก. อภิชาตบุตร
ข. อนิชาตบุตร
ค. ภวิชาตบุตร
ง. ออิชาตบุตร
8. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ อริยวัฑฒิ
5
ก. หัตถะ
ข. จาคะ
ค. สุตะ
ง. ปัญญา
9. ข้อใดไม่ใช่ธรรมในอริยสัจ
ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
ข. ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์
ค. ความจริงว่าด้วยการไม่มีทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยการดับทุกข์
10. มรรค มีองค์ 8 เรียกอีกอย่างว่า
อย่างไร
ก. ญาตัตถจริยา
ข. โลกัตถจริยา
ค. พุทธัตถจริยา
ง. มัชฌิมาปฎิปทา
สำาหรับอริยสัจ 4
นักเรียนศึกษาจบแล้ว
นะ ต่อไปอย่าลืมทำา
แบบทดสอบหลัง
เรียนนะคะ
มรรค ( ธรรมที่ควรเจริญ )
มรรค คือ ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์ ถ้าใครปฏิบัติตามก็จะลดความทุกข์หรือปัญหาได้ดังนั้น ม
ป็นธรรมที่ควรเจริญ หมายถึง การพัฒนา การทำาให้เกิดขึ้น ในทางพระพุทธศาสนามีหลักธรรมที่ควรเจริญมากมาย
น หลักธรรมดังต่อไปนี้
1.อปริหานิยธรรม 7
2.ปาปณิกธรรม 3 และ โภคอาทิยะ 5
3.ทิฎฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4
4.อริยวัฑฒิ 5
5.มงคล 38 ข้อ ( จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มัวหมอง และจิตเกษม )
คำาถาม เพราะเหตุใด มรรค จึงจัดเป็นธรรมที่ควรเจริญ
คำาตอบ .....................................................
คำาถาม เพราะเหตุใด มรรค จึงจัดเป็นธรรมที่ควรเจริญ
คำาตอบ เพราะมรรคคือความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์ ถ้าใคร
ปฎิบัติตามก็จะพบกับความทุกข์หรือปัญหาได้
แบบทดสอบหลังเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“ มรรค ”
คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก
ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอบ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงใน
แบบทดสอบ
1. ข้อใดจัดว่าเป็นคุณค่าของธรรมะที่มีต่อชีวิตของมนุษย์
ก. หลักการซึ่งเป็นความจริงของชีวิต
ข. แนวการปฏิบัติซึ่งคนส่วนใหญ่ยึดถือ
ค. สิ่งที่มนุษย์แสวงหาเพื่อความอยู่รอด
ง. แนวทางจะพามนุษย์ไปสู่ความถูกต้อง
2. คำาว่า “ มรรค ” ในอริยสัจ เป็นธรรมประเภทใด
ก. ธรรมที่ควรรู้
ข. ธรรมที่ควรละ
ค. ธรรมที่ควรเจริญ
ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
3. ธรรมในอริยสัจ ( ข้อมรรค ) หมายถึง
ข้อใด
ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย
ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์
ค. ความดับทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วย ทางแห่งการดับ
ทุกข์
4. ข้อใดคือองค์ประกอบของ อริยสัจ
ก. มรรค
ข. วิริยะ
ค. ขันติ
ง. อุตสาหะ
5. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบ ( ธรรมที่
ควรเจริญ )
ก. ภาวนา 4
ข. มงคล 38
ค. อปริหานิยธรรม 7
ง. อริยวัฑฒิ 5
6. ข้อใดไม่ใช่ สัทธรรม 3
ก. ปริยัติสัทธรรม
ข. ปฎิบัติสัทธรรม
ค. ปฎิเวธสัทธรรม
ง. วุฒิบัติ สัทธรรม
7. ข้อใดคือในตโยปุตตสูตร
ก. อภิชาตบุตร
ข. อนิชาตบุตร
ค. ภวิชาตบุตร
ง. ออิชาตบุตร
8. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ อริยวัฑฒ
5
ก. หัตถะ
ข. จาคะ
ค. สุตะ
ง. ปัญญา
9. ข้อใดไม่ใช่ธรรมในอริยสัจ
ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
ข. ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์
ค. ความจริงว่าด้วยการไม่มีทุกข์
ง. ความจริงว่าด้วยการดับทุกข์
10. มรรค มีองค์ 8 เรียกอีกอย่างว่า
อย่างไร
ก. ญาตัตถจริยา
ข. โลกัตถจริยา
ค. พุทธัตถจริยา
ง. มัชฌิมาปฎิปทา
แบบทดสอบหลังเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4
“ มรรค ”
1. ง
2. ค
3. ง
4. ก
5. ก
6. ง
7. ก
8. ก
9. ค
10. ง

More Related Content

What's hot

วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
tassanee chaicharoen
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษาduesdee tawon
 
ศาสดาของพระพุทธศาสดา
ศาสดาของพระพุทธศาสดาศาสดาของพระพุทธศาสดา
ศาสดาของพระพุทธศาสดาPhattiya Wievn
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
Kritsadin Khemtong
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Ch Khankluay
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
Work 1 pj 604
Work 1 pj 604Work 1 pj 604
Work 1 pj 604
LalitphatBumrungkarn
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานtassanee chaicharoen
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
 
ศาสดาของพระพุทธศาสดา
ศาสดาของพระพุทธศาสดาศาสดาของพระพุทธศาสดา
ศาสดาของพระพุทธศาสดา
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
Work 1 pj 604
Work 1 pj 604Work 1 pj 604
Work 1 pj 604
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 

Similar to 072อริยสัจจสี่ม.๕

จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
RunchiRunchi
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูดpanneem
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนาเล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
Putnaree Sooily
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยมงานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
อรระมภา วิเลปนะ
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao

Similar to 072อริยสัจจสี่ม.๕ (20)

จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Job's portflio
Job's portflioJob's portflio
Job's portflio
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนาเล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
เล่มใหม่ครับบบบ สำเนา
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
ทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธ
 
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยมงานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao
Bestmaecharao
 

More from niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
niralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
niralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
niralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
niralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
niralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
niralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
niralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
niralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
niralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
niralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
niralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
niralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
niralai
 

More from niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

072อริยสัจจสี่ม.๕

  • 1. บทเรียนสำำเร็จรูป กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 สำำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียนศรีปทุมพิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี โดย นำงวัฒนำ หำสุข ครูชำำนำญกำร โรงเรียนศรีปทุมพิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำอุบลรำชธำนี เขต 1
  • 2. คำำนำำ บทเรียนสำำเร็จรูปกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และ วัฒนธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 สำำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียน ศรีปทุมพิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี ฉบับนี้จัดทำำขึ้นเพื่อ ใช้เป็นนวัตกรรมประกอบกำรวิจัยกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียนศรีปทุม พิทยำคำร อำำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี สำำนักงำนเขตพื้นที่กำร ศึกษำอุบลรำชธำนี เขต 1 วัฒนำ หำ สุข
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำำแนะนำำกำรใช้บทเรียนสำำเร็จรูป.................................................................................. 1 ะสงค์กำรเรียนรู้..................................................................................................... อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)......................................................................................... 3 แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”……………………… 4 แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”……………….……… 13 เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์”…………………………… 15 ริยสัจ 4 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ).................................................................................... 16 แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……..……………… 17 แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……….….………… 23 เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย”……..………….……….. 25 ริยสัจ 4 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)................................................................................ 26 แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………….. 27 แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………….. 31 เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ”…………………………. 33 ริยสัจ 4 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)................................................................................ 34 แบบทดสอบก่อนเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………………... 35 แบบทดสอบหลังเรียนควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………………... 39 เฉลยแบบทดสอบควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “มรรค”……………..…………… 41
  • 4. คำำแนะนำำกำรใช้บทเรียนสำำเร็จรูป บทเรียนสำำเร็จรูปเล่มนี้ เป็นบทเรียนที่นักเรียนสำมำรถศึกษำด้วยควำมสำมำรถของ นักเรียนเอง ให้นักเรียนอ่ำนคำำแนะนำำ และปฏิบัติตำมคำำแนะนำำเป็นขั้นตอนไปจนจบบทเรียน แล้วนักเรียนจะเข้ำใจในหลักธรรม เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 ได้เป็นอย่ำงดีโดย ให้นักเรียนปฏิบัติตำมขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ก่อนศึกษำบทเรียนเล่มนี้ นักเรียนควรทรำบก่อนว่ำ ตนเองมีควำมรู้เกี่ยวกับ เรื่องที่เรียนมำกน้อยเพียงใด โดยกำรทำำแบบทดสอบก่อนเรียน นักเรียนยังไม่เคยเรียนใน เนื้อหำนี้มำก่อน นักเรียนจึงไม่ต้องกังวลว่ำจะทำำผิด 2. นักเรียนจงซื่อสัตย์ต่อตนเองเป็นอย่ำงมำก โดยที่นักเรียนไม่เปิดดูคำำตอบก่อนที่ นักเรียนจะตอบคำำถำมในกรอบนั้นๆให้สมบูรณ์เสียก่อน 3. บทเรียนนี้จะมีประโยชน์อย่ำงมำก ถ้ำนักเรียนมีควำมซื่อสัตย์ต่อตนเองและก่อน ที่จะตอบคำำถำมในแต่ละกรอบ นักเรียนควรคิดให้รอบคอบเสียก่อนที่จะตอบคำำถำม 4. บทเรียนนี้แบ่งเนื้อหำออกเป็นส่วนย่อยๆ เป็นตอนๆ ซึ่งเรียกว่ำกรอบให้นักเรียน ศึกษำไปทีละกรอบเรียงตำมลำำดับ อย่ำศึกษำข้ำมกรอบ เพรำะจะทำำให้เกิดควำมสับสนและไม่ เข้ำใจเนื้อเรื่องที่อธิบำยไว้ โดยเริ่มศึกษำจำกกรอบที่ 1,2,3 ไปจนจบบทเรียน 5. เนื้อหำแต่ละกรอบจะมีคำำถำมให้นักเรียนได้ตอบง่ำยๆ เพื่อเป็นกำรทบทวนควำม เข้ำใจ วิธีตอบคำำถำมให้นักเรียนเขียนคำำตอบที่ถูกต้องลงในกระดำษเขียนคำำตอบ แล้วตรวจ คำำตอบจำกคำำเฉลยที่ให้ไว้ในกรอบควำมรู้ต่อไป 6. ถ้ำนักเรียนตอบถูกต้อง แสดงว่ำนักเรียนศึกษำเนื้อหำในบทเรียนเข้ำใจดีแล้ว ให้นักเรียนค่อยๆศึกษำเนื้อหำในกรอบควำมรู้ต่อไปเรื่อยๆ จนจบ 7. ถ้ำนักเรียนตอบคำำถำมผิด ขอให้นักเรียนพลิกบทเรียนย้อนกลับไปศึกษำกรอบที่ ผ่ำนมำให้เข้ำใจอีกครั้งหนึ่ง แล้วตอบคำำถำมใหม่จนตอบถูกต้อง จึงศึกษำกรอบต่อไป 8. หลังจำกศึกษำบทเรียนในแต่ละกรอบที่กำำหนดให้จบแล้ว ให้นักเรียนทำำแบบ ทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินควำมรู้ของตนเองอีกครั้งหนึ่ง 9. ถ้ำนักเรียนได้คะแนนตำ่ำกว่ำร้อยละ 80 ให้นักเรียนศึกษำบทเรียนนี้ซำ้ำอีก
  • 5. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ - นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมหมำยของ อริยสัจ 4 ได้ - นักเรียนสำมำรถจำำแนกองค์ประกอบของ อริยสัจ 4 ได้ - นักเรียนสำมำรถบอกหลักธรรมที่ เกี่ยวข้องกับอริยสัจ 4ได้
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ อริยสัจ 4 “ทุกข์” คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที 2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดำษคำำตอบ 3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือควำมหมำยของ “ อริยสัจ ” ก. สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งกำรทำำบุญ ข. รำกเหง้ำแห่งควำมดี ค. ธรรมที่เป็นสัตบุสุมำ ง. ควำมจริงอันประเสริฐ 2. ข้อใดคือองค์ประกอบของ “อริยสัจ” ก. ขันติ ข. วิริยะ ค. ทุกข์ ง. อุตสำหะ 3. ข้อใดจัดเป็น “ ทุกข์ประจำำ ” ก. ควำมเศร้ำโศรก ข. ควำมคับแค้นใจ ค . ควำมโทมนัส ง. ควำมแก่ 4.คำำว่ำ “ ทุกข์ ” ในอริยสัจ จัดเป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเสริม ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
  • 8. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ หมำยถึงข้อใด ก. ควำมไม่สบำยใจไม่สบำยกำย ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์ ค. ควำมจริงดับทุกข์ ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับทุกข์ 6. “ ทุกข์ ” จำำแนกออกเป็นกี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 ข้อใดจัดว่ำเป็น ธรรมที่ควรละ ก. ขันธ์ 5 ข. โลกธรรม 8 ค. มิจฉำนิชชำ 5 ง. มงคล 38 8. เพรำะเหตุใด “ ตัณหำ ” จึงจัดว่ำเป็นสำเหตุ ให้เกิดทุกข์ ก. เพรำะเป็นปัจจัยให้จิตใจเศร้ำหมอง ข. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมเสียใจ ค. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมยึดมั่นคือมั่น ในตัวเอง ง. เพรำะเป็นปัจจัยให้เกิดควำมไม่เที่ยงแท้ แน่นอน 9. ทุกข์ประจำำ ที่มีแก่ทุกคนตำมธรรมชำติ มีกี่ ประกำร ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 10. “ ทุกข์จร ” มีกี่ประกำร ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8
  • 9. สวัสดีคะนักเรียนที่น่ำรักทุกๆคน วันนี้ครู จะพำพวกเรำมำ รู้จักกับหลักธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของ พระพุทธศำสนำ และเป็น ศำสนำประจำำชำติไทยของเรำ   ธรรมะ คือ คำำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำ มีคุณค่ำอยู่หลำย ประกำร เช่น เป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้ำตรัสไว้ดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึง เห็นได้เอง ไม่ขึ้นอยู่กับกำลเวลำ ควรเรียกให้มำดูควรนำำมำประพฤติ ปฏิบัติ และ เป็นธรรมวิญญูชน จะพึงรู้ได้เฉพำะตน นักเรียนคงพร้อมที่ จะศึกษำรำย ละเอียดของธรรมที่ว่ำนี้แล้วนะคะ ก่อนศึกษำหน้ำต่อไป นักเรียนอย่ำลืมทำำ แบบทดสอบก่อนเรียนกันก่อน
  • 10. อริยสัจ คือ ควำมจริงอันประเสริฐ หรือควำม จริงของอริยบุคคล เพรำะผู้ใดรู้อริยสัจด้วยปัญญำ ผู้นั้นถือเป็นผู้ ประเสริฐทันที อริยสัจเป็นหัวใจของพระพุทธศำสนำ คำำสอน ของพระพุทธองค์ ทั้งหมดจะสรุปไว้ในอริยสัจได้ทั้งนั้น อริยสัจ ประกอบด้วยองค์ 4 ดังนี้ 1. ทุกข์ 2. สมุทัย 3. นิโรธ 4. มรรคนักเรียนคงจะทรำบ ควำมหมำยและองค์ ประกอบของอริยสัจ แล้วนะค่ะ คำำถำม อริยสัจหมำยถึงอะไร คำำ ตอบ ............................................. ............................................. คำำถำม ธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของพระพุทธ
  • 11. คำำถำม อริยสัจหมำยถึงอะไร คำำตอบ ควำมจริงอันประเสริฐ หรือควำมจริงของอริยบุคคล คำำถำม ธรรมที่ถือว่ำเป็นหัวใจของพระพุทธศำสนำเรียกว่ำอย่ำงไร คำำตอบ อริยสัจ
  • 12. ธรรมที่ควรรู้ เรื่อง ขันธ์ 5 และ โลกธรรม8 นักเรียนจะได้ศึกษำ ในชั่วโมงหน้ำต่อไปนะค่ะ ควรรู้ ) มไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ได้แก่ ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ ควำมทุกข์นี้ แม้ว่ำบำงกรณีจะข หม่ได้อีกเสมอ ดังนั้น เรำจึงต้องไม่ประมำท และพร้อมที่จะเผชิญหน้ำกับควำมจริงข้อนี้ ดังนั้น วรรู้นั้นมีมำกมำย เช่น หลักธรรม “ ขันธ์ 5 ” และโลกธรรม 8 คำำถำม “ ทุกข์ ” หมำยถึงอะไร คำำตอบ ....................................................................................... คำำถำม ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คืออะไร คำำตอบ .........................................................................
  • 13. คำำถำม “ ทุกข์ ” หมำยถึงอะไร คำำตอบ “ ทุกข์ ” หมำยถึง ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ คำำถำม ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คืออะไร คำำตอบ ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ ขันธ์ 5 และ โลกย ธรรม 8
  • 14. เพราะเหตุนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์จึงตรัสว่า “ ความเกิดก็เป็น ทุกข์ ” นะค่ะนักเรียน นกเป็น 3 ประเภท คือ า ได้แก่ ทุกข์ที่มีแก่ทุกคนตามธรรมชาติ มี 4 ประการ คือ ได้แก่ความทุกข์ของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์กระทั่งคลอด แม้ทารกจะบอก ป็นทุกข์ แก่จากการที่ความเกิดเป็นที่มาของความทุกข์ที่ตามมาในภายหลังอีกมากมายจึงถือได้ว่าความเกิด เป็นความ คำาถาม “ ทุกข์ประจำา ” หมายถึงอะไร คำาตอบ .........................................
  • 15. คำาถาม “ ทุกข์ประจำา ” หมายถึงอะไร คำาตอบ หมายถึง ทุกข์ที่มีแก่คนทุก คนตามธรรมชาติ
  • 16. เสื่อมลง เช่นผม หงอก ฟันหัก หนังเหี่ยวย่น นัยน์ตาฝ้าฟาง หูตึง กำาลังลดลง มีความ ปวดเมื่อยทั้งร่างกาย ถึงคนจะยังไม่แก่มาก แต่ความไม่อยากแก่นั่นเอง ทำาให้คนเป็นทุกข์ เพราะเป็นความอยากที่ ทวนกระแสความเป็นไปตามธรรมชาติ 3. ความตาย ได้แก่ ความทุกข์ที่เกิดจากการสิ้นชีวิต เพราะทวน กระแสความต้องการ ของคน ทุกคนไม่อยากตาย อยากมีอายุยืน เมื่อถึงคราวจะต้องตายก็จะ เกิดความทุกข์ เพราะเหตุนี้เอง การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย จึงถือว่าเป็นทุกข์ สำาหรับมนุษย์ทุกคนนะค่ะนักเรียน ไม่มีใครที่จะหลีกหนี การ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ได้เลยสักคน คำาถาม คนเป็นทุกข์เพราะไม่อยากให้ตัว เองแก่นั้นเป็นเพราะอะไรคำา ตอบ ........................................... ................................................. คำาถาม เมื่อถึงคราวจะต้องตายทำาไมทุก คนจึงเกิดความทุกข์
  • 17. คำาถาม คนเป็นทุกข์เพราะไม่อยากให้ตัวเองแก่นั้นเป็นเพราะอะไร คำาตอบ เพราะเป็นความอยากที่ทวนกระแสความเป็นไปของธรรมชาติ คำาถาม เมื่อถึงคราวจะต้องตายทำาไมทุกคนจึงเกิดความทุกข์ คำาตอบ เพราะคนไม่อยากตาย อยากมีอายุยืน
  • 18. ทีนี้คงเข้าใจแล้วนะค่ะนักเรียนว่า คน เราเกิดมาในแต่ละวันเราจะมีทั้งความ สุขและความทุกข์ปะปนกันไป ทุกข์จร หรือทุกข์ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว มี 8 ประการ ามโศก ได้แก่ ความเศร้าใจ หรือความแห้งใจ ามพิไรรำาพัน ได้แก่ ความครำ่าครวญ หรือความบ่นเพ้อ ามทุกข์ทางกาย ได้แก่ ความเจ็บไข้ หรือความบาดเจ็บ ามโทมนัส ได้แก่ ความไม่สบายใจ หรือความน้อยใจ ามคับแค้นใจ ได้แก่ ความตรอมใจ หรือความคับอกคับใจ ามประสบกับสิ่งที่ไม่รัก ไม่ชอบ ามพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ที่ชอบ ามปรารถนาสิ่งใด แล้วไม่ได้สิ่งนั้น ข์โดยรวบยอด ทุกข์ที่กล่าวข้างต้นทั้งหมดสรุปได้เพียงประการเดียว คือ การยึดมั่นถือมั่นใน คำาถาม โดยสรุปแล้ว คนเรามีความทุกข์กายทุกข์ใจเพราะเหตุใด คำาตอบ ...........................................................
  • 20. แบบทดสอบหลังเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ทุกข์” าชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาต 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือความหมายของ “ อริยสัจ ” ก. สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำาบุญ ข. รากเหง้าแห่งความดี ค. ธรรมที่เป็นสัตบุสุมา ง. ความจริงอันประเสริฐ 2. ข้อใดคือองค์ประกอบของ “อริยสัจ” ก. ขันติ ข. วิริยะ ค. ทุกข์ ง. อุตสาหะ 3. ข้อใดจัดเป็น “ ทุกข์ประจำา ” ก. ความเศร้าโศรก ข. ความคับแค้นใจ ค. ความโทมนัส ง. ความแก่ 4. คำาว่า “ ทุกข์ ” ในอริยสัจ จัดเป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเสริม ง. ธรรมที่ควรบรรลุ
  • 21. 5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อทุกข์ ) คือ หมายถึง อใด ก. ความไม่สบายใจไม่สบายกาย ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์ ค. ความจริงดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์ 6. “ ทุกข์ ” จำาแนกออกเป็นกี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 7. ข้อใดจัดว่าเป็น ธรรมที่ควรละ ก. ขันธ์ 5 ข. โลกธรรม 8 ค. มิจฉานิชชา 5 ง. มงคล 38 8. เพราะเหตุใด “ ตัณหา ” จึงจัดว่าเป็นสาเหตุให้ เกิดทุกข์ ก. เพราะเป็นปัจจัยให้จิตใจเศร้าหมอง ข. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความเสียใจ ค. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความยึดมั่นคือมั่นในต เอง ง. เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความไม่เที่ยงแท้แน่นอ 9. ทุกข์ประจำา ที่มีแก่ทุกคนตามธรรมชาติ มีกี่ ประการ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 10. “ ทุกข์จร ” มีกี่ประการ ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8
  • 23. อริยสัจ 4 “ สมุทัย ” ( ธรรมที่ควรละ )
  • 24. แบบทดสอบก่อนเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย” คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือ องค์ประกอบของ อริยสัจ ก. วิริยะ ข. อุตสาหะ ค. สมุทัย ง. ขันติ 2.คำาว่า “ สมุทัย ” ในอริยสัจ เป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเจริญ ง. ธรรมที่ควรบรรลุ 3. คำาว่า “ สมุทัย ” ในอริยสัจ หมายถึง อะไร ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์ ค. ความดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับ ทุกข์ 4. ในอริยสัจ “ สมุทัย ” จำาแนกได้กี่ ประเภท ก. 1 ประการ ข. 2 ประการ ค. 3 ประการ ง. 4 ประการ
  • 25. 5. กามตัณหา หมายถึงข้อใด ก. ความทะยานอยากในความเป็น ข. ความทะยานอยากในความไม่มี ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม 6. ข้อไหนคือต้นตอ ความทุกข์ทั้งหมด ก. ทุกข์ ข. สมุทัย ค. นิโรธ ง. มรรค 7. ภวตัณหา หมายถึงข้อใด ก. ความทะยานอยากในความเป็น ข. ความทะยานอยากในความไม่มี ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม 8. วิภวตัณหา มีความหมายตรงกับข้อใด ก. ความทะยานอยากในความเป็น ข. ความทะยานอยากในความไม่มี ค. ความทะยานอยากในความไม่เป็น ง. ความดิ้นรนอยากเห็นสิ่งที่สวยงาม 9. ความทะยานอยากในรูป กลิ่น เสียง รสจัดเป็นตัณหาตามข้อใด ก. กามตัณหา ข. ภวตัณหา ค. วิภวตัณหา ง. อวิภวตัณหา 10 เพราะเหตุใด “ ตัณหา ” จึงจัดว่า เป็น สาเหตุแห่งความทุกข์ ก. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้จิตใจเศร้า หมอง ข. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้เกิดความ เศร้าเสียใจ ค. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้เกิดความ ยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง ง. เพราะเป็นปัจจัยที่ทำาให้ไม่เที่ยงแท้
  • 26. ธรรมที่ควรละข้อนี้จะได้ศึกษาใน ชั่วโมงต่อไปนะค่ะ ทัย ( ธรรมที่ควรละ ) ย คือ ความตริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์ หรือต้นตอของความทุกข์ทั้งหมด ดังนั้นสมุทัยจึงเป็นธ รรมที่ให้โทษ ธรรมที่ควรละมีมากมาย เช่น “ กรรมนิยาม ” หรือ “ กรรม 12 ” เป็นต้น คำาถาม คำาว่า “ สมุทัย ” หมายถึงอะไร คำาตอบ .............................................................
  • 27. คำำถำม คำำว่ำ “ สมุทัย ” หมำยถึงอะไร คำำตอบ ควำมจริงว่ำด้วยเหตุแห่งทุกข์ หรือต้นตอของควำมทุกข์ทั้งหมด
  • 28. เพรำะเหตุนี้เอง นักเรียนจึงมัก จะเห็นภำพกำรฆ่ำกัน ข่มเหง รังแกกัน กำรแย่งชิงกัน มำกมำย ในเรื่องต่ำงๆ ตำม หนังสือพิมพ์ หรือโทรทัศน์ ทุกข์สมุทัย แปลว่ำ เหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหำ หรือควำมทะยำนอยำก ซึ่งจำำแนกได้ 3 ปร 1. กำมตัณหำ ควำมทะยำนอยำกในกำม กำม หมำยถึง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่ำใคร่ น่ำป พอใจ ควำมทะยำนอยำกในกำม จึงหมำยถึง ควำมดิ้นรนอยำกเห็นในสิ่งที่สวยงำม อยำกฟังเสียงที่ไพ ำกอมกลิ่นที่หอย อยำกลิ้มรสที่อร่อย อยำกสัมผัสสิ่งที่น่ำใคร่ น่ำปรำรถนำ น่ำพอใจ คำำถำม ควำมทะยำนอยำกใน “ กำม ” หมำยถึงอะไร คำำตอบ ...................................................................
  • 29. คำำถำม ควำมทะยำนอยำกใน “ กำม ” หมำยถึงอะไร คำำตอบ หมำยถึง ควำมทะยำนอยำกใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส
  • 30. นักเรียนอยำกได้คะแนนมำกๆ หรือ อยำกได้เกรด 4 วิชำสังคมศึกษำฯ ไม่ ถือว่ำเป็นตัณหำนะครับ เพรำะเรำขยัน อ่ำนหนังสือ จนเข้ำใจแล้ว ไปทำำ ข้อสอบได้แต่ถ้ำอยำกได้เกรด 4 แล้วไม่ อ่ำนหนังสือ เวลำสอบไปลอกข้อสอบ เพื่อนไปทุจริตในกำรสอบ อย่ำงนี้ถือว่ำ เป็นตัณหำนะคะ หำ ควำมทะยำนอยำกเป็น คือ ควำมทะยำนอยำกเป็นบุคคลประเภทที่ตนชอบ เช่น นักร้อง นักแสดง กได้เลื่อนยศ เลื่อนตำำแหน่งก่อนใครๆ หำ ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มีหรือไม่เป็น คือ ดิ้นรนอยำกไม่เป็นสิ่งที่เขำให้เป็นหรืออยำกจะพ้นไ รวมทั้งอยำกให้สิ่งนั้น สิ่งนี้หมดสิ้นไป ประเภทนี้ เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ทุกข์ที่เกิดจำกตัณหำต้องเป็นทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับจิตใจ ไม่ใช่ทุกข์เพรำะ สิ่งไม่มีชีวิต ตัณหำเป็นปัจจัยให้เกิดควำมยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง และสิ่งต่ำงๆ ของตัวเอง ควำมยึดมั่นถือ คำำถำม ควำมทะยำนอยำกเป็นนั่น เป็นนี่ จัดเป็นตัณหำอะไร คำำตอบ ........................................................................
  • 31. คำำถำม ควำมทะยำนอยำกเป็นนั่น เป็นนี่ จัดเป็นตัณหำอะไร คำำตอบ ภวตัณหำ
  • 32. แบบทดสอบหลังเรียน ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “สมุทัย” คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที 2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูก ต้องที่สุด ลงในกระดำษคำำตอบ 3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือ องค์ประกอบของ อริยสัจ ก. วิริยะ ข. อุตสำหะ ค. สมุทัย ง. ขันติ 2. คำำว่ำ “ สมุทัย ” ในอริยสัจ เป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเจริญ ง. ธรรมที่ควรบรรลุ 3. คำำว่ำ “ สมุทัย ” ในอริยสัจ หมำยถึง อะไร ก. ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์ ค. ควำมดับทุกข์ ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับ ทุกข์ 4. ในอริยสัจ “ สมุทัย ” จำำแนกได้กี่ ประเภท ก. 1 ประกำร ข. 2 ประกำร ค. 3 ประกำร ง. 4 ประกำร
  • 33. 5. กำมตัณหำ หมำยถึงข้อใด ก. ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น ข. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม 6. ข้อไหนคือต้นตอ ควำมทุกข์ทั้งหมด ก. ทุกข์ ข. สมุทัย ค. นิโรธ ง. มรรค 7. ภวตัณหำ หมำยถึงข้อใด ก .ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น ข .ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม 8. วิภวตัณหำ มีควำมหมำยตรงกับข้อใด ก. ควำมทะยำนอยำกในควำมเป็น ข. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่มี ค. ควำมทะยำนอยำกในควำมไม่เป็น ง. ควำมดิ้นรนอยำกเห็นสิ่งที่สวยงำม 9. ควำมทะยำนอยำกในรูป กลิ่น เสียง รส จัดเป็นตัณหำตำมข้อใด ก. กำมตัณหำ ข. ภวตัณหำ ค. วิภวตัณหำ ง. อวิภวตัณหำ 10. เพรำะเหตุใด “ ตัณหำ ” จึงจัดว่ำ เป็น สำเหตุแห่งควำมทุกข์ ก. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้จิตใจเศร้ำ หมอง ข. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้เกิดควำม เศร้ำเสียใจ ค. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้เกิดควำม ยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง ง. เพรำะเป็นปัจจัยที่ทำำให้ไม่เที่ยงแท้
  • 35. อริยสัจสี่ “ นิโรธ ” ( ธรรมที่ควรบรรลุ )
  • 36. แบบทดสอบก่อนเรียน ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ” คำำชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลำ 5 นำที 2. ให้ นักเรียน กำเครื่องหมำย  ทับอักษรหน้ำข้อควำมที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดำษคำำตอบ 3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือองค์ประกอบ ของอริยสัจ ก. ขันติ ข. วิริยะ ค. สมุทัย ง. นิโรธ 2. คำำว่ำ นิโรธ ในอริยสัจ เป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเจริญ ง. ธรรมที่ควรบรรลุ 3. คำำว่ำ นิโรธ หมำยถึงข้อใด ก. ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ข. ควำมจริงว่ำด้วยแห่งทุกข์ ค. ควำมดับทุกข์ ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งกำรดับ ทุกข์ 4. ในอริยสัจ นิโรธ จำำแนกได้กี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
  • 37. 5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อนิโรธ ) คือ ข้อใด ก. ควำมไม่สบำยใจ ไม่สบำยกำย ข. ควำมจริงว่ำด้วย แห่งทุกข์ ค. ควำมดับทุกข์ ง. ควำมจริงว่ำด้วยทำงดับทุกข์ 6. ธรรมที่ควรบรรลุ คือข้อใด ก. ภำวนำ 4 ข. มงคล 38 ค. อปริกำนิยธรรม 7 ง. อริยวัฑฒิ 5 7. หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ จะต้อง มีข้อใด กำำกับไว้เสมอ ก. สติ ข. ปัญญำ ค. วิริยะ ง. อุตสำหะ 8. นักเรียนต้องกำรค้นคว้ำเรื่อง อริยสัจ 4 ควรค้นจำกคัมภีร์เล่มใด ก. วินัยปิฎก ข. ปรมัตถปิฎก ค. สุตตันตปิฎก ง. อภิธรรมปิฎก 9. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบของ ภำวนำ 4 ก. กำยสังวร ข. จิตภำวนำ ค. ปัญญำภำวนำ ง. โยนิโสนสิกำร 10. ข้อใดไม่ใช่ควำมหมำยของ ภำวนำ ก. กำรทำำให้มีขึ้น ข. กำรปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ค. กำรพัฒนำตน ง. กำรฝึกอบรม
  • 38. ควำมอยำกที่เกินควำมพอดี ( เกินกำำลังควำมสำมำรถของเรำ ที่จะทำำที่จะหำได้ ) เขำเรียกว่ำตัณหำนะคะนักเรียน 3. นิโรธ ( ธรรมที่ควรบรรลุ ) นิโรธ ( นิโรธ – ควำมดับ ) แปลว่ำ ควำมดับทุกข์ หมำยถึง กำรดับหรือกำรละ ตัณหำ3 ประกำรดังกล่ำวแล้วได้ ตัณหำเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ถ้ำดับเหตุได้ทุกข์ซึ่งเป็น ผลก็ดับไปเองเหมือนกับกำรดับไฟต้องดับที่เชื้อไฟ เช่น ฟืนหรือนำ้ำมัน นำำเชื้อออกเสีย เมื่อเชื้อออกหมดไป ไฟก็ดับเอง นิโรธเป็นธรรมที่ควรบรรลุ ธรรมที่ควรบรรลุ ได้แก่ ภำวนำ 4 คำำถำม ทุกข์นิโรธ หรือ นิโรธ แปลว่ำอะไร คำำตอบ ...........................................................
  • 39. คำำถำม ทุกข์นิโรธ หรือ นิโรธ แปลว่ำอะไร คำำตอบ ควำมดับทุกข์
  • 40. แบบทดสอบหลังเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “นิโรธ” คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอบ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในแบบทดสอบ 1. ข้อใดคือองค์ประกอบ ของอริยสัจ ก. ขันติ ข. วิริยะ ค. สมุทัย ง. นิโรธ 2. คำาว่า นิโรธ ในอริยสัจ เป็นธรรมประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเจริญ ง. ธรรมที่ควรบรรลุ 3. คำาว่า นิโรธ หมายถึงข้อใด ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ข. ความจริงว่าด้วยแห่งทุกข์ ค. ความดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับ ทุกข์ 4. ในอริยสัจ นิโรธ จำาแนกได้กี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
  • 41. 5. ธรรมที่ควรรู้ในอริยสัจ ( ข้อนิโรธ ) คือ ข้อใด ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์ ค. ความดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยทางดับทุกข์ 6. ธรรมที่ควรบรรลุ คือข้อใด ก. ภาวนา 4 ข. มงคล 38 ค. อปริกานิยธรรม 7 ง. อริยวัฑฒิ 5 7. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จะต้อง มีข้อใด กำากับไว้เสมอ ก. สติ ข. ปัญญา ค. วิริยะ ง. อุตสาหะ 8. นักเรียนต้องการค้นคว้าเรื่อง อริยสัจ 4 ควรค้นจากคัมภีร์เล่มใด ก. วินัยปิฎก ข. ปรมัตถปิฎก ค. สุตตันตปิฎก ง. อภิธรรมปิฎก 9. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบของ ภาวนา 4 ก. กายสังวร ข. จิตภาวนา ค. ปัญญาภาวนา ง. โยนิโสนสิการ 10 .ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ ภาวนา ก. การทำาให้มีขึ้น ข. การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ค. การพัฒนาตน ง. การฝึกอบรม
  • 44. แบบทดสอบก่อนเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ มรรค ” คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอบ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลง ในแบบทดสอบ 1. ข้อใดจัดว่าเป็นคุณค่าของธรรมะที่มีต่อ ชีวิตของมนุษย์ ก. หลักการซึ่งเป็นความจริงของ ชีวิต ข. แนวการปฏิบัติซึ่งคนส่วนใหญ่ ยึดถือ ค. สิ่งที่มนุษย์แสวงหาเพื่อความอยู่ รอด ง. แนวทางจะพามนุษย์ไปสู่ความ ถูกต้อง 2. คำาว่า “ มรรค ” ในอริยสัจ เป็นธรรม ประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ 3. ธรรมในอริยสัจ ( ข้อมรรค ) หมายถึง ข้อใด ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์ ค. ความดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วย ทางแห่งการดับ ทุกข์ 4. ข้อใดคือองค์ประกอบของ อริยสัจ ก. มรรค ข. วิริยะ ค. ขันติ ง. อุตสาหะ
  • 45. 5. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบ ( ธรรมที่ ควรเจริญ ) ก. ภาวนา 4 ข. มงคล 38 ค. อปริหานิยธรรม 7 ง. อริยวัฑฒิ 5 6. ข้อใดไม่ใช่ สัทธรรม 3 ก. ปริยัติสัทธรรม ข. ปฎิบัติสัทธรรม ค. ปฎิเวธสัทธรรม ง. วุฒิบัติ สัทธรรม 7. ข้อใดคือในตโยปุตตสูตร ก. อภิชาตบุตร ข. อนิชาตบุตร ค. ภวิชาตบุตร ง. ออิชาตบุตร 8. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ อริยวัฑฒิ 5 ก. หัตถะ ข. จาคะ ค. สุตะ ง. ปัญญา 9. ข้อใดไม่ใช่ธรรมในอริยสัจ ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ข. ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์ ค. ความจริงว่าด้วยการไม่มีทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยการดับทุกข์ 10. มรรค มีองค์ 8 เรียกอีกอย่างว่า อย่างไร ก. ญาตัตถจริยา ข. โลกัตถจริยา ค. พุทธัตถจริยา ง. มัชฌิมาปฎิปทา
  • 46. สำาหรับอริยสัจ 4 นักเรียนศึกษาจบแล้ว นะ ต่อไปอย่าลืมทำา แบบทดสอบหลัง เรียนนะคะ มรรค ( ธรรมที่ควรเจริญ ) มรรค คือ ความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์ ถ้าใครปฏิบัติตามก็จะลดความทุกข์หรือปัญหาได้ดังนั้น ม ป็นธรรมที่ควรเจริญ หมายถึง การพัฒนา การทำาให้เกิดขึ้น ในทางพระพุทธศาสนามีหลักธรรมที่ควรเจริญมากมาย น หลักธรรมดังต่อไปนี้ 1.อปริหานิยธรรม 7 2.ปาปณิกธรรม 3 และ โภคอาทิยะ 5 3.ทิฎฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 4.อริยวัฑฒิ 5 5.มงคล 38 ข้อ ( จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มัวหมอง และจิตเกษม ) คำาถาม เพราะเหตุใด มรรค จึงจัดเป็นธรรมที่ควรเจริญ คำาตอบ .....................................................
  • 47. คำาถาม เพราะเหตุใด มรรค จึงจัดเป็นธรรมที่ควรเจริญ คำาตอบ เพราะมรรคคือความจริงว่าด้วยทางแห่งการดับทุกข์ ถ้าใคร ปฎิบัติตามก็จะพบกับความทุกข์หรือปัญหาได้
  • 48. แบบทดสอบหลังเรียน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจ 4 “ มรรค ” คำาชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 2. ให้ นักเรียน กาเครื่องหมาย  ทับอักษรหน้าข้อความที่ถูก ต้องที่สุด ลงในกระดาษคำาตอบ 3. ห้ามขีดเขียนข้อความใดๆ ลงใน แบบทดสอบ 1. ข้อใดจัดว่าเป็นคุณค่าของธรรมะที่มีต่อชีวิตของมนุษย์ ก. หลักการซึ่งเป็นความจริงของชีวิต ข. แนวการปฏิบัติซึ่งคนส่วนใหญ่ยึดถือ ค. สิ่งที่มนุษย์แสวงหาเพื่อความอยู่รอด ง. แนวทางจะพามนุษย์ไปสู่ความถูกต้อง 2. คำาว่า “ มรรค ” ในอริยสัจ เป็นธรรมประเภทใด ก. ธรรมที่ควรรู้ ข. ธรรมที่ควรละ ค. ธรรมที่ควรเจริญ ง. ธรรมที่ควรบรรลุ 3. ธรรมในอริยสัจ ( ข้อมรรค ) หมายถึง ข้อใด ก. ความไม่สบายใจ ไม่สบายกาย ข. ความจริงว่าด้วย แห่งทุกข์ ค. ความดับทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วย ทางแห่งการดับ ทุกข์ 4. ข้อใดคือองค์ประกอบของ อริยสัจ ก. มรรค ข. วิริยะ ค. ขันติ ง. อุตสาหะ
  • 49. 5. ข้อใดไม่ใช่ องค์ประกอบ ( ธรรมที่ ควรเจริญ ) ก. ภาวนา 4 ข. มงคล 38 ค. อปริหานิยธรรม 7 ง. อริยวัฑฒิ 5 6. ข้อใดไม่ใช่ สัทธรรม 3 ก. ปริยัติสัทธรรม ข. ปฎิบัติสัทธรรม ค. ปฎิเวธสัทธรรม ง. วุฒิบัติ สัทธรรม 7. ข้อใดคือในตโยปุตตสูตร ก. อภิชาตบุตร ข. อนิชาตบุตร ค. ภวิชาตบุตร ง. ออิชาตบุตร 8. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ อริยวัฑฒ 5 ก. หัตถะ ข. จาคะ ค. สุตะ ง. ปัญญา 9. ข้อใดไม่ใช่ธรรมในอริยสัจ ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ข. ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์ ค. ความจริงว่าด้วยการไม่มีทุกข์ ง. ความจริงว่าด้วยการดับทุกข์ 10. มรรค มีองค์ 8 เรียกอีกอย่างว่า อย่างไร ก. ญาตัตถจริยา ข. โลกัตถจริยา ค. พุทธัตถจริยา ง. มัชฌิมาปฎิปทา