SlideShare a Scribd company logo
ธรรมะเสวนา
พระพุทธ และพระธรรม
ปฐมพุทธภาษิตคาถา ที่สุดแหงการทองเที่ยว
เมื่อเรายังไมคนพบญาณ ทองเที่ยวไปในวัฏสงสารเปนอเนกชาติ
แสวงหาอยูนายชางปลูกเรือน การเกิดทุกคราเปนทุกขร่ําไป
นี่แนะนายชางปลูกเรือน เราพบเจาแลว
เจาทําเรือนใหเราไมไดอีกตอไป
โครงเรือนของเจา เราก็รื้อเสียแลว
ยอดเรือนเราก็หักเสียแลว
จิตของเราไดถึงแลวซึงวา วิสังขารคืออะไร
                       ่
อะไร อะไร ก็ปรุงแตงไมไดอีกตอไป
มันไดถึงแลวซึ่งความสิ้นไปแหงตัณหา คือ พระนิพพาน
พระพุทธเจาทรงขนานนามพระองคเองวา “พุทธะ”
          การสนทนากับโทณพราหมณ
    เปรียบเหมือนดอกบัวเขียว บัวหลวงหรือบัวขาว
    มันเกิดในน้า เจริญในน้า โผลขึ้นพนน้ํา
                 ํ             ํ
    ตั้งอยูโดย น้ําไมเปยกติดมันได ฉันใดก็ฉนนัน
                                              ั ้
    เรานี้เกิดในโลก เจริญในโลกก็จริง
    แตเราครอบงําโลกเสียไดแลว และอยูในโลก
    โลกไมฉาบทาแปดเปอน เราได
    ทานจงจําเราไววาเปน “พุทธะ” ดังนีเ้ ถิด
พระพุทธเจาไมทรงติดแมในนิพพาน
ภิกษุทั้งหลาย แมตถาคตผูเปนพระอรหันตตรัสรูชอบเอง
ก็รูชัดซึ่งนิพพาน ตามความเปนนิพพาน
ครั้นรูนิพพานตามความเปนนิพพานแลว
ก็ไมทําความมั่นหมายซึ่งนิพพาน
ไมทําความมั่นหมายในนิพพาน
ไมทําความมั่นหมายโดยความเปนนิพพาน
ไมทําความมั่นหมายวา “นิพพานเปนของเรา”
ไมเพลิดเพลินลุมหลงในนิพพาน
ขอนี้เพราะเหตุไรเลา เพราะเหตุวา
นิพพานนั้น เปนสิ่งที่ตถาคตกําหนดรูทั่วถึงแลว
อริยสัจ 4 ความจริงที่ประเสริฐและทําใหคนเปนอริยะ
1. ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยาก ภาวะที่ทนอยูในสภาพเดิมไมได เชน
   การเกิด การแก การเจ็บปวย การตาย การพลัดพราก ความไมสมหวัง
2. สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดทุกข ไดแก ตัณหา คือ ความอยาก 3 ประการ
   ความอยากในกาม. ความอยากเปน, ความไมอยากเปน
3. นิโรธ คือ ความดับทุกข หรือ นิพพาน
4. มรรค คือ หนทางดับทุกข มี 8 ประการ ไดแก เห็นชอบ คิดชอบ
   วาจาชอบ ประพฤติชอบ อาชีพชอบ เพียรชอบ สติชอบ สมาธิชอบ

    อริยสัจ 4 เปนการสรุปโดยยอของปฏิจจสมุปปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ธรรมชาติแหงการอาศัยกันแลวเกิด




    ปฏิจจสมุปบาท คือ เรื่องเดียวกับ อิทัปปจจยตา
อิทัปปจจยตา ความที่มีสงนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
                       ิ่
                    อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ
                  เมื่อสิงนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี
                         ่
              อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ
        เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนีจึงเกิดขึ้น
                                                ้
                  อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ
              เมื่อสิงนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี
                      ่
               อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ
         เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนีจึงดับไป ้

 อิทัปปจจยตา คือ กฏของธรรมชาติ ความจริงแทของจักรวาล
คาถาที่พระอัสสชิ กลาวกับ อุปติสสะมานพ
      เย ธัมมา เหตุปปะภะวา
      เตสัง เหตุง ตะถาคะโต
      เตสัญจะ โย นิโรโธจะ
      เอวัง วาที มะหาสะมะโณ
      ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ
      พระตถาคตทรงแสดงเหตุแหงธรรมเหลานั้น
      และความดับแหงธรรมเหลานั้น
      พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอยางนี้
สติปฏฐาน 4
สติปฏฐาน 4 หมายถึง การระลึกรูและใชปญญาพิจารณาตามความเปนจริง
โดยกําหนดที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง 4 ประการ
1. กายานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรู และ พิจารณากาย
2. เวทนานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาเวทนา
3. จิตตานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาจิต
4. ธรรมมานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาสภาวะธรรม
ขันธ 5
ขันธ 5 หมายถึง รางกายของคนเรา ซึ่งแยกเปนสวนๆ ได 5 สวน คือ
1. รูป ไดแก สวนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ เชน ตา หู จมูก ลิ้น
   กาย ผม ขน เล็บ ฟน ผิวหนัง อวัยวะภายในภายนอก
2. เวทนา ไดแก ความรูสึกชอบ ไมชอบ หรือ เฉยๆ
3. สัญญา ไดแก ความจําสิ่งที่ไดสัมผัส และ รูสึก
4. สังขาร ไดแก การปรุงแตง แยกแยะ ตัดสิน เมื่อเกิดความรูสึกและมี
                                                               
   ความจํา
5. วิญญาณ ไดแก การรับรู ที่เกิดขึ้นเมื่อรางกายสัมผัสกับสิ่งภายนอก
    เชน เมื่อตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น ลิ้นไดรส กายสัมผัส
อิทธิบาท 4
อิทธิบาท 4 หมายถึง ฐานหรือหนทางสูความสําเร็จ มี 4 ประการ คือ
1. ฉันทะ
   ไดแก ความพอใจที่จะทํา และตองการทําใหไดผลดียิ่งๆขึ้นไป
2. วิริยะ
   ไดแก ความเพียร ความขยัน ความเขมแข็ อดทน ความไมทอถอย
3. จิตตะ
   ไดแก ความตั้งใจทํา อยางมุงมัน เอาใจใส
                                   ่
4. วิมังสา
   ไดแก ความไตรตรอง พิจารณา วิเคราะห วางแผน ปรับปรุง
พรหมวิหาร 4
พรหมวิหาร หมายถึง หลักธรรมอันเปนที่ตั้งของพรหม 4 ประการ คือ
1. เมตตา ไดแก ความปรารถนาอยากใหผูอื่นมีความสุข
2. กรุณา ไดแก ความปรารถนาอยากใหผูอื่นพนทุกข
3. มุทตา ไดแก ความยินดีที่ผูอนมีความสุขในทางที่เปนกุศล
       ิ                        ื่
4. อุเบกขา ไดแก การวางจิตเปนกลาง โดยเฉพาะเมื่อผูอื่นมีทุกข
มงคล 38 ประการ
เปน พระสูตรทีพระพุทธเจาตรัสสั่งสอน เพื่อใหการดําเนินชีวิตประสบความสุข มีความ
               ่
เจริญกาวหนา 38 ขอ ดังนี้
 1.ไมคบคนพาล                   14. ทํางานไมคั่งคาง          26. ฟงธรรมตามกาล
 2. คบบัณฑิต                    15. ใหทาน                     27. มีความอดทน
 3. บูชาบุคคลที่ควรบูชา         16. ประพฤติธรรม                28. เปนผูวางายสอนงาย
 4. อยูในถิ่นทีเ่ หมาะสม                                      29.พบและดูแลสมณะ
                                17. สงเคราะหญาติ
 5.มีบุญหรือความดีสะสมไวกอน                                  30. สนทนาธรรมตามกาล
 6. ตั้งตนไวชอบ                18. ทํางานที่ไมมีโทษ          31. มีความเพียรเผากิเลส
 7. เปนพหูสูตร                 19. เวนจากการทําบาป           32. ประพฤติพรหมจรรย
 8. รอบรูในศิลปะ               20. สํารวมจากาการดื่มน้ําเมา   33. เห็นอริยสัจ
 9. มีระเบียบวินัย              21. ไมประมาทในธรรมทั้งหลาย    34. ทําพระนิพพานใหแจง
 10.มีวาจาสุภาษิต               22. มีความเคารพนอบนอม         35. มีจิตไมหวั่นไหวในโลกธรรม
 11. บํารุงมารดาบิดา            23. มีความสุภาพถอมตน          36. มีจิตไมโศกเศรา
 12. สงเคราะหบุตร              24. มีความสันโดษ               37. มีจิตปราศจากธุลี
 13.สงเคราะหภรรยา              25. มีความกตัญู               38. มีจิตเกษม
กาลามสูตร
กาลามสูตร เปน พระสูตรที่พระพุทธเจาทรงแสดงแกชาวกาลามะ หมูบานเกสป
ตติยนิคม แควนโกศล เพื่อแนะนํา ไมใหเชื่อสิ่งตางๆ อยางงมงาย โดยไมใชปญญา
พิจารณาหรือลองปฏิบัติดูกอน มีอยู 10 ประการ คือ
1. อยาเพิ่งเชื่อตามที่ฟงตอๆ กันมา
2. อยาเพิ่งเชื่อตามที่ทําตอๆ กันมา
3. อยาเพิ่งเชื่อตามคําเลาลือ
4. อยาเพิ่งเชื่อโดยอางตํารา
5. อยาเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา
6. อยาเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา
7. อยาเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล
8. อยาเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน
9. อยาเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณที่ควรเชื่อได
10. อยาเพิ่งเชื่อเพราะผูพูดเปนครูบาอาจารยของตน
พระพุทธโอวาท กอนปรินิพพาน
“ดูกอนอานนท ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราไดแสดงไว และ บัญญัติไว
ดวยดี นั่นแหละจักเปนพระศาสดาของพวกทานสืบแทนเราตถาคต
เมื่อเราลวงไป แลว"
"ภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้เราขอเตือน พวกทานใหรวา สิ่งทั้งหลายที่
                                               ู
เกิดมาในโลก มีความเสื่อมสลายเปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทํา
หนาที่อันเปน ประโยชนแกตนและคนอื่น ใหสําเร็จบริบูรณดวย
ความไมประมาทเถิด"

More Related Content

What's hot

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
Padvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
Padvee Academy
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
Padvee Academy
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
Punya Benja
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 

What's hot (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Similar to ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม

หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
Panuwat Beforetwo
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
Prachyanun Nilsook
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
niralai
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
Sombat Nakasathien
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
niralai
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 

Similar to ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม (20)

หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 

More from Taweedham Dhamtawee

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
Taweedham Dhamtawee
 
Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12
Taweedham Dhamtawee
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
Taweedham Dhamtawee
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
Taweedham Dhamtawee
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
Taweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 

More from Taweedham Dhamtawee (7)

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
 
Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 

ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม

  • 2.
  • 3. ปฐมพุทธภาษิตคาถา ที่สุดแหงการทองเที่ยว เมื่อเรายังไมคนพบญาณ ทองเที่ยวไปในวัฏสงสารเปนอเนกชาติ แสวงหาอยูนายชางปลูกเรือน การเกิดทุกคราเปนทุกขร่ําไป นี่แนะนายชางปลูกเรือน เราพบเจาแลว เจาทําเรือนใหเราไมไดอีกตอไป โครงเรือนของเจา เราก็รื้อเสียแลว ยอดเรือนเราก็หักเสียแลว จิตของเราไดถึงแลวซึงวา วิสังขารคืออะไร ่ อะไร อะไร ก็ปรุงแตงไมไดอีกตอไป มันไดถึงแลวซึ่งความสิ้นไปแหงตัณหา คือ พระนิพพาน
  • 4. พระพุทธเจาทรงขนานนามพระองคเองวา “พุทธะ” การสนทนากับโทณพราหมณ เปรียบเหมือนดอกบัวเขียว บัวหลวงหรือบัวขาว มันเกิดในน้า เจริญในน้า โผลขึ้นพนน้ํา ํ ํ ตั้งอยูโดย น้ําไมเปยกติดมันได ฉันใดก็ฉนนัน ั ้ เรานี้เกิดในโลก เจริญในโลกก็จริง แตเราครอบงําโลกเสียไดแลว และอยูในโลก โลกไมฉาบทาแปดเปอน เราได ทานจงจําเราไววาเปน “พุทธะ” ดังนีเ้ ถิด
  • 5. พระพุทธเจาไมทรงติดแมในนิพพาน ภิกษุทั้งหลาย แมตถาคตผูเปนพระอรหันตตรัสรูชอบเอง ก็รูชัดซึ่งนิพพาน ตามความเปนนิพพาน ครั้นรูนิพพานตามความเปนนิพพานแลว ก็ไมทําความมั่นหมายซึ่งนิพพาน ไมทําความมั่นหมายในนิพพาน ไมทําความมั่นหมายโดยความเปนนิพพาน ไมทําความมั่นหมายวา “นิพพานเปนของเรา” ไมเพลิดเพลินลุมหลงในนิพพาน ขอนี้เพราะเหตุไรเลา เพราะเหตุวา นิพพานนั้น เปนสิ่งที่ตถาคตกําหนดรูทั่วถึงแลว
  • 6. อริยสัจ 4 ความจริงที่ประเสริฐและทําใหคนเปนอริยะ 1. ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยาก ภาวะที่ทนอยูในสภาพเดิมไมได เชน การเกิด การแก การเจ็บปวย การตาย การพลัดพราก ความไมสมหวัง 2. สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดทุกข ไดแก ตัณหา คือ ความอยาก 3 ประการ ความอยากในกาม. ความอยากเปน, ความไมอยากเปน 3. นิโรธ คือ ความดับทุกข หรือ นิพพาน 4. มรรค คือ หนทางดับทุกข มี 8 ประการ ไดแก เห็นชอบ คิดชอบ วาจาชอบ ประพฤติชอบ อาชีพชอบ เพียรชอบ สติชอบ สมาธิชอบ อริยสัจ 4 เปนการสรุปโดยยอของปฏิจจสมุปปบาท
  • 7. ปฏิจจสมุปบาท ธรรมชาติแหงการอาศัยกันแลวเกิด ปฏิจจสมุปบาท คือ เรื่องเดียวกับ อิทัปปจจยตา
  • 8. อิทัปปจจยตา ความที่มีสงนี้เปนปจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น ิ่ อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิงนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี ่ อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนีจึงเกิดขึ้น ้ อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิงนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี ่ อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนีจึงดับไป ้ อิทัปปจจยตา คือ กฏของธรรมชาติ ความจริงแทของจักรวาล
