SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 
ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
นักเรียนคิดว่า ในการเล่นกีฬาดังภาพผู้เล่นต้องอาศัยพลังงาน และการ
ทางานที่สัมพันธ์ของระบบต่างๆ พลังงานเหล่านั้นมาจากไหน และระบบ
ต่างๆทางานสัมพันธ์กันอย่างไร
นักเรียนคิดว่า ในการเล่นกีฬาดังภาพผู้เล่นต้องอาศัยพลังงาน และการ
ทางานที่สัมพันธ์ของระบบต่างๆ พลังงานเหล่านั้นมาจากไหน และระบบ
ต่างๆทางานสัมพันธ์กันอย่างไร
ในการทากิจกรรมใดๆ ก็ตามต้องอาศัย...
การทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่างๆในร่างกาย
รวมถึงต้องใช้สิ่งสาคัญที่เรียกว่า..“พลังงาน”
“อาหารถือ เป็นแหล่งพลังงานของร่างกาย”
ระบบย่อยอาหาร(DigestionSystem)
คือ กระบวนการที่ร่างกายเปลี่ยนสภาพอาหารให้มีขนาดเล็ก
พอที่ร่างกายจะดูดซึม และนาไปใช้ได้ (หน่วยย่อยของอาหาร)
4.1การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
4.1การย่อยอาหารของจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ราและแบคทีเรีย มีการย่อยแบบภายนอกเซลล์ (Extracellulardigestion)
 โดยจะส่งน้าย่อยออกย่อยให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กก่อนแล้วจึงดูดซึมเข้าเซลล์
ราและแบคทีเรีย
เซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic Cell)
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
อะมีบา พารามีเซียม มีการย่อยแบบภายในเซลล์ (Intracellulardigestion)
 โดยจะมีวิธีการนาอาการเข้าที่ต่างกัน เช่นอะมีบาใช้วิธีฟาโกไซโตซิส
ส่วนพารามีเซียมอาหารจะเข้าทางร่องปาก โดยวิธีพิโนไซโทซิส
เข้ามาในรูปแบบของ Food Vacuole แล้วถูกย่อยโดยไลโซโซมต่อไป
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การย่อยอาหารของอะมีบา
การย่อยอาหารของอะมีบา
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
สรุปการย่อยอาหารของจุลินทรีย์
ชนิดสิ่งมีชีวิต
ระบบทางเดิน
อาหาร
วิธีการกิน ลักษณะการย่อยอาหาร
รา และแบคทีเรีย ไม่มี
การย่อยอาหารนอก
เซลล์
สร้างน้าย่อยออกมา แล้วส่งไป
นอกเซลล์เพื่อสารโมเลกุลใหญ่ใน
เล็กลง แล้วดูดซึมเข้าเซลล์
อะมีบา ไม่มี ฟาโกไซโทซิส ย่อยในฟูดแวคิวโอล
พารามีเซียม ไม่มี
พิโนไซโทซิสโดยการ
พัดโบกของซีเลีย
ย่อยในฟูดแวคิวโอล
4.2การย่อยอาหารของสัตว์
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
1) ฟองน้ำ (Sponge)
ลาตัวมีรูโดยรอบ มีช่องว่างกลางลาตัว ที่ผนังด้านในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร
เซลล์โคเอโนไซต์ (Choanocyte) มีแฟลกเจลลัมคอยพัดโบกอาหาร (<1 ไมครอน)
แล้วนาเข้าเซลล์ โดยวิธีฟาโกไซโตซิส
เซลล์อะมิโบไซต์ จานาอาหาร (5-50 ไมครอน) โดยวิธีฟาโกไซโตซิสเช่นกัน
เพิ่มเติม
อาหารของฟองน้าได้แก่ แบคทีเรีย และอินทรียสารต่างๆ
ถือว่าไม่มีทางเดินอาหาร น้าเข้าทางรูด้านข้าง เรียกว่า “ออสเทีย”
และออกทางรูด้านบนเรียกว่า “ออสคิวลัม”
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
2)ไฮดรา( Hydra)
มีทางเดินอาหารเป็นแบบปากถุงมีเข็มพิษ(Nematocyst)อยู่บริเวณหนวด(Tentacle)
อาหารจะเข้าสู่ เข้าสู่ช่องกลางลาตัว (GastrovascularCavity)
ที่ผนังด้านในประกอบด้วยเซลล์ ที่เรียกว่า แกสโตรโดรมิส (Gastrodermis)
อาหารของไฮดราคือ ตัวอ่อนของกุ้ง ปู และไรน้าเล็กๆ
 ไฮดรำ
แกสโตรโดรมิส(Gastrodermis)
1)นิวทริทิพเซลล์(Nutritivecell)
บางเซลล์มีแซ่2 เส้นเรียกว่าแฟลเจลเลตเซลล์(Flagellatecell)
 บางเซลล์คล้ายอะมีบาเรียกว่าอะมีบอยด์เซลล์(Amoebiolcell)
จะย่อยอาหารโดยใช้รูปแบบฟาโกไซโทซิส(หลังจากเซลล์ต่อมย่อยแล้ว)
2) เซลล์ต่อมหรือเซลล์ย่อยอาหาร (Glandcellordigestivecell)
 เป็นเซลล์ที่สร้างน้าย่อยและปล่อยออกมา จัดเป็นการย่อยอาหารแบบนอกเซลล์
เมื่ออาหารมีขนาดเล็กลงก็จะถูกนิวทริทิพเซลล์นาไปย่อยภายในเซลล์ต่อไป
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
3)หนอนตัวแบน( Flatworm)
เช่น พลานาเรียจะมีทางเดินอาหารทอดยาวและแตกแขนงไปตามลาตัว
จะมีปาก และคอยหอย ยื่นออกมาเป็นท่อ เพื่อเป็นทางเข้าของอาหาร
ของเสียหรือกากอาหาก็จะออกทางปาก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
3)หนอนตัวแบน( Flatworm)
4) ไส้เดือนดิน(Earthworm)
มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบช่องเปิด2 ทาง ประกอบด้วยปากซึ่งเป็นรูเปิดของปล้องที่หนึ่ง
 ต่อจากปากก็จะเป็นช่องปาก คอหอยมีกล้ามเนื้อหนาช่วยในการฮุบกิน
กระเพาะพักอาหารและมีกึ๋นช่วยในการบดอาหารลาไส้ย่อยอาหารและดูดซึมเข้าสู่ระบบเลือด
 และปล่อยของเสียออกทางทวารหนัก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
4) ไส้เดือนดิน(Earthworm)
ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพักอาหาร
กึ๋น ลาไส้ ทวารหนัก
5) แมลง(Insect)
ทางเดินอาหารแบบช่องเปิด2 ทาง ปากมีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างออกไปเช่นกัด/ดูด
 พื้นฐานของทางเดินอาหารที่เหมือนกันคือปากคอหอยหลอดอาหารกระเพาะพักอาหารกึ๋น
กระเพาะอาหารลาไส้และทวารหนัก
5) แมลง(Insect)
6) การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
6) การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
การมีทางเดินอาหารที่ยาวมากๆยาวถึงเกือบ40เมตร
ทาให้ระยะเวลาในการย่อยและการดูดซึมสารอาหารนานยิ่งขึ้น(ต้องใช้จุลินทรีย์ช่วยย่อย)
มีกระเพาะอาหาร4 ส่วนคือกระเพาะผ้าขี้ริ้ว(Rumen),กระเพาะรังผึ้ง(reticulum),
กระเพาะสามสิบกลีบ(omasum),กระเพาะจริง(อะโบมาซัม)
6) การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
อวัยวะในระบบย่อยอาหารของคน
๑. ปากและโพรงปาก
เป็นอวัยวะส่วนแรกของระบบทางเดินอาหาร มีหน้าที่เป็นทางเข้าของอาหาร
เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก จะถูกบดด้วยฟัน มีลิ้นช่วยคลุกเคล้าอาหารให้เข้าน้้าลาย
๑.๑ ฟัน (Teeth)
มีหน้าที่ในการตัด ฉีก และบดอาหาร
แบ่งเป็น ฟันตัด ฟันฉีก ฟันกรามหน้า ฟันกรามหลัง
๑.๒ ลิ้น (Tongue)
 บอกต้าแหน่งอาหาร กลืนอาหารและเปล่งเสียง
และมีหน่วยรับรู้สารเคมี ในการรับรสอาหาร และคลุกเคล้าอาหารให้เป็นก้อน แล้วช่วย
ส่งอาหารเข้าสู่ทางเดินอาหาร
๑.๓ ต่อมน้้าลาย
 สร้างน้้าลาย(Saliva) ซึ่งประกอบด้วย เอนไซม์ อะไมเลส น้้า และเมือก
มี ๓ คู่ คือ ต่อมน้้าลายใต้ลิ้นต่อมน้้าลายใต้ขากรรไกรและต่อมน้้าลายข้างกกหู
การหลั่งน้้าลาย
 การหลั่งน้้าลายออกมาวันละ ๑,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร
 จะเกิดเมื่อระบบประสาทถูกกระตุ้น เช่น การมองเห็นอาหาร กลิ่นอาหาร รสอาหาร
หรือความนึกถึงอาหาร
คอหอย (Pharynx)
เป็นจุดเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับปาก
 เมื่อเริ่มการกลืน เพดานอ่อน ยกขึ้นปิดช่องจมูก ฝาปิดกล่องเสียง จะปิดหลอดลม
คอหอย (Pharynx)
 หลอดอาหาร (Esophagus)
ยาวประมาณ 25 ซม. ไม่มีต่อมที่ท้าหน้าที่สร้างน้้าย่อย
 เกิดการหดตัวเป็นลูกคลื่นของผนังกล้ามเนื้อหลอดอาหาร เรียกว่า เพอริสทัลซิส ไล่ให้
อาหารตกลงสู่กระเพาะอาหาร
 กระเพาะอาหาร (Stomach)
 อยู่ภายในช่องท้องด้านซ้ายใต้กะบังลม ยืดขยายได้ดี แข็งแรงมาก สามารถขยายความจุ
ได้ถึง ๕๐๐ – ๒,๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร
 กล้ามเนื้อหูรูดอยู่ ๒ แห่ง คือที่ต่อกับหลอดอาหาร และที่ต่อกับล้าไส้เล็ก
พบเอนไซม์ที่ส้าคัญ 2 ชนิด คือ เปบซิน และเรนนิน
 กระเพาะอาหาร (Stomach)
มีเซลล์ส้าคัญ 3 เซลล์ สร้างเมือก สร้างไฮโดรคลอริก และเพปซิโนเจน
 เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะอาหารจะหลั่งฮอร์โมนแกสตริน กระตุ้นการสร้างไฮโดรคลอริก
ซึ่งจะเปลี่ยนเพปซิโนเจน เป็นเปบซินที่พร้อมย่อยโปรตีน
ส่วนเมือกจะช่วยเคลือบเยื่อบุกระเพาะอาหารไว้ ไม่ให้ถูกท้าลาย
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร
เซลล์ของกระเพาะอาหารถูกท้าลายตลอดเวลา แต่ก็สร้างทดแทนตลอดเวลา
 การเกิดแผล เกิดจากกินอาหารไม่ตรงเวลา
การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนท้าให้การสร้างเมือกน้อยกว่าปกติ
และการพักผ่อนไม่เพียงพอส่งผลต่อการสร้างกรดไฮโดรคลอริกมากกว่าปกติ
ล้าไส้เล็ก (Small intestine)
มีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ ๖ – ๗ เมตร กว้าง ๒.๕ เซนติเมตร
 แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ดูโอดีนัม (Duodenum) ยาวประมาณ ๒๕ เซนติเมตร เจจูนัม
(Jejunum) ยาวประมาณ ๒.๕ เมตร และไอเลียม(Ileum) ยาวประมาณ ๔ เมตร
เมื่ออาหารถึงดูโอดีนัมจะสร้างฮอร์โมนให้ตับอ่อนสร้าง NaHCo3 เพื่อลดความเป็นกรด
ล้าไส้เล็ก (Small intestine)
 ผนังมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ เรียกว่า วิลลัส (Villus)
เอนไซม์ที่สร้างเอง ได้แก่ มอลเทส ซูเครส แลกเทสและ และ อะมิโนเปบติเดส
เอนไซม์ที่ตับอ่อนสร้างอะไมเลส ไลเปส ทริปซิน คาร์บอกซิเพปทิเดส ส่วนตับจะผลิตน้้าดี
ถือเป็นอวัยวะที่มีการย่อยและดูดซึมมากที่สุด (เจจูนัม)
 ล้าไส้ใหญ่ (Large intestine)
- กากอาหาร รวมทั้งน้้า วิตามิน และแร่ธาตุบางส่วนที่ไม่ถูกดูดซึมจะเข้าสู่ล้าไส้ใหญ่
- ล้าไส้ใหญ่ของคนยาวประมาณ ๑.๕๐ เมตร กว้าง ประมาณ 2.5 ซม.
- ประกอบด้วย ซีกัม(Caecum) โคลอน (Colon) และ ไส้ตรง(Rectum)
- มีหน้าที่ดูดซึมน้้าและวิตามินบี ๑๒ และส่งกากอาหารออกทางไส้ตรงต่อไป
 ทวารหนัก (Anus)
-เป็นกล้ามเนื้อหูรูด ๒ ชั้น กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอันในท้างานนอกอ้านาจจิตใจ
- จะเปิดออกเมื่อกากอาหารถูกส่งเข้าสู่ไส้ตรงจะมีปฏิกิริยารีเฟ็กซ์กระตุ้น
- แต่กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอันนอกเปิดออกเมื่อร่างกายต้องการ

More Related Content

What's hot

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 

Similar to บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร

ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ssuser2feafc1
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
Ta Lattapol
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายsaengthawan
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
O-SOT Kanesuna POTATO
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
capchampz
 

Similar to บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
Pinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร