SlideShare a Scribd company logo
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หัวข้อในการบรรยาย
๑. สิ่งจาเป็นเบื้องต้นของชีวิต (ปัจจัย ๔)
๒. องค์คุณของพ่อค้า (ปาปณิกธรรม ๓)
๓. องค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔)
๔. ประโยชน์การถือโภคทรัพย์ (โภคาทิยะ ๕)
๕. หลักการแบ่งโภคทรัพย์ (โภควิภาค ๔)
๗. สุขของผู้ครองเรือน (กามโภคีสุข ๔)
๖. ธรรมของผู้ครองเรือน (ฆราวาสธรรม ๔)
๑. สิ่งจาเป็นเบื้องต้นของชีวิต (ปัจจัย ๔)
ทุกคนที่เกิดมาบนโลก ย่อมปรารถนาความสุขด้วยกันทั้งนั้น ทั้ง
ความสุขทางกาย และความสุขทางใจ ความสุขของคนธรรมดาสามัญ
จะเกิดขึ้นมาได้อย่างน้อยต้องมี ปัจจัยพื้นฐาน ๔ ประการ คือ
ปัจจัยพื้นฐาน ๔ ประการ
๑) อาหาร เป็นปัจจัยพื้นฐานประการแรก อาหารคือสิ่งที่คนหรือ
สัตว์บริโภคกลืนกินเข้าไปทาให้หายหิวบรรเทาความหิวลงไปได้ มีความ
สาคัญเป็นอันดับหนึ่งต่อการดารงชีวิตของสรรพสัตว์
ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ในสามเณรปัญหา
(พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๕) ว่า
“อะไรเรียกว่าหนึ่ง สิ่งที่เรียกว่าหนึ่ง
คือ สัตว์ทั้งปวงดารงอยู่ได้เพราะอาหาร”
เพราะคนหรือสัตว์ที่หิวนั้นในทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นผู้
ที่มีโรคหาความสุขไม่ได้
มีพระพุทธพจน์ตรัสรับรองไว้ในคัมภีร์ธรรมบท ขุททก
นิกาย (พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๕) ว่า
“ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา : ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง”
ปัจจัยพื้นฐาน ๔ ประการ
๒) เครื่องนุ่งห่ม คือวัตถุอาภรณ์สาหรับปกปิ ดอวัยวะร่างกายให้
อบอุ่น นอกจากจะป้ องกันสัตว์เล็กตัวแมลงและสัตว์มีพิษทั้งหลายแล้ว
ยังเป็นเครื่องประดับตกแต่งร่างกายให้ดูมีวัฒนธรรม และทาให้คนเรา
รู้สึกว่าตนเป็นสัตว์มีอารยธรรม
ในทรรศนะทางพระพุทธ ศาสนาก็ได้ให้ความสาคัญกับ
เครื่องนุ่งห่มในฐานะเป็นปัจจัยพื้นฐานสาหรับมนุษย์ ไม่ว่าจะ
เป็นบรรพ ชิต คือ นักบวชหรือคฤหัสถ์ คือ ประชาชนชาวบ้าน
อีกทั้งยังถือว่าการถวายจีวรเครื่องนุ่งห่มแด่พระภิกษุ
สามเณรหรือการบริจาคเสื้อผ้าเป็นทานแก่คนที่ต้องการเสื้อผ้า
มีอานิสงฆ์เหมือนกับเป็นการให้วรรณะคือผิวพรรณหรือ
ชื่อเสียงเกียรติคุณทั้งผู้รับและผู้ให้
มีพระพุทธพจน์ตรัสรับรองไว้ในคัมภีร์ สังยุตตนิกาย
สคาถวรรค (พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๑๕) ว่า
“วตฺถโท โหติ วณฺณโท ผู้ให้ผ้าชื่อว่าให้วรรณะ”
คากล่าวที่ว่า ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง ก็เป็นคากล่าวที่
แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเครื่องนุ่งห่มอย่างเด่นชัด
ดังนั้น เครื่องนุ่งห่มจึงถือว่า เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับชีวิต
มนุษย์
ปัจจัยพื้นฐาน ๔ ประการ
๓) ที่อยู่อาศัย หมายถึง ที่พักอาศัย กิน นอน ขับถ่าย และ หรือสืบ
เผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติของคนเราให้เป็นไปโดยสะดวกและปลอดภัย
โดยสามารถป้ องกันลม ฝน แดด สัตว์ร้าย และปรับอุณหภูมิให้สบาย
และเป็นที่พักผ่อนอันสงบสุขในชีวิตส่วนตัวของแต่ละคน
ปัจจัยพื้นฐาน ๔ ประการ
๔) ยารักษาโรค โดยเหตุที่โรคภัยไข้เจ็บเป็นทุกข์ประจาสังขารของ
คนและสัตว์ ดังนั้น เมื่อมีโรคมาเบียดเบียนก็จาต้องอาศัยสิ่งที่มาแก้
หรือมาบาบัดบรรเทาให้หายจากโรค ซึ่งเรียกสิ่งนั้นในภาษาพระว่า
คิลานเภสัช เรียกในภาษาชาวบ้าน ว่า ยารักษาโรค
ดังพระพุทธพจน์ตรัสรับรองไว้ในคัมภีร์ธรรมบท
(พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๕) ว่า
“อโรคฺยปรมา ลาภา ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง”
๒. องค์คุณของพ่อค้า (ปาปณิกธรรม ๓)
อังคุตตรนิกาย ติกนิบาตร (พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๐)
พระพุทธองค์ได้ทรงแสดง ปาปณิกธรรม คือ หลักธรรมสาหรับ
การเป็นพ่อค้า หรือ องค์คุณของพ่อค้าไว้ ๓ ประการ
ประกอบด้วย
ปาปณิกธรรม ๓
๑) จักขุมา ตาดี หมายถึงการรู้จักสินค้า ดูของเป็น สามารถคานวณ
ราคา กะทุนเก็งกาไรได้แม่นยา (มีวิสัยทัศน์ดี)
ปาปณิกธรรม ๓
๒) วิธูโร จัดเจนธุรกิจ หมายถึงการรู้แหล่งซื้อแหล่งขาย รู้ความ
เคลื่อนไหว ความต้องการของตลาด สามารถในการจัดซื้อจัดจาหน่าย
รู้ใจและรู้จักเอาใจลูกค้า (ต้องมีการวางแผนธุรกิจที่ดี)
ปาปณิกธรรม ๓
๓) นิสสยสัมปันโน มีแหล่งทุนพร้อม หมายถึงการเป็นคนมีความ
น่าเชื่อถือ เป็นทีไว้ใจในแหล่งทุนใหญ่ๆ ซึ่งทาให้หาเงินมาลงทุน หรือ
ดาเนินกิจการโดยง่าย
๓. องค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน
(ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔)
ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ เป็นหลักธรรมในพุทธศาสนา คือ
ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ อย่าง บ้างเรียกว่า
หัวใจเศรษฐี อุ อา กะ สะ
หมายถึง หลักธรรมที่นาไปสู่จุดหมาย จะทาอะไรก็ประสบ
ความสาเร็จ นักเรียน นักศึกษา พ่อค้าแม่ค้า นักธุรกิจ
พนักงานบริษัท หรือแม้แต่นักการเมือง หากนาหัวใจเศรษฐีนี้
มาปรับใช้กับชีวิต ก็รับประกันได้ถึงความสาเร็จ มี ๔ ประการ
คือ
ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔ (หัวใจเศรษฐี)
๑) อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น เช่นขยันหมั่นเพียร เลี้ยง
ชีพด้วยการหมั่นประ กอบการงาน เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในการงาน
นั้น “เงินชอบคนขยัน ถ้าเห็นใครขยัน เงินก็จะกระโดดไปอยู่ด้วย แต่ถ้า
คนขี้เกียจ เขาไม่อยากอยู่ด้วย เงินก็จะกระเด็นหนีหมด”
หลักอุฏฐานสัมปทา
“ขี้เกียจเป็นแมลงวัน ขยันเป็นแมลงผึ้ง
นอนมากงานน้อย ใช้บ่อยเงินหมด
มีเงินหน้าสด เงินหมดหน้าแห้ง”
ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔ (หัวใจเศรษฐี)
๒) อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาโภคทรัพย์ (ที่หามาได้ด้วย
ความขยันหมั่นเพียร โดยชอบธรรม) เงินเข้ามือซ้าย มือขวาต้องเก็บ
เงินเข้ามือขวา มือซ้ายต้องเก็บ ไม่ใช้เงินเข้ามาซ้าย ไหลออกทางขวา
เข้ามาทางขวา ไหลออกทางซ้าย
หลักอารักขสัมปทา
“มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์
มีน้อยใช้น้อยค่อยบรรจง
อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน”
ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔ (หัวใจเศรษฐี)
๓) กัลยาณมิตตตา คบคนดี ไม่คบคบชั่ว อยู่อาศัยในบ้านหรือนิคม
ใด ย่อมดารงตน เจรจา สนทนากับบุคคลในบ้านหรือนิคมนั้น ซึ่งเป็นผู้
มีสมาจารบริสุทธิ์ ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา
หลักกัลยาณมิตตตา
“อันเพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อย
ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา
เกลือเม็ดหนึ่งถึงจะน้อยด้อยราคา
ยังดีกว่าน้าเค็มเต็มทะเล”
ทิฏฐธัมมิกัตถะ ๔ (หัวใจเศรษฐี)
๔) สมชีวิตา อยู่อย่างพอเพียง การใช้ชีวิตพอเพียงหมายความว่า
อย่าลงทุนเกินหน้าตัก เวลาเราจะลงทุนอะไร เราต้องประมาณตัวเอง
ท่านสอนไว้ ๓ คือ คือ มีเหตุผล พอประมาณ ทางสายกลาง
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา
๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒
“… ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน
มีความสงบและทางานตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธาน
ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพอกิน
ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่มีความความพออยู่พอกิน มีความสงบ
เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้
เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ …
ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิดและมีอิทธิพล
มีพลังที่จะทาให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน
ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้าควร
พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้
ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ตลอดกาล "
สรุปหลัก หัวใจเศรษฐี
• อุ มาจาก อุฏฐานสัมปทา แปลว่า ขยันหา
• อา มาจาก อารักขสัมปทา แปลว่า รักษาดี
• กะ มาจาก กัลยาณมิตตตา แปลว่า มีกัลยาณมิตร
• สะ มาจาก สมชีวิตา แปลว่า ใช้ชีวิตพอเพียง
27
๔. ประโยชน์การถือโภคทรัพย์ (โภคาทิยะ ๕)
โภคอาทิยะ (หรือ โภคาทิยะ) แปลว่า ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภค
ทรัพย์ หรือ หลักการใช่จ่ายโภคทรัพย์ให้เป็นประโยชน์ ซึ่งเป็นหลักการ
หรือเหตุผลทีอริยสาวกผู้นับถือพระพุทธศาสนาควรยึดถือในการที่จะมี
หรือครอบครองโภคทรัพย์สมบัติ
โภคาทิยะ ๕
๑) เลี้ยงตัว เลี้ยงมาดาบิดา บุตรภรรยา บ่าวไพร่ คนใน
ปกครอง ให้อิ่มหน่าเป็นสุขสาราญ
โภคาทิยะ ๕
โภคาทิยะ ข้อที่ ๑ หมายถึงว่า
เมื่อแสวงหาโภคทรัพย์มาได้ด้วยน้าพักน้าแรงความขยัน
หมั่นเพียรของตนโดยทางสุจริตชอบธรรมแล้ว ก็ควรใช้จ่ายใน
ครอบครัวเป็นเบื้องต้น คือ เลี้ยงตัวเองและบุตรภรรยาให้เป็น
สุข ตามสมควรแก่กาลังทรัพย์บารุงมารดาบิดาให้เป็นสุขตาม
ฐานะ และอนุเคราะห์บ่าวไพรให้อยู่สุขสบาย
โภคาทิยะ ๕
๒) บารุงมิตรสหายผู้ร่วมกิจการให้เป็นสุขสาราญ
โภคาทิยะ ๕
โภคาทิยะ ข้อที่ ๒ หมายถึงว่า
เมื่อใช้โภคทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ตามข้อ ๑ แล้ว ก็ควรบารุง
มิตรสหายและผู้ร่วมกิจการงานให้เป็นสุข ซึ่งเป็นการเอื้อเฟื้อ
เกื้อกูลกัน
โภคาทิยะ ๕
๓) ใช้ปกป้ องรักษาสวัสดิภาพ ทาตนให้มั่นคงปลอดภัยจาก
ภยันตราย หรือใช้บาบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่างๆ เช่น อัคคีภัย
อุทกภัย วาตภัย โจรภัย
โภคาทิยะ ๕
โภคาทิยะ ข้อที่ ๓ หมายถึงว่า
เมื่อใช้โภคทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ตามข้อ ๑ และข้อ ๒ แล้ว
ก็ควรใช้จ่ายเพื่อป้ องกันภยันตรายอันอาจเกิดจากภัยต่างๆ
เช่น อัคคีภัย อุทกภัย โจรภัย หรือราชภัย หรือเกิดจากโรคภัยไข้
เจ็บ หรือถูกกล่าวหาด้วยคดีความต่างๆ
โภคาทิยะ ๕
๔) ทาพลี ๕ อย่าง คือ
ก. ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ
ข. อติถิพลี ต้อนรับแขก
ค. ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้ผู้ตาย
ฆ. ราชพลี เสียภาษีอากร บารุงราชการ/ประเทศชาติ
ง. เทวตาพลี ถวายเทวดาบารุงอุทิศสิ่งที่เคารพบูชาของตน
โภคาทิยะ ๕
โภคาทิยะ ข้อที่ ๔ หมายถึงว่า
เมื่อให้โภคทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ใน ๓ ข้อดังกล่าว ก็ควรทา
พลี คือสิ่งของสาหรับให้แก่ผู้อื่นโดยไม่คิดมูลค่า ๕ อย่าง คือ
(๑) สงเคราะห์ญาติ (๒) ต้อนรับแขก (๓) ทาบุญอุทิศให้ผู้ตาย
(๔) ถวายเป็นของหลวง หรือบารุงกราชการด้วยการเสียภาษี
อากร เป็นต้น (๕) ทาบุญอุทิศให้เทวดา คือ สักการะบารุงหรือ
ทาบุญอุทิศสิ่งที่เคารพบูชา ตามความเชื่อ ถือสืบจากบรรพ
บุรุษของตน
โภคาทิยะ ๕
๕) บริจาคทานให้สมณพราหมณ์ผู้ประพฤติชอบ คือ ถวายการ
อุปถัมภ์ บารุงพระสงฆ์และเหล่าสมณบรรพชิตผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
โภคาทิยะ ๕
โภคาทิยะ ข้อที่ ๕ หมายถึงว่า
เมื่อใช้โภคทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ใน ๔ ข้อดังกล่าวแล้ว ก็
ควรบริจาคปัจจัย ๔ แด่พระภิกษุสามเณรผู้ประพฤติปฏิบัติชอบ
ตามพระธรรมวินัย เพื่อเป็นการบารุงพระพุทธศาสนาให้มี
ความเจริญมั่นคงสืบไป
๕. หลักการแบ่งโภคทรัพย์ (โภควิภาค ๔)
หลักโภควิภาค ๔ หมายถึง หลักการจัดสรรทรัพย์ทั้งที่เป็นของใช้
และของกินโดยแบ่งเป็น ๔ ส่วน ได้แก่
โภควิภาค ๔
๑) เอเกน โภเค ภุญฺเชยฺย ๑ ส่วน ใช้จ่ายเลี้ยงตน เลี้ยงคนที่ควรบารุง
และทาประโยชน์
โภควิภาค ๔
๒-๓ ) ทฺวีหิ กมฺม ปโยชเย ๒ ส่วนใช้ลงทุนประกอบการงาน เป็นการ
เอาเงินไปต่อเงิน คือทาธุรกิจนั่นเอง คือ วันนี้เปิ ดร้านกาแฟ ดูไปดูมา
เอาหนังสือมาวาง ร้านกาแฟจะกลายเป็นร้าน หนังสือทันที เพื่อมาอีก
ช่องทางหนึ่ง
42
โภควิภาค ๔
๔) จตุตฺถญฺจ นิธาเปยฺย อีก ๑ ส่วนเก็บไว้ใช้ในคราวจาเป็น กล่าวคือ
เมื่อทาธุรกิจขาดทุน หรือประสบอุบัติเหตุที่คาดไม่ถึง เช่น ไฟไหม้ น้า
ท่วม รวมถึงอาจเสียภาษีย้อนหลัง ให้นาทรัพย์จากส่วนนี้มาใช้ได้ พระ
พุทธองค์ทรงเตือนให้ระวังจากอบายมุข
ภาษิตไทยโบราณ
สอนเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพย์ไว้ ๕ ส่วน
๑) ใช้หนี้เก่า หมายถึง ทดแทนบุญคุณผู้มีพระคุณ ครูอาจารย์
ผู้ให้โอกาส และผู้ช่วยเหลือ
๒) ใส่ปากงูเห่า หมายถึง ภรรยามีรายได้ให้สามีใช้ด้วย สามีมี
รายได้ให้ภรรยาใช้ด้วย
๓) ฝังดินไว้ หมายถึง ฝากธนาคารหรือลงทุนที่มีความเสี่ยงน้อย
เช่น ซื้อสลากออมสินหรือ ซื้อพันธบัตรรัฐบาล
๔) ทิ้งลงเหว หมายถึง ใช้จ่ายของฟุ่มเฟือย ไม่ส่งผลตอบแทน
๕) ให้เขายืม หมายถึง ให้บุตรธิดาใช้ขณะที่เขาไม่สามารถมี
รายได้
๖. ธรรมของผู้ครองเรือน (ฆราวาสธรรม ๔)
"ฆราวาสธรรม" คือ หลักธรรมสาหรับผู้ครองเรือน ที่จาเป็นต้องมี
อยู่ประจา เพื่อเสริมให้มีความสุขยิ่งขึ้น พระพุทธองค์ได้ตรัสกะยักษ์ ชื่อ
อาฬวกะ ปรากฎอยู่ในอาฬวกสูตร (๑๕/๒๙) มี ๔ ประการ คือ
ฆราวาสธรรม ๔
๑. สัจจะ คือ ความจริง ดารงมั่นอยู่ในสัจจะ ซื่อตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ
พูดจริง ทาจริง เป็นเหตุนามาซึ่งความเชื่อถือ หรือไว้วางใจได้
พระราชทานประชาชนชาวไทย
คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
พระบรมราโชวาท คุณธรรม ๔ ประการ
ประการแรก... คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจ ต่อตนเอง
ที่จะประพฤติปฏิบัติ แต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม
ฆราวาสธรรม ๔
๒. ทมะ คือ ฝึกตน ปรับปรุงตน บังคับควบคุมตนเองได้รู้จัก
ปรับตัว และแก้ไขปรับปรุงตน ให้เจริญก้าวหน้าอยู่เสมอ รวมทั้งการ
ยอมรับและแก้ไขสิ่งบกพร่องของตนด้วย
พระราชทานประชาชนชาวไทย
คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
พระบรมราโชวาท คุณธรรม ๔ ประการ
ประการที่สอง... คือ การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง
ให้ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสัจความดีนั้น
ฆราวาสธรรม ๔
๓. ขันติ คือ อดทน อดทนต่อความหนาว ร้อน หิว กระหาย ทน
ตรากตรา ทนต่อความเจ็บใจ ทนข่มอารมณ์ของตนได้ ทนต่อความ
ยั่วยวนต่าง ๆ อดทนต่ออานาจฝ่ายต่า อดทนต่อการทาการงาน
พระราชทานประชาชนชาวไทย
คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
พระบรมราโชวาท คุณธรรม ๔ ประการ
ประการที่สาม... คือ การอดทน อดกลั้น และอดออม
ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริต
ไม่ว่าจะด้วยเหตุประการใด
ฆราวาสธรรม ๔
๔. จาคะ คือ เสียสละ เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล ช่วยเหลือบาเพ็ญประโยชน์
สละความโกรธ ความเห็นแก่ตัว มีใจกว้างร่วมงานกับคนอื่นได้ สละ
อารมณ์ขุ่นมัวภายในจิตใจได้
พระราชทานประชาชนชาวไทย
คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
พระบรมราโชวาท คุณธรรม ๔ ประการ
ประการที่สี่... คือ การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต
และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน
เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
ฆราวาสใด หมั่นน้อมนา "ฆราวาสธรรม ๔" มาฝึกฝน
อบรม พัฒนาตน นั่นย่อมจะเปรียบได้ว่า
“ได้เป็นฆราวาสผู้มั่นคงจงรักภักดี ในพระเจ้าอยู่หัว ในพระ
บรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแท้จริง...”
๗. สุขของผู้ครองเรือน (กามโภคีสุข ๔)
สุขของชาวบ้าน สุขอันชอบธรรมที่ผู้ของเรือนควรมี
55
กามโภคีสุข ๔
๑. อัตถิสุข สุขเกิดจากการมีทรัพย์ คือ ภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ถึงทรัพย์
ที่ได้มาด้วยน้าพักน้าแรง ความขยันหมั่นเพียรของตน
56
กามโภคีสุข ๔
๒. โภคสุข สุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ คือ ภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่า
ทรัพย์มาโดยชอบ เพื่อเลี้ยงตน และผู้ควรเลี้ยงและทาประโยชน์
57
กามโภคีสุข ๔
๓. อนณสุข สุขเกิดจากการไม่เป็นหนี้ คือ ภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตน
เป็นไทไม่มีหนี้สินติดค้างใคร
58
กามโภคีสุข ๔
๔. อนวัชชรสุข สุขเกิดจากความประพฤติที่ไม่มีโทษ คือว่า ตนมี
ความประพฤติสุจริต ไม่ประพฤติบกพร่องเสียหาย ใครๆ ติเตียน
ไม่ได้ทั้งทางกาย วาจา ใจ
59
พุทธศาสนสุภาษิต
“วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา”
เกิดเป็นคนต้องพยายามร่าไป
จนกว่าจะได้บรรลุสิ่งที่ตั้งเป้ าหมายไว้
60
หากผิดพลาดประการใด
ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
สวัสดีครับ / สวัสดีค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
Panomporn Chinchana
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
พัน พัน
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
Thanawut Rattanadon
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
Physics Lek
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Nonsawan Exschool
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
Prachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
Panomporn Chinchana
 

What's hot (20)

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 

Viewers also liked

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
Padvee Academy
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
Padvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Padvee Academy
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
Padvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
Padvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 

Similar to หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ

9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf
ThawatchaiArkonkaew
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineChawalit Jit
 

Similar to หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ (10)

9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