SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
Digestive system
การย่อยอาหาร (Digestion) คือ กระบวนการแปรสภาพสารอาหารโมเลกุลใหญ่ให้มี
ขนาดเล็กลง เพื่อการดูดซึมเข้าสู่เซลล์
Digestive system Digestion
การจาแนกสิ่งมีชีวิตตามการได้มาซึ่งอาหารและพลังงาน
Autotroph : สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้ด้วย
ตนเอง โดยการเปลี่ยนสารอนินทรีย์เป็น
สารอินทรีย์ ผ่านการสังเคราะห์ด้วยแสง
(photosynthesis) หรือ การสังเคราะห์
ด้วยปฏิกิริยาเคมี (chemosynthesis)
Heterotroph : สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเอง
ไม่ได้ ต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ซึ่ง
สิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้จะทาหน้าที่เป็น
ผู้บริโภค (consumer) และ ผู้ย่อยสลาย
สารอินทรีย์ (decomposer) ในระบบนิเวศ
ผู้บริโภค (consumer)
สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เช่น มนุษย์
สัตว์ต่าง ๆ ซึ่งถ้าพิจารณาอาหารที่ผู้บริโภคกิน จะสามารถแบ่งกลุ่มผู้บริโภคออก
เป็น 4 ประเภท ได้แก่
o สิ่งมีชีวิตกินพืช (herbivore) เช่น วัว ช้าง
o สิ่งมีชีวิตกินสัตว์ (carnivore) เช่น เสือดาว สิงโต
o สิ่งมีชีวิตกินพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น ไก่ มนุษย์
o สัตว์กินซาก (scavenger) เช่น แร้ง
Digestive system Digestion
ประเภทของการย่อยอาหาร
การย่อยภายในเซลล์
(Intracellular digestion)
การที่เซลล์นาอาหารเข้าสู่เซลล์ในรูปของ
ถุงอาหาร (food vacuole) แล้วเกิดการ
ย่อยภายในเซลล์โดย enzyme จาก
lysosome
Digestive system Digestion
การย่อยภายนอกเซลล์
(Extracellular digestion)
การที่เซลล์ขับน้าย่อย (enzyme) ออกมา
ย่อยอาหารภายนอกเซลล์ ให้กลายเป็น
โมเลกุลเล็ก ๆ แล้วดูดซึมไปใช้ประโยชน์
ต่อไป
ประเภทของการย่อยอาหาร
การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion)
เป็นกระบวนการทาให้อาหารมีขนาดเล็ก
ลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่และ
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไป โดยการบด
เคี้ยว รวมทั้งการบีบตัวของทางเดิน
อาหาร ยังไม่สามารถทาให้อาหารมีขนาด
เล็กสุด จึงไม่สามารถดูดซึมเข้าเซลล์ได้
Digestive system Digestion
การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion)
เป็นการย่อยอาหารให้มีขนาดเล็กที่สุด
โดยการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง อาหาร
กับ น้า โดยตรง และจะใช้เอนไซม์หรือ
น้าย่อยเข้าเร่งปฏิกิริยา ผลจากการย่อย
ทางเคมีเมื่อถึงจุดสุดท้าย จะได้สาร
โมเลกุลเล็กที่สุดที่สามารถดูดซึมเข้าสู่
เซลล์ได้
ประเภทของทางเดินอาหาร
ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
(Incomplete digestive tract)
เป็นทางเดินอาหารที่มีทางเปิดทางเดียว
คือ มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก ปากทาหน้าที่
เป็นทางเข้าของอาหารและทางออกของ
กากอาหาร ระบบทางเดินอาหารยังไม่
พัฒนามากนัก
Digestive system Digestive tract
ทางเดินอาหารสมบูรณ์
(Complete digestive tract)
เป็นทางเดินอาหารที่มีทางเปิดสองทาง
คือ ปาก (mouth) และ ทวารหนัก (Anus)
หน้าที่ของทางเดินอาหาร
Digestive system Digestive tract
การกิน (Ingestion)
เป็นการนาอาหารเข้า
ร่างกาย
การย่อยอาหาร (Digestion)
เป็นการทาให้ได้สารอาหาร
เพื่อนาไปใช้
Mechanical digestion
Chemical digestion
การดูดซึม (Absorption)
เป็นการนาสารอาหาร
โมเลกุลเล็กเข้าสู่เซลล์ เพื่อ
เข้าสู่ระบบไหลเวียนต่อไป
การขับออก (Elimination
หรือ Egestion)
เป็นการขับสารที่ย่อยไม่ได้
ออกเป็นกากอาหาร
การทางานของทางเดินอาหาร
Digestive system Digestive tract
การเคลื่อนไหว (Motility)
เป็นการคลุกเคล้าอาหารและผลัก
อาหารให้เคลื่อนไปตาม
ทางเดินอาหาร
การหลั่ง (Secretion)
เป็นการหลั่งน้าย่อยจากต่อมมีท่อ
ตามทางเดินอาหาร
การขนส่ง (Membrane transport)
เป็นกลไกการดูดซึมสารอาหาร
รวมถึงการขนส่งไปยังหลอดเลือด
หรือท่อน้าเหลือง
Digestive system การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
แบคทีเรีย
สร้างและปล่อยเอนไซม์ออกมา
ย่อยสลายอาหารให้เป็นสาร
โมเลกุลเล็กแล้วดูดซึมเข้าสู่เซลล์
รา
สร้างและปล่อยเอนไซม์ออกมา
ย่อยสลายอาหารจนได้ให้เป็นสาร
โมเลกุลเล็ก แล้วดูดซึมเข้าสู่เซลล์
เรียกการดารงชีวิตแบบนี้ว่า
สภาวะการย่อยสลายซาก
ยีสต์
อาหารของยีสต์ส่วนใหญ่เป็นน้าตาล
โมเลกุลเดี่ยว ได้แก่ กลูโคสและ
ฟรักโทส จึงต้องมีเอนไซม์อินเวอร์เทส
ย่อยน้าตาลซูโครสให้เป็นน้าตาล
กลูโคสและฟรักโทส ก่อนดูดซึมเข้าสู่
เซลล์
อะมีบา
Digestive system การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
พารามีเซียม
Digestive system การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ฟองน้า
- อาหารเข้าสู่ร่างกายทาง Ostia และมี
Osculum ทาหน้าที่เป็นทางน้าออก
- Choanocyte ใช้ flagellum พัดโบกอาหาร
เข้าสู่เซลล์ โดยสร้าง food vacuole
- บริเวณใกล้กับเซลล์โคแอโนไซต์มีลักษณะ
คล้ายอะมีบา เรียกว่า Amoebocyte
สามารถนาสารอินทรีย์ขนาดเล็กเข้าสู่เซลล์
และย่อยอาหารภายในเซลล์แล้วส่งอาหารที่
ย่อยแล้วไปยังเซลล์อื่นได้
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ไม่มีทางเดินอาหาร
Osculum
Ostia
Choanocyte
Collar Cell
Flagellum
Food
Vacuole
Amoebocyte
ไฮดรา
กินอาหารโดยใช้ Tentacle ซึ่ง
มี เ ข็ ม พิ ษ Nematocyst จั บ
อาหารเข้าสู่ปาก เคลื่อนที่สู่
Gastrovascular cavity ซึ่งบุ
ด้วยเซลล์ทรงสูง เรียกว่าชั้น
Gastrodermis ซึ่งประกอบด้วย
- Nutritive cell
- Flagellate cell
- Amoebiol cell
- Gland cell or digestive cell
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
Tentacle
Nematocyst
Gland cell or
digestive cell
Food vacuole
Nutritive cell
Gastrovascular cavity
Gastrodermis
Epidermis
Cnidocyte
ทางเดินอาหารของพลานาเรียเป็นแบบ 3 แฉก
แต่ละแฉกจะมีแขนงของทางเดินอาหารแตก
แขนงย่อยออกไปอีกเรียกว่า Diverticulum กิน
อาหารโดยปล่อยเมือกออกมา แล้วใช้ลาตัว
คลุมลงบนเหยื่อ และจะใช้.Probosis ยื่น
ออกมาดูดของเหลวในตัวเหยื่อ หรือกลืนเหยื่อ
เข้าไปใน Gastrovascular cavity เซลล์ที่อยู่
ตามผนังทางเดินอาหาร ปล่อย enzyme
ออกมาย่อยอาหาร อาหารที่ถูกย่อยแล้วจะถูก
นาเข้าสู่เซลล์ด้วย phagocytic cell และเกิด
การย่อยภายในเซลล์ต่อไป
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
พลานาเรีย
Anterior branch of
gastrovascular cavity
Posterior branch of
gastrovascular cavity
Pharynx
Mouth & Anus
Eye
Probosis
มีทางเดินอาหารคล้ายพลานาเรีย แต่ทางเดิน
อาหารส่วนลาไส้ไม่แตกกิ่งก้านสาขา มีลักษณะ
คล้ายอักษรรูปตัววาย (Y–shape) ทางเดินอาหาร
ของพยาธิใบไม้ประกอบด้วยปากปุ่มดูด (Oral
sucker) ที่มีปากดูดกินอาหารจากโฮสต์ ต่อจาก
ปากเป็นคอหอย (Pharynx) ต่อจากคอหอยเป็น
หลอดอาหารสั้น ๆซึ่งจะต่อกับลาไส้ (Intestine)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
พยาธิใบไม้ Mouth
Gonopore
Esophagus
Muscular pharynx
Acetabulum
Intestine
Caeca
Excretory pore
ส่วนหัวมีอวัยวะดูดเกาะ
หลาย ๆ อันอยู่รอบส่วนหัว
เรียกว่า สโคเล็กซ์ (scolex)
ไม่มีทางเดินอาหาร จึงต้อง
ดูดซึมสารอาหารที่ย่อยแล้ว
จากทางเดินอาหารของ
ผู้ถูกอาศัย (Host) เข้าสู่
ร่างกายโดยไม่ต้องย่อย
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
พยาธิตัวตืด
ปาก
(Mouth)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
หนอนตัวกลม
เกิดการย่อยโดย enzyme
และการดูดซึมอาหาร
คอหอย
(Pharynx)
ลาไส้
(Intestine)
ไส้ตรง
(Rectum)
ทวารหนัก
(Anus)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
หนอนตัวกลมมีข้อปล้อง
ปาก
(mouth)
คอหอย
(pharynx)
กระเพาะพัก
(Crop)
กึ๋น
(Gizzard)
ลาไส้
(Intestine)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
ทวารหนัก
(Anus)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
หอย
ปาก
(Mouth)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
กระเพาะ
(Stomach)
ลาไส้
(Intestine)
ทวารหนัก
(Anus)
ก า ร กิ น อ า ห า ร ข อ ง ห อ ย
จะใช้ Radula หรือLabial palp
ช่วยพัดโบกให้อาหารตกลงไป
ในปาก
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
กุ้ง
ปาก
(Mouth)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
กระเพาะ
(Stomach)
ลาไส้
(Intestine)
ทวารหนัก
(Anus)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
แมลง
ปาก
(Mouth)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
กระเพาะพัก
(Crop)
กึ๋น
(Gizzard)
ทวารหนัก
(Anus)
ไส้ตรง
(Rectum)
ลาไส้
(Intestine)
กระเพาะ
(Stomach)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ปลา
มีการกินอาหารหลายแบบ ซึ่งส่งผลให้มีความแตกต่างของอวัยวะย่อยอาหาร โดยสามารถ
แบ่งออกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
ปลาปากกลมซึ่งเป็นปลาที่ไม่มี
ขากรรไกร โดยจะใช้ฟันใช้ขูดเนื้อ
และดูดกินเลือดสัตว์อื่น
ปลาฉลาม ปลากระเบนมีปากอยู่
ทางด้านล่างและมีฟันจานวนมาก
ปลาที่กินแพลงก์ตอน
มีฟันขนาดเล็ก ขากรรไกรไม่แข็งแรง
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ปลา
ปลาที่มีฟันบดที่คอหอย
(กลุ่มปลากินพืช)
ปลาที่มีปากและขากรรไกรที่แข็งแรง
(ปลานกแก้ว, ปลาสลิดหิน)
ปลาล่าเหยื่อ
ส่วนมากมีขากรรไกรแข็งแรง ฟัน
แหลมคม บางชนิดมีฟันเป็นแผง
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ปลา
ปาก
(Mouth)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
กระเพาะ
(Stomach)
ลาไส้
(Intestine)
ทวารหนัก
(Anus)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ปลาฉลาม
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
สัตว์ปีก ปาก
(Mouth)
หลอดอาหาร
(Esophagus)
กระเพาะพัก
(Crop)
กึ๋น
(Gizzard)
ทวารหนัก
(Anus)
โคเอกา
(Cloaca)
ลาไส้ใหญ่
(Large intestine)
ลาไส้เล็ก
(Small intestine)
กระเพาะย่อย
(Proventiculus)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
สัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะอาหาร 4 ส่วน
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
สัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะอาหาร 4 ส่วน
1. วัวเคี้ยว & กลืนหญ้าในรูปของ Bolus (ก้อนอาหาร)
เข้าสู่ Rumen
2. Bolus บางส่วน เคลื่อนเข้าสู่ Reticulum
3. อาหาร (cud) บางส่วนจาก (2) จะถูกนากลับออกมา
เคี้ยวใหม่ (เคี้ยวเอื้อง)
4. วัวจะกลืน cud จาก (3) เข้าสู่กระเพาะส่วน Omasum
แล้วเกิดการบีบน้าออกจากอาหารและดูดซึมน้า
5. cud ที่มีจุลินทรีย์มาก ๆ จะเคลื่อนเข้าสู่ Abomasum
ซึ่งจะเกิดการหลั่ง enzyme ออกมาย่อยอาหาร
ทั้ง Rumen & Reticulum มี symbiotic
prokaryote และ protist ทาหน้าที่ช่วยย่อย
เซลลูโลสผ่ากระบวนการหมักและ
หลั่งกรดอะมิโนออกมา
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
สัตว์เคี้ยวเอื้อง
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ทางเดินอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง
Reticulum
Omasum
Duodenum
Abomasum
Esophagus
Rumen
Gastric Groove
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ทางเดินอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง
Rumen Reticulum
Omasum Abomasum
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ชิ้นส่วนในจานนี้คืออะไร ?
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ทางเดินอาหารของมนุษย์
ปาก (Mouth )
1 เป็นจุดเริ่มต้นของทางเดินอาหาร เกิดการย่อยเชิงกลและเชิงเคมี
คอหอย (Pharynx)
2 เป็นส่วนหนึ่งของทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ
หลอดอาหาร (Esophagus)
3 ทาหน้าที่ส่งอาหารไปยังกระเพาะอาหาร
ด้วยกระบวนการ Peristalsis
กระเพาะอาหาร (Stomach)
4 เป็นบริเวณที่มีการย่อยอาหารประเภทโปรตีน
ลาไส้เล็ก (Small intestine)
5 เป็นบริเวณที่มีการย่อยอาหาร ทั้งประเภท
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
ลาไส้ใหญ่ (Large intestine)
6 เป็นบริเวณที่มีการดูดซึมน้า วิตามิน และแร่ธาตุ
ไส้ตรง (Rectum)
7 เป็นทางผ่านของกากอาหารก่อนถึงทวารหนัก
ทวาร (Anus)
8 เป็นช่องเปิดให้กากอาหารออกสู่ภายนอกร่างกาย
เพดานอ่อน (Soft palate)
อยู่ด้านบนของปากต่อจากเพดานแข็ง ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้อาหาร
ผ่านเข้าในโพรงจมูกและหลอดลม
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ช่องปาก (Oral cavity)
เพดานแข็ง (Hard palate : Bone)
ช่วยทาให้อาหารแตกตัวเวลาเคี้ยวอาหาร โดยลิ้นจะดันอาหารไปอัด
กับเพดานแข็ง
ต่อมน้าลาย (Salivary gland)
มี 3 คู่ คือบริเวณข้างกกหู , ใต้ขากรรไกร และ ใต้ลิ้น ทาหน้าที่
สร้างน้าลายวันละประมาณ 1 – 1.5 ลิตรและมีค่า pH 6.2-7.4
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ช่องปาก (Oral cavity)
ลิ้น (Tongue)
ทาหน้าที่คลุกเคล้าอาหารให้เป็นก้อน เรียกว่า Bolus และรับรสชาติ
อาหารโดยที่บริเวณตุ่มที่ผิวลิ้น (papilla) จะมีตุ่มรับรส (teste bud) อยู่
Parotid gland
- พบที่บริเวณข้างกกหู ผลิตน้าลายชนิดใส
Submaxillary gland หรือ Submandibular gland
- พบทีขากรรไกรล่าง ผลิตน้าลายทั้งชนิดใส
และชนิดเหนียว (แต่ผลิตใสได้มากกว่า)
- เป็นต่อมที่สร้างน้าลายได้มากที่สุด
Sublingual gland
- ขนาดเล็กที่สุด พบใต้ลิ้น
- ผลิตน้าลายทั้งชนิดใส และ ชนิดเหนียว
(แต่ผลิตเหนียวได้มากกว่า)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ต่อมน้าลาย (Salivary gland)
1. น้า เป็นองค์ประกอบของน้าลายร้อยละ 99.5
2. Enzyme
- Ptyalin enzyme จาก Serous cell สังเคราะห์ใน
ไรโบโซม : ทาหน้าที่ ย่อยแป้ง
- Lysosomal enzyme (หรือ lysozyme) ช่วยทาลาย
แบคทีเรียในปาก
3. Mucin สารเมือกผลิตจาก mucous cell ช่วยหล่อลื่นอาหาร
ในปาก และทาให้อาหารยึดกันเป็นก้อน (bolus)
4. Electrolyte ส่วนมากเป็น Na+ , K+ , Cl- และ HCO3
-
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ส่วนประกอบของน้าลาย
มีหน้าที่ในการตัด ฉีก และบดอาหาร
ซึ่งฟันแท้แบ่งออกเป็น 4 ชนิดตาม
ลักษณะรูปร่างและหน้าที่
- ฟันตัด (Incisor)
- ฟันฉีก (Canine)
- ฟันกรามหน้า (Premolar)
- ฟันกรามหลัง (Molar)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ฟัน (Teeth)
Incisor Canine Premolar Molar
ฟันของคนเรามี 2 ชุด
ฟันน้านม (Temporary teeth) เป็นฟันชุดแรก มี 20 ซี่
จะเริ่มปรากฏให้เห็นเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน เริ่มหัก
เมื่ออายุประมาณ 6 ขวบ
สูตรฟันน้านมของคนเฉพาะ1/4 ของปาก คือ
I : C : PM : M คือ 2 : 1 : 0 : 2
ฟันแท้ (Permanent teeth) เป็นฟันชุดที่ 2
มีจานวน 32 ซี่ จะงอกครบเมื่ออายุประมาณ 13 ปี
สูตรฟันแท้ของคนเฉพาะ1/4 ของปาก คือ
I : C : PM : M คือ 2 : 1 : 2 : 3
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ฟัน (Teeth)
โครงสร้างของฟันประกอบด้วย ตัวฟัน(Crown) คอฟัน (Neck) และรากฟัน (Root) ส่วนนอกสุดของตัวฟัน
คือ สารเคลือบฟัน (Enamel) และส่วนนอกสุดของรากฟัน คือ สารเคลือบรากฟัน (Cementum).ถัดมาเป็น
ชั้นเนื้อฟัน (Dentine) และโพรงฟัน (Pulp cavity) เป็นบริเวณที่มีหลอดเลือดและเส้นประสาทฟัน
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ฟัน (Teeth)
เมื่อไม่มีอาหาร
esophagus sphincter
หดตัว ฝาปิดกล่องเสียง
(epiglottis) ยกขึ้น ช่อง
สายเสียง (glottis) เปิด
- ทางเดินหายใจ เปิด
- ทางเดินอาหาร ปิด
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
คอหอย และ หลอดอาหาร (Pharynx & Esophagus)
เมื่ออาหารถึงคอหอย
จะถูกกระตุ้นการกลืน
กล่องเสียง (larynx) และ
glottis ยกตัวขึ้น
epiglottis เคลื่อนปิด
- ทางเดินหายใจ ปิด
- ทางเดินอาหาร เปิด
Esophagus sphincter
คลายตัว อาหารเคลื่อน
สู่หลอดอาหาร
กล้ามเนื้อหด – คลาย
ตัวเป็นจังหวะ
(peristalsis) ดันอาหาร
จากหลอดอาหารสู่
กระเพาะอาหาร
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
การกลืนอาหารและการหายใจ
กระเพาะอาหาร (Stomach)
อยู่ภายในช่องท้องด้านซ้าย ใต้กระบังลมมีผนัง
กล้ามเนื้อหนา แข็งแรงมาก ยืดหยุ่นได้ดีขยาย
ความจุได้ถึง 500 – 2000 cm3 ผนังของกระเพาะ
อาหารด้านในมีลักษณะเป็นคลื่น เรียกว่า
รูกี (Rugae) มี gastric..gland ทาหน้าที่สร้าง
น้าย่อยของเรียกว่า Gastic juice มีกล้ามเนื้อหูรูด
คอยควบคุมการเคลื่อนที่ของอาหารอยู่ 2 แห่ง
คือ Cardiac sphincter แล..Pyloric sphincter
น้าย่อยรวมตัวกับอาหารจนเหลวและเข้ากันดี
คล้ายซุปข้น ๆ เรียกว่า ไคม์ (Chyme) จะถูกส่ง
เข้าสู่ลาไส้เล็กต่อไปเรียกว่า โดยภายในกระเพาะ
มีค่า pH เป็นกรด
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ต่อมสร้างน้าย่อย (Gastric gland)
ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด คือ
o Mucous cell : หลั่งเมือกป้องกันไม่ให้
เซลล์กระเพาะถูกย่อย
o Parietal cell : หลั่งกรดเกลือ (HCl)
o Chief cell : หลั่ง prorenin ,
pepsinogen , lipase (gastric lipase)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ในกระเพาะมีการบีบตัวแบบ peristalsis เพื่อบด
และคลุกเคล้าอาหารกับ HCl และ enzyme
(ย่อยเชิงกล) โดยอาหารจะอยู่ในกระเพาะ
30 นาที ถึง 6 ชั่วโมง
การย่อยในกระเพาะอาหาร
เมื่ออาหารเคลื่อนที่เข้าสู่กระเพาะเซลล์เยื่อบุจะหลั่ง hormone gastrin กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง HCl และ pepsinogen
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
Pepsin จะทาลายพันธะ peptide ของโปรตีน
Protein + H2O small polypeptides
Small polypeptides + H2O peptide ( 9 – 12 Amino acid)
Peptide + H2O amino acid
Renin ย่อย Casein
Casein + H2O Paracasein amino acid
Pepsinogen Pepsin Prorenin Renin
HCl HCl
Pepsin
Pepsin
Pepsin
Pepsin
Renin
ลาไส้เล็ก (Small intestine)
ลาไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ 6 –7 เมตร
กว้าง 2.5 เซนติเมตร ขดอยู่ในช่องท้อง แบ่งออก
เป็น 3 ส่วน ส่วนต้นเรียก ดูโอดีนัม (Duodenum) ยาว
ประมาณ 25 เซนติเมตร ส่วนกลาง เรียกว่าเจจูนัม (Jejunum)
มีความยาวประมาณ 2.50 เมตรและ ส่วนท้ายเรียกว่า
ไอเลียม (Ileum) มีความยาวประมาณ 4 เมตร โดยลาไส้เล็ก
ทาหน้าที่ รับอาหาร (acid chyme) จากกระเพาะอาหาร และ
ย่อยโดยอาศัย น้าย่อยจากตับอ่อน น้าดีจากตับและถุงน้าดี
และน้าย่อยจากลาไส้เล็กเอง ซึ่งเมื่ออาหารมาถึงลาไส้เล็กจะ
หลั่งฮอร์โมนซีครีทิน.(Secretin) กระตุ้นให้ตับอ่อนจะหลั่ง
NaHCO3ออกมาเพื่อลดความเป็นกรดของอาหาร
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
Duodenum
Jejunum
Ileum
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ลาไส้เล็ก (Small intestine) เซลล์ผนังของลาไส้เล็กมีการผลิตเอนไซม์ ดังนี้
ย่อยโปรตีน
Aminopeptidase, Dipeptidase และ Tripeptidase
Enterokinase หรือ Enteropeptidase เป็นเอนไซม์
จากเซลล์บุผนังลาไส้เล็ก ไม่ได้ทาหน้าที่ย่อยอาหาร
แต่ทาหน้าที่เปลี่ยน Trypsinogen ให้เป็น Trypsin
ย่อยคาร์โบไฮเดตร
Surcrase Lactase Maltase
ย่อยคาร์ไขมัน
Lipase
การย่อยโปรตีนในลาไส้เล็ก
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ตับอ่อน (pancreas) สร้าง enzyme มาที่ลาไส้เล็กส่วน Duodenum แต่เป็น enzyme ที่ยังไม่พร้อมใช้งาน
ต้องได้รับการกระตุ้นจากสารอื่นก่อน ดังนี้
Trypsinogen Trypsin + Protein Peptide
Chymotrypsinogen Chymotrypsin + Protein Peptide
Procarboxypeptides Carboxypeptidase + Protein Amino acid
Enterokinase
Trypsin
Trypsin
การย่อยคาร์โบไฮเดรตในลาไส้เล็ก
ตับอ่อนและลาไส้เล็กสร้างเอนไซม์ Amylase มาที่ลาไส้เล็ก เพื่อย่อยแป้ง ไกลโคเจน และเดกซ์ทริน
ให้เป็นน้าตาลมอลโทส (Maltose) ส่วนเซลล์ในเยื่อบุลาไส้เล็กจะผลิตเอนไซม์ย่อยน้าตาลโมเลกุลคู่
ดังนี้
Maltose
Sucrose
Lactose
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
การย่อยไขมันในลาไส้เล็ก
ตับ (liver) ทาหน้าที่ สร้างน้าดี (bile) เก็บไว้ที่ถุงน้าดี (gall bladder) โดยน้าดี มีส่วนประกอบที่สาคัญ
คือ เกลือน้าดี (bile..salt) ช่วยทาให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดไขมันเล็ก ๆ และแทรกรวมกับน้า ได้ในรูป
ของ อิมัลชั่น (emulsion)
ตับอ่อนและเซลล์ผนังลาไส้เล็กจะสร้าง Lipase ย่อยไขมันในรูปของ emulsion ให้เป็น Fatty acidและ
Glycerol
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
เพิ่มเติม...
Enzyme Lipase สามารถผลิตได้ทั้งที่ ปาก กระเพาะอาหาร ตับอ่อน และลาไส้เล็ก โดยจะมี %
ในการย่อยไขมันได้ในปริมาณที่ไม่เท่ากัน
- ปาก มี Lingual lipase ย่อยไขมันได้เล็กน้อย ประมาณ 30%
- กระเพาะอาหาร มี Gastric lipase ย่อยไขมันได้น้อยมาก ประมาณ 10%
(เนื่องจาก pH ไม่เหมาะกับการทางานของ enzyme)
- ตับอ่อน มี Pancreatic lipase สร้างมากที่สุด
และเป็น enz. หลักในการย่อยไขมัน
- ลาไส้เล็ก มี Intestinal lipase สร้างและย่อยได้เล็กน้อย
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ลาไส้ใหญ่ (Large intestine)
ลาไส้ใหญ่ของคนยาวประมาณ 1.50 เมตร
ประกอบด้วย3 ส่วนคือ ซีกัม (Caecum)
โคลอน (Colon) และ ไส้ตรง (Rectum)
ลาไส้ใหญ่มีหน้าที่รับอาหารที่ย่อยไม่หมด
หรือย่อยไม่ได้เรียกว่ากากอาหาร
โดยลาไส้ใหญ่จะมีการดูดซึมน้าและวิตามิน
บี 12 ที่แบคทีเรีย Escherichia coli (E.coli)
ในลาไส้ใหญ่สร้างขึ้น และส่งกากอาหาร
ออกทางไส้ตรงต่อไป
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ทวารหนัก (Anus)
ประกอบด้วยกล้ามเนื้อหูรูด 2 ชั้น คือ กล้ามเนื้อ
หูรูดชั้นใน (Internal anal sphincter) และชั้น
กล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอก (External anal sphincter)
โดยที่กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอันในทางานนอก
อานาจจิตใจ แต่กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอันนอก
เปิดออกเมื่อร่างกายต้องการ ทวารหนักอยู่ต่อกับ
ไส้ตรง มีกล้ามเนื้อแข็งแรงบีบตัวช่วยในการ
ขับถ่ายกากอาหาร
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหารแต่ไม่ใช่ทางเดินอาหาร
ตับ (Liver) และถุงน้าดี (Gallbladder)
- ตับ (Liver) ทาหน้าที่สร้างน้าดีส่งให้ถุงเก็บน้าดี
- ถุงน้าดี (Gallbladder) เป็นที่เก็บน้าดีที่สร้างจาก
ตับ น้าดีมีสีเหลืองปนเขียว รสขม มีฤทธิ์เป็นเบส
ถุงน้าดีทาหน้าที่สะสมน้าดี ทาให้น้าดีเข้มข้น
และขับน้าดีเข้าสู่ลาไส้เล็กส่วนต้น
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
ตับอ่อน (Pancreas)
ตับอ่อนมีรูปร่างคล้ายใบไม้อยู่บริเวณ
ส่วนใต้ของกระเพาะอาหาร ทาหน้าที่
สร้างเอนไซม์
- Trypsinogen
- Chymotrypsinogen
- Procarboxypeptides
- Amylase
- Lipase
ส่งไปยังลาไส้เล็ก
สร้างโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
(NaHCO3) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นเบสเพื่อลดความ
เป็นกรดจากกระเพาะอาหาร
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
การดูดซึมสารอาหาร (Absorption)
เป็นกระบวนการนาสารอาหารที่ได้จากการย่อยเข้าสู่เซลล์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ใน Metabolism
ต่อไป โดยในทางเดินอาหารเกิดการดูซึมสานต่างๆดังนี้
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
o ปาก คอหอย หลอดอาหาร มีการดูดซึม
น้อยมากจนไม่ถือว่ามีการดูดซึม
o กระเพาะอาหาร มีการดูดซึมน้อยมากเช่นกัน
กระเพาะอาหารจะมีการดูดซึมสารที่ละลาย
ในลิพิดได้ดี เช่น แอลกอฮอล์ และยาบางชนิด
การดูดซึมสารอาหาร (Absorption)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
o ลาไส้เล็ก เป็นบริเวณที่มีการดูดซึมสารอาหารต่าง ๆ มากที่สุด ลาไส้
เล็กมีการเพิ่มพื้นที่ผิวโดยมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาในท่อของลาไส้มีลักษณะ
คล้ายนิ้วมือประมาณ 4–5 ล้านอัน เรียกว่าวิลไล (Villi) ผิวด้านนอก
ของวิลไลยื่นออกไปเรียกว่า ไมโครวิลไล (Microvilli) โดยการดูดซึมที่
ลาไส้เล็กอาศัยกระบวนการออสโมซิส (Osmosis) การแพร่แบบ
ฟาซิลิเทต (Facilitated..diffusion) และกระบวนการแอกทีฟ
ทรานสปอร์ต (Active transport)
- ลาไล้เล็กส่วนดูโอดีนัมดูดซึมสารอาหารและวิตามินเกือบทุกชนิด
- ส่วนเจจูนัมดูดซึมสารอาหารพวกไขมัน
- ส่วนไอเลียมดูดซึมวิตามินบี 12 และเกลือน้าดี
o ลาไส้ใหญ่ดูดน้า เกลือแร่ น้าดี และสารอาหารจากกากอาหาร โดย
กระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต (Active transport)
การดูดซึมน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide)
o Glucose และ Galactose ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์เยื่อบุ
ลาไส้เล็กโดยวิธี Active transport
o Fructose ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์เยื่อบุลาไส้เล็กโดยวิธี
การแพร่ (diffusion)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
จากนั้นเซลล์จะส่งต่อเข้าหลอดเลือดและเข้าสู่ตับ
ทางหลอดเลือด hepatic.portal vein (หลอดเลือดนาเลือด
จากทางเดินอาหาร ตับ) ก่อนลาเลียงเข้าสู่หัวใจ
การดูดซึมกรดอะมิโน (Amino acid)
มีการดูดซึมเข้าสู่เซลล์แบบ active.transport แล้วเข้าสู่
หลอดเลือดแล้วเข้าสู่ตับ ก่อนลาเลียงเข้าสู่หัวใจ
Monosaccharide, amino acid
Microvilli
Capillary
Liver
Heart
internal organs
การดูดซึมไขมัน (lipid)
กรดไขมัน และ กลีเซอรอล ถูกดูดซึมโดยวิธีการแพร่
(Diffusion) เมื่อเข้าสู่เซลล์แล้วจะรวมกันตัวกันใหม่
เป็นไตรกลีเซอไรด์ แล้วไปรวมกับ Cholesterol แล้ว
ถูกโปรตีนหุ้มเป็นก้อนเล็ก ๆ เรียกว่า ไคโลไมครอน
(chylomicron) ซึ่งจะพาออกจากเซลล์เข้าสู่หลอด
น้าเหลือง โดยวิธี exocytosis แล้วลาเลียงจาก
หลอดน้าเหลือง หัวใจ โดยไม่ผ่านตับ
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
Glycerol , Fatty acid
Microvilli
Triglyceride (Villus)
Lymph Capillaries
Heart
internal organs
การดูดซึมน้า เกลือแร่ และวิตามิน
การดูดซึมน้า
- โดยวิธี osmosis เข้าสู่หลอดเลือดและหลอดน้าเหลือง ที่ลาไส้เล็กและลาไส้ใหญ่
การดูดซึมเกลือแร่ (เกิดที่ลาไส้ใหญ่)
- โซเดียม (Na+) : ดูดซึมแบบ active transport
- คลอไรด์ (Cl-) : ดูดซึมแบบการแพร่ และแบบ active transport
- โพแทสเซียม (K+) : ดูดซึมแบบการแพร่
- แคลเซียม (Ca2+) : ดูดซึมแบบ active transport (อาศัย Vitamin D ช่วย)
- เหล็ก (Fe2+/3+) : ดูดซึมแบบ active transport ในรูปของเฟอรัสอิออน (Fe2+)
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
การดูดซึมวิตามิน
วิตามินที่ละลายน้า : ส่วนใหญ่จะถูกดูดซึมตลอดทางเดิน
อาหารโดย วิธีการแพร่ (Diffusion)
วิตามินที่ละลายในไขมัน (A D E K) : จะถูกดูดซึมแบบ
เดียวกับไขมัน
วิตามิน B12 (ถึงจะละลายน้า แต่มีขนาดใหญ่)
จะดูดซึม 2 แบบ คือ
- ซึมผ่านพร้อมกับน้าตลอดลาไส้เล็ก
(เกิดเป็นส่วนน้อย)
- ดูดซึมแบบใช้พลังงานที่ลาไส้เล็กส่วนปลาย
โดยใช้ Ca2+ ช่วย
Digestive system การย่อยอาหารของสัตว์ทางเดินอาหารสมบูรณ์
Digestive system ความผิดปกติของทางเดินอาหารในมนุษย์
โรคกระเพาะอาหาร ดีซ่าน
นิ่วในถุงน้าดี โรคกรดไหลย้อน

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมAung Aung
 
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1Kru Jariya Taemsri
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfCharanyaKanuson
 
แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่porpanpnr
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
Animal digestion
Animal digestionAnimal digestion
Animal digestion
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
 
แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2Y'tt Khnkt
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร DigestionAreeya Mungsachat
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร (20)

ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestionระบบย่อยอาหาร Digestion
ระบบย่อยอาหาร Digestion
 

ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร