SlideShare a Scribd company logo
ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ 
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข 
ครู โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
1. อธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อย 
อาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย 
ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์บางชนิด (มฐ. ว 1.1 ตัวชี้วัดข้อ 1) 
2.อธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่าง ๆ ที่ทาให้ 
สัตว์บางชนิดดารงชีวิตได้อย่างปกติ (มฐ. ว 1.1 ตัวชี้วัดข้อ 3)
จุดประสงค์การเรียนรู้ (ต่อ) 
3. สารวจ วิเคราะห์และอธิบายพฤติกรรมบางอย่างของสัตว์ที่ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าบางชนิด 
4. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์และผล ของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในด้านปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Concept Map : ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ 
ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ 
ระบบย่อยอาหาร Digestive System 
ระบบไหลเวียนเลือด Circulatory System 
ระบบหายใจ Respiratory System 
ระบบขับถ่าย Excretory System 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของสัตว์ 
ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System
1. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 
1.ทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ (Complete digestion) : 
มีปากเป็นทางเข้าของอาหาร มีทวารหนักเป็นทางออกของอาหาร 
เช่น คน 
2. ทางเดินอาหารที่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestion) : 
มีช่องทางเดินอาหารช่องเดียว ทาหน้าที่เป็นทั้งปากและทวารหนัก 
เช่น ไฮดรา พลานาเรีย และพยาธิใบไม้ 
ระบบทางเดินอาหารของสิ่งมีชีวิต
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 
1.1 สัตว์มีกระดูกสันหลัง : มีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ 
ครบ 3 ส่วน คือ 
ส่วนต้น : ปาก หลอดอาหาร 
ส่วนกลาง : กระเพาะอาหาร 
ส่วนปลาย : ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ และทวารหนัก 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ชนิดต่าง ๆ แตกต่างกันตามประเภท ดังนี้
ย่อย เชิงกล 
มีกรวด เล็กๆ
การย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง 
* 
แบ่งเป็น 3 ส่วน 
1 
3 
2 
กระเพาะAbomasum 
หลอดอาหาร
9 
ทางเดินอาหารวัว 
1.Rumen 
2.Reticulum 
3.Omasum 
4.Abomasum
ลาดับเส้นทางเดินอาหาร 
1 มีการย่อยเซลลูโลสโดยแบคทีเรีย,โปรโตซัว - สังเคราะห์กรดอะมิโนจากยูเรีย แอมโมเนียจาก การหมัก สังเคราะห์กรดไขมัน วิตามินบี12 
5มีน้้าย่อยของวัวเองมาย่อยและย่อย แบคทีเรียกับโปรตัวซัว 
ดูดซึม อาหาร 
mutualism
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 
1.2 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง : 
- ช่องทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ครบ 3 ส่วน 
คือ ส่วนต้น ได้แก่ ปาก คอหอย หลอดอาหาร และ 
กระเพาะพักอาหาร 
ส่วนกลาง ได้แก่ กระเพาะอาหาร 
ส่วนปลาย ได้แก่ ลาไส้ และทวารหนัก
มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
ล้าตัวส่วนต้น 
ส่วนกลาง 
ส่วนท้าย 
หลอด อาหาร 
กระเพาะ พักอาหาร 
ต่อมสร้าง น้้าย่อย 
ไส้ ตรง 
ทวาร
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 
- ช่องทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ 
ได้แก่ ไฮดรา แมงกะพรุน และพลานาเรีย 
Phylum Cnidaria 
Hydra 
Jelly fish 
Sea anemone 
coral
หนวด 
ปาก 
อาหาร 
Gastrovascular 
1 
Phagocytosis 
ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
การย่อยของพารามีเซียม 
วิธี Pinocytosis 
การน้าอาหารเข้าสู่เซลล์ 
ย่อย 
สารอาหารกระจาย 
ขับกากออก
2. ระบบขับถ่าย (Excretory System) 
ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้าจะมี ไต (kidney) เป็นอวัยวะกาจัดของเสีย 
1.สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
www.vcharkarn.com/vcafe/82734/1
การรักษาสมดุลของเหลวในร่างกายของสัตว์น้้าจืดและสัตว์น้้าเค็ม 
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis) 
น้้าเค็ม น้้าจืด 
H2O (osmosis) 
Hypertonic น้้าเข้มข้นมากกว่าของเหลวในปลา 
Hypotonic น้้าเข้มข้นน้อยกว่าของเหลวในปลา 
การปรับตัวตัว 
ดื่มน้้ามาก เหงือกก้าจัดแร่ธาตุส่วนเกินออก ดื่มน้้าน้อย เหงือกดูดเกลือแร่ 
ปัสสาวะน้อยเข้มข้น (active transport) 
ปัสสาวะบ่อยเจือจาง
ระบบขับถ่าย (Excretory System) 
สัตว์บางชนิดก็มีอวัยวะขับถ่ายและบางชนิดก็ไม่มีอวัยวะขับถ่าย 
2.สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
2.1 Cell membrane พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น ฟองน้้าแมงกะพรุน และกลุ่มไฮดรา เป็นต้น 
ไม่มีอวัยวะในการขับถ่ายของเสีย
2.2 Flame cell พบในสิ่งมีชีวิตพวกหนอนตัวแบน เช่น 
พลานาเรีย ทางผิวหนังอยู่ 2 ข้างล้าตัว 
ระบบขับถ่าย (Excretory System) 
พลานาเรีย 
Flame cell 
ท่อขับถ่าย
2.3 Nephridium พบในสิ่งมีชีวิตหนอนตัวกลม เช่น ไส้เดือนดิน ป้องละ 1 คู่เนื่องจากมีโครงสร้างร่างกายที่ซับซ้อน มากยิ่งขึ้น หลักการท้างานคล้ายไต 
ระบบขับถ่าย (Excretory System) 
Nephriostome 
Nephriopore
2.4 Malpighian tubule พบในสิ่งมีชีวิตเช่น แมลง 
ระบบขับถ่าย (Excretory System) 
ท่อมัลพิเกียล 
ทวารหนัก
3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 
คล้ายกับมนุษย์ คือ มีหัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดและลาเลียงสารอาหาร 
ไปสู่เซลล์ แบ่งได้ 2 ชนิด 
1. การไหลเวียนเลือดแบบปิด (closed circulatory system) 
ระบบนี้เลือดจะไหลอยู่ภายในหลอดเลือดตลอดเวลา โดยเลือดจะไหล ออกจาหัวใจไปตามหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ แล้วไหลกลับเข้าสู่หัวใจใหม่ เช่นนี้เรื่อยไป พบในสัตว์จาพวกหนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด และสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 
1. การไหลเวียนเลือดแบบปิด (closed circulatory system)
3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 
2. การไหลเวียนเลือดแบบเปิด (Open Circulation System) 
ระบบนี้เลือดที่ไหลออกจากหัวใจจะไม่อยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา เหมือนวงจรปิด โดยจะมีเลือดไหลเข้าไปในช่องว่างลาตัวและที่ว่างระ หว่าอวัยวะต่าง ๆ พบในสัตว์จาพวกแมลง กุ้ง ปู และหอย
3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 
2. การไหลเวียนเลือดแบบเปิด (Open Circulation System)
4. ระบบหายใจ (Respiratory System) 
สัตว์ต่าง ๆ จะแลกเปลี่ยนก๊าซกับสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการแพร่ (Diffusion) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน ก๊าซที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่างกัน 
การหายใจ (Respiration)
4. ระบบหายใจ (Respiratory System) 
ชนิดของสัตว์ 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ 
1. สัตว์ชั้นต่า เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ฟองน้า พลานาเรีย 
- ไม่มีอวัยวะในการหายใจโดยเฉพาะ การ แลกเปลี่ยนก๊าซใช้เยื่อหุ้มเซลล์หรือผิวหนังที่ชุ่มชื้น 
2. สัตว์น้าชั้นสูง เช่น ปลา กุ้ง ปู หมึก หอย ดาวทะเล 
- มีเหงือก (Gill) ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านความ ซับซ้อน แต่ทาหน้าที่เช่นเดียวกัน (ยกเว้นสัตว์ครึ่ง บกครึ่งน้้ำในช่วงที่เป็นลูกอ๊อดซึ่งอำศัยอยู่ในน้้ำ จะ หำยใจด้วยเหงือก ต่อมำเมื่อโตเป็นตัวเต็มวัยอยู่บน บก จึงจะหำยใจด้วยปอด)
4. ระบบหายใจ (Respiratory System) 
ชนิดของสัตว์ 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ 
3. สัตว์บกชั้นต่า เช่น ไส้เดือนดิน 
- มีผิวหนังที่เปียกชื้น และมีระบบหมุนเวียนเลือดเร่ง อัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซ 
4. สัตว์บกชั้นสูง มี 3 ประเภท คือ 
4.1 แมงมุม 
4.2 แมลงต่าง ๆ 
4.3 สัตว์มีกระดูกสันหลัง 
- มีแผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มีลักษณะเป็นเส้น ๆ ยื่นออกมานอกผิวร่างกาย ทาให้สูญเสียความชื้นได้ง่าย 
- มีท่อลม (Trachea) เป็นท่อที่ติดต่อกับภายนอกร่างกาย ทางรูหายใจ และแตกแขนงแทรกไปยังทุกส่วนของ ร่างกาย 
- มีปอด (Lung) มีลักษณะเป็นถุง และมีความสัมพันธ์กับ ระบบหมุนเวียนเลือด
5. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) 
การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ 
1. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) 
เป็นการสืบพันธุ์ที่ต้องมีการผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (sperm) กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (egg) 
2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) 
เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์
การสืบพันธุ์ หมายถึง กระบวนการในการผลิตเพื่อเพิ่ม จานวนหรือให้กาเนิดสิ่งมีชีวิตใหม่ที่เหมือนตนเองหรือบรรพบุรุษ 
ชนิดของการสืบพันธุ์ 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) 
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) 
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) 
การสืบพันธุ์แบบนี้เป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ จาก ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิต โดยไม่เกี่ยวข้องกับเซลล์สืบพันธุ์ ได้แก่
1. การแบ่งแยก (FISSION) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว เช่น โพรโทซัว แบคทีเรีย ยีสต์ และสาหร่าย ระหว่างที่มีการ แบ่งแยกจะมีการแบ่งสารพันธุกรรมด้วย แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 แบ่งแยกเป็นสอง (BINARY FISSION) จากหนึ่งเซลล์แบ่งได้ เป็น 2 เซลล์ และ 4 เซลล์ต่อไปเรื่อยๆ ได้แก่ พารามีเซียม 
1.2 การแบ่งแยกทวีคูณ (MULTIPLE FISSION) นิวเคลียส จะมี การแบ่งแบบไมโตซีสหลายครั้งได้นิวเคลียสหลายอัน แล้วจึงแบ่งไซโตพลา ซึมได้เป็นหลายเซลล์จะเกิดในพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ในเชื้อ มาเลเรียบางระยะและในอะมีบาบางชนิดในระยะเป็นตัวหนอนของฟองน้า และปลาดาวบางชนิด
http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8 
การสืบพันธุ์แบบไบนารีฟิชชัน (binary fission) (a-b) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามยาว (c-d) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามขวาง 
(Miller and Harley, 2002)
Asexual reproduction by multiple fission in Amphistegina http://www.marine.usf.edu/reefslab/pages/photoalbum.html 
การแบ่งตัวแบบทวีคูณพบในพวกสปอโรซัว 
http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
2. การแตกหน่อ (BUDDING) หน่อเดิมจะแบ่งเซลล์ได้หน่อใหม่ (BUD) แต่ติดกับหน่อเดิม รูปร่างเหมือนหน่อเดิม แต่ขนาดเล็กกว่า พบในพืชเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ ในพืชหลายเซลล์ เช่น มาร์เเชนเทีย (MARCHANTIA) ซึ่งเป็นพืชชั้นต่าพวกตะไคร่ชนิดหนึ่ง (หรือเรียกลิ เวอร์เวิธ) และต้นตีนตุ๊กแก ต้นตายใบเป็น ส่วนในสัตว์หลายเซลล์ ได้แก่ ไฮดรา 
การแตกหน่อ (budding) 
ไฮดรา ซัคทอเรีย มาร์แชนเทีย
3. การหัก (FRAGMENTATION) การสืบพันธุ์แบบนี้ชิ้นส่วนของพ่อแม่จะ แยกออก แล้วเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ ได้แก่ ฟองน้า ดอกไม้ทะเล
4. การสร้างใหม่ (REGENERATION) คล้ายการหัก แต่ต่างกันตรงที่การ สร้างใหม่เป็นการเจริญเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ขาดหายไป เช่น ในชิ้นส่วนของพืช เกือบทุกชนิด ในไส้เดือนดิน ฟองน้า ไฮดรา และปลาดาว พลานาเรีย ซึ่งเป็น หนอนตัวแบนชนิดหนึ่ง เมื่อถูกตัดออกเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนจะเจริญเป็นตัวที่ สมบูรณ์ได้
5. การสร้างสปอร์ สปอร์มีผนังหนา ทนทานต่อสิ่งแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม และมีขนาดเล็ก เช่น พวกเห็ดราบางชนิด สปอร์เกี่ยวข้อง กับการสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศ และแบบมีเพศในพืชพวกเมทาไฟตา มี การสร้างสปอร์ซึ่งเป็นช่วงหนึ่งของการสืบพันธุ์แบบสลับด้วย
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งต้องมีการปฏิสนธิ จึงจะเจริญ เป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ได้ 1. ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้ 1. เหมือนกันทั้งรูปร่างและขนาด คือ เซลล์สืบพันธุ์ที่มีขนาดและลักษณะ เหมือนกันทุกอย่าง แยกไม่ออกว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย เรียกว่า ไอโซแกมีต (ISOGAMETE) เช่น ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และในสาหร่ายคลาไมโดโมแนส (Chlamydomonas) การปฏิสนธิของไอโซกามีตเรียกว่า ไอโซแกมี (ISOGAMY) 2. รูปร่างเหมือนกันแต่ขนาดต่างกัน เซลล์สืบพันธุ์แบบนี้เรียก เอนิโซกามีต (ANISOGAMETE) การปฏิสนธิของ เอนิโซกามีต เรียก เอนิโซแกมี (ANISOGAMY) เช่น ในสาหร่ายสีเขียวแพนดอไรนา (Pandorina) และยูดอรินา (Eudorina) 3. ต่างกันทั้งรูปร่างละขนาด เซลล์สืบพันธุ์แบบนี้ เรียก โอโอแกมี (OOGAMY) พบทั่วไปทั้งในพืชและสัตว์ การสืบพันธุ์แบบมีเพศทั้ง 3 แบบ พบในสิ่งมีชีวิตต่างกัน แบบที่1 และแบบที่ 2 พบได้ ในพวกโพรทิสต์ ส่วนแบบที่ 3 พบทั้งในพืชพวกเมทาไพตา และสัตว์พวกเมทาซัว
ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ และการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์; 
(A)แบบ Isogamete (B) แบบ Anisogamete (C) แบบOogamete http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
2. รูปแบบของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 
1. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ 
พบในสิ่งมีชีวิตพวกโพรทิส 
สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่เป็นแฮพลอยด์(แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส) เกิดการ รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตที่เป็นดิพลอยด์ ไซโกต จะแบ่งแบบไมโอซิสได้สปอร์ที่เป็นแฮพลอยด์ เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ 
2. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ 
พบในคน สัตว์ พืชบางชนิด เห็ดราบางชนิด และโพรโทซัว 
โครโมโซมเป็นดิพลอยด์ สร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบแฮพลอยด์(ไมโอซิส) 
รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตเป็นดิพลอยด์ ไซโกต จะแบ่งแบบไมโทซิสเพิ่มจานวนเซลล์เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่เป็นดิพลอยด์
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในพืช 
1. ขบวนการสร้างละอองเรณู (Microsporogenesis) การสร้างละอองเรณู เริ่มจากเซลล์ในอับเรณู (anther) ที่เรียกกันว่า pollen mother cell หรือ microspore mother cell ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชุด หรือ 2n จะแบ่งตัว แบบไมโอซิส I และไมโอซิส II ได้ละอองเรณู 4 เซลล์ แต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพียงชุด เดียว หรือ n ภายในละอองเรณูแต่ละเซลล์ ซึ่ง มีนิวเคลียส 1 อัน (n) นิวเคลียสจะแบ่งตัวแบบ ไมโตซิส 1 ครั้ง ได้นิวเคลียส 2 อัน คือ generative nucleus (n) และ tube nucleus (n)
2. ขบวนการสร้างไข่ (Megasporogenesis) การสร้างไข่หรือ ovum เริ่มต้น จากเซลล์ในรังไข่ที่เรียกว่า megaspore mother cell ซึ่งมีโครโมโซม 2n แบ่งตัวแบบไมโอซิส ได้เซลล์ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมในสภาพ haploid หรือ n แต่ 3 เซลล์จะสลายตัวไปเหลือเพียง 1 เซลล์ พัฒนามา เป็น megaspore นิวเคลียสของ megaspore จะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 3 ครั้งได้นิวเคลียสทั้งหมด 8 อัน และมีการจัดเรียงตัวกันเป็นชุด 3 ชุดคือ ชุดที่ 1 เรียกว่า antipodal nuclei (มีนิวเคลียส 3 อัน) จะอยู่ที่ขั้วหนึ่งของ เซลล์ ชุดที่ 2 เรียกว่า poler nuclei (มีนิวเคลียส 2 อัน) จะอยู่ตรงกลาง เซลล์ และชุดที่ 3 มีนิวเคลียส 3 อัน จะอยู่ด้านล่างของเซลล์ที่มี Micropyle นิวเคลียสชุดนี้จะมี egg nucleus อยู่กลางขนาบข้างด้วย synergid nuclei
http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu/bio/ch22.htm
3.การปฏิสนธิในพืช (Fertilization in Plants) 
- ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) เรียกว่า ขบวนการถ่ายละอองเกสร (pollination) 
- ละอองเรณูจะงอก pollen tube ลงไปตามก้านชูเกสรตัวเมีย (style) จนถึง embryo sac 
- นิวเคลียสของ ละอองเรณูซึ่งอยู่ในสภาพ haploid จะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 1 ครั้ง ได้ tube nucleus และ generative nucleus 
- generative nucleus จะแบ่งตัวแบบไมโตซิสอีกครั้งหนึ่งได้ sperm nucleus 2 อัน 
- sperm nucleus หนึ่งอันจะเข้าไปผสมกับ egg nucleus ได้ zygote หรือ embryo (2n) 
- sperm nucleus อีกอันหนึ่งจะเข้าผสมกับ 2 polar nuclei กลายเป็นเอนโดสเปอร์ม (endosperm) ซึ่งมีโครโมโซม 3 ชุด หรือ 3n 
- ดังนั้นพืชจะมีขบวนการปฏิสนธิเกิดขึ้น 2 ครั้ง จึงเรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิ ซ้อนหรือ double fertilization
http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu/bio/ch22.htm
http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu/bio/ch22.htm
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในสัตว์ 
1. ขบวนการสร้างสเปอร์ม (spermatogenesis) 
2. ขบวนการสร้างไข่ (Oogenesis) 
3. ชนิดของไข่ ไข่ของสัตว์ต่างๆ จาแนกได้เป็น 4 ชนิด ตามปริมาณและการกระจายของไข่แดง 1. ISOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงน้อย และกระจายทั่วไปภายในเซลล์ เช่น ไข่หอยเม่น ไข่ปลาดาว และไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2. MESOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงปานกลาง และไข่แดงมักจะอยู่ หนาแน่นที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของเซลล์ ตัวอย่างเช่น ไข่กบ 3. TELOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงมาก และไข่แดงอยู่หนาแน่น ตัวอย่างเช่น ไข่นก ไข่ไก่ ไข่ปลา และไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน 4.CENTROLLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงอยู่ตรงกลาง ตัวอย่าง เช่น ไข่ แมลง 
4. อิทธิพลของไข่แดง 1. ขัดขวางการแบ่งเซลล์ของไข่ จากการศึกษาพบว่า บริเวณที่มีไข่แดงน้อย จะมีการแบ่งเซลล์และมีการเคลื่อนที่ของเซลล์มากกว่าบริเวณที่มีไข่แดงมาก 2. ไข่แดงเป็นอาหารของตัวอ่อน
การพัฒนาของไข่เมื่อได้รับการผสมแล้ว 
ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (ZYGOTE) แล้วมีการแบ่ง นิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ 1. CLEAVAGE เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้ง เซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆ เรียกว่า โมรูลา (MORULA) 2. BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อให้ได้ ช่องว่างในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกเซลล์ที่ล้อม ช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า 3. GASTRULA เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULA คือ เซลล์ แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOEL และ ARCHENTERON ซึ่งช่อง ARCHENTERON ต่อไปจะเจริญไปเป็น ทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อ ชั้นใน เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือเนื้อเยื่อชั้นกลางในตอนท้ายระยะ GASTRULA จะมีการสร้างระบบประสาทขึ้น
4. DIFFERENTIATION คือขบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน เปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกาย 
เนื้อเยื่อของตัวอ่อนมี 3 ชนิด คือ เนื้อเยื่อชั้นนอก จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็นสมอง ตาหู ไข สันหลัง ผิวหนังและอื่นๆ เนื้อเยื่อชั้นกลาง จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็น กล้ามเนื้อ หัวใจ กระดูก และอื่นๆ เนื้อเยื่อชั้นใน จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็น อวัยวะภายใน ต่างๆ เช่น กระเพาะอาหาร ลาไส้ ตับ เป็นต้น
Morula Blastula Gastrula
http://fai.unne.edu.ar/biologia/reproduccion/reprod3.htm
8 สัปดาห์ 
9 สัปดาห์ 
23 สัปดาห์ 
27 สัปดาห์
การผสมข้ามชนิดและข้ามสกุล 
การผสมข้ามชนิด (interspecific breeding) เป็นการผสมพันธุ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสกุล (genus) เดียวกัน แต่เป็นคนละชนิด เช่น ปลาดุกบิกอุย เป็นลูกผสมระหว่างปลาดุกแอฟริกันกับปลาดุกอุย 
การผสมพันธุ์ข้ามสกุล (intergeneric breeding) เช่น ระหว่างปลาดุก ผสมกับปลาสวาย ลูกปลามีอัตราการรอดตายน้อย ส่วนใหญ่พิการและ ตายก่อนหรือหลังฟักออกเป็นตัว 
การผสมข้ามชนิดและข้ามสกุลนั้นพบน้อยในธรรมชาติ หรือไม่พบ เลย ตัวอย่างนี้เป็นการกระทาของมนุษย์ โดยวิธีการผสมเทียม
พาร์ทีโนเจนีซิส (Parthenogenesis) 
คือ ปรากฏการณ์ที่ไข่เจริญต่อไปเป็นตัวใหม่โดยไม่ต้องมีการผสมพันธุ์และ ปฏิสนธิ พบในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ผึ้ง ต่อ แตน มด รวมทั้ง เพลี้ย 
 ผึ้ง นางพญาผึ้งจะผสมพันธุ์ครั้งเดียว และเก็บอสุจิไว้ใช้ตลอดชีวิต นางพญาผึ้งจะวางไข่ในรังผึ้ง ไข่บางฟองจะมีการปฏิสนธิ บางฟองไม่มี การปฏิสนธิ ไข่ที่ถูกปฏิสนธิจะเจริญเป็นตัวเมีย ซึ่งส่วนมากเป็นผึ้งงาน ส่วนไข่ที่ไม่ถูกผสมจะมีจานวนโครโมโซม เป็นแฮพลอยด์ และจะเป็นตัว ผู้เรียก โดรน (DRONE)
สวัสดี

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
Wichai Likitponrak
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Similar to Animal System

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
O-SOT Kanesuna POTATO
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
pitsanu duangkartok
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Natthinee Khamchalee
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similar to Animal System (20)

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Animal System

  • 1. ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข ครู โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อย อาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์บางชนิด (มฐ. ว 1.1 ตัวชี้วัดข้อ 1) 2.อธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่าง ๆ ที่ทาให้ สัตว์บางชนิดดารงชีวิตได้อย่างปกติ (มฐ. ว 1.1 ตัวชี้วัดข้