  • 9. คาถาที่พระอัสสชิ กลาวกับ อุปติสสะมานพ เย ธัมมา เหตุปปะภะวา เตสัง เหตุง ตะถาคะโต เตสัญจะ โย นิโรโธจะ เอวัง วาที มะหาสะมะโณ ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแหงธรรมเหลานั้น และความดับแหงธรรมเหลานั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอยางนี้
  • 10. สติปฏฐาน 4 สติปฏฐาน 4 หมายถึง การระลึกรูและใชปญญาพิจารณาตามความเปนจริง โดยกําหนดที่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง 4 ประการ 1. กายานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรู และ พิจารณากาย 2. เวทนานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาเวทนา 3. จิตตานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาจิต 4. ธรรมมานุปสสนา ไดแก การมีสติระลึกรูและพิจารณาสภาวะธรรม
  • 11. ขันธ 5 ขันธ 5 หมายถึง รางกายของคนเรา ซึ่งแยกเปนสวนๆ ได 5 สวน คือ 1. รูป ไดแก สวนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ เชน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ผม ขน เล็บ ฟน ผิวหนัง อวัยวะภายในภายนอก 2. เวทนา ไดแก ความรูสึกชอบ ไมชอบ หรือ เฉยๆ 3. สัญญา ไดแก ความจําสิ่งที่ไดสัมผัส และ รูสึก 4. สังขาร ไดแก การปรุงแตง แยกแยะ ตัดสิน เมื่อเกิดความรูสึกและมี  ความจํา 5. วิญญาณ ไดแก การรับรู ที่เกิดขึ้นเมื่อรางกายสัมผัสกับสิ่งภายนอก เชน เมื่อตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น ลิ้นไดรส กายสัมผัส
  • 12. อิทธิบาท 4 อิทธิบาท 4 หมายถึง ฐานหรือหนทางสูความสําเร็จ มี 4 ประการ คือ 1. ฉันทะ ไดแก ความพอใจที่จะทํา และตองการทําใหไดผลดียิ่งๆขึ้นไป 2. วิริยะ ไดแก ความเพียร ความขยัน ความเขมแข็ อดทน ความไมทอถอย 3. จิตตะ ไดแก ความตั้งใจทํา อยางมุงมัน เอาใจใส ่ 4. วิมังสา ไดแก ความไตรตรอง พิจารณา วิเคราะห วางแผน ปรับปรุง
  • 13. พรหมวิหาร 4 พรหมวิหาร หมายถึง หลักธรรมอันเปนที่ตั้งของพรหม 4 ประการ คือ 1. เมตตา ไดแก ความปรารถนาอยากใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ไดแก ความปรารถนาอยากใหผูอื่นพนทุกข 3. มุทตา ไดแก ความยินดีที่ผูอนมีความสุขในทางที่เปนกุศล ิ ื่ 4. อุเบกขา ไดแก การวางจิตเปนกลาง โดยเฉพาะเมื่อผูอื่นมีทุกข
  • 14. มงคล 38 ประการ เปน พระสูตรทีพระพุทธเจาตรัสสั่งสอน เพื่อใหการดําเนินชีวิตประสบความสุข มีความ ่ เจริญกาวหนา 38 ขอ ดังนี้ 1.ไมคบคนพาล 14. ทํางานไมคั่งคาง 26. ฟงธรรมตามกาล 2. คบบัณฑิต 15. ใหทาน 27. มีความอดทน 3. บูชาบุคคลที่ควรบูชา 16. ประพฤติธรรม 28. เปนผูวางายสอนงาย 4. อยูในถิ่นทีเ่ หมาะสม 29.พบและดูแลสมณะ 17. สงเคราะหญาติ 5.มีบุญหรือความดีสะสมไวกอน 30. สนทนาธรรมตามกาล 6. ตั้งตนไวชอบ 18. ทํางานที่ไมมีโทษ 31. มีความเพียรเผากิเลส 7. เปนพหูสูตร 19. เวนจากการทําบาป 32. ประพฤติพรหมจรรย 8. รอบรูในศิลปะ 20. สํารวมจากาการดื่มน้ําเมา 33. เห็นอริยสัจ 9. มีระเบียบวินัย 21. ไมประมาทในธรรมทั้งหลาย 34. ทําพระนิพพานใหแจง 10.มีวาจาสุภาษิต 22. มีความเคารพนอบนอม 35. มีจิตไมหวั่นไหวในโลกธรรม 11. บํารุงมารดาบิดา 23. มีความสุภาพถอมตน 36. มีจิตไมโศกเศรา 12. สงเคราะหบุตร 24. มีความสันโดษ 37. มีจิตปราศจากธุลี 13.สงเคราะหภรรยา 25. มีความกตัญู 38. มีจิตเกษม
  • 15. กาลามสูตร กาลามสูตร เปน พระสูตรที่พระพุทธเจาทรงแสดงแกชาวกาลามะ หมูบานเกสป ตติยนิคม แควนโกศล เพื่อแนะนํา ไมใหเชื่อสิ่งตางๆ อยางงมงาย โดยไมใชปญญา พิจารณาหรือลองปฏิบัติดูกอน มีอยู 10 ประการ คือ 1. อยาเพิ่งเชื่อตามที่ฟงตอๆ กันมา 2. อยาเพิ่งเชื่อตามที่ทําตอๆ กันมา 3. อยาเพิ่งเชื่อตามคําเลาลือ 4. อยาเพิ่งเชื่อโดยอางตํารา 5. อยาเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา 6. อยาเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา 7. อยาเพิ่งเชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล 8. อยาเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน 9. อยาเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณที่ควรเชื่อได 10. อยาเพิ่งเชื่อเพราะผูพูดเปนครูบาอาจารยของตน
  • 16. พระพุทธโอวาท กอนปรินิพพาน “ดูกอนอานนท ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราไดแสดงไว และ บัญญัติไว ดวยดี นั่นแหละจักเปนพระศาสดาของพวกทานสืบแทนเราตถาคต เมื่อเราลวงไป แลว" "ภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้เราขอเตือน พวกทานใหรวา สิ่งทั้งหลายที่ ู เกิดมาในโลก มีความเสื่อมสลายเปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทํา หนาที่อันเปน ประโยชนแกตนและคนอื่น ใหสําเร็จบริบูรณดวย ความไมประมาทเถิด"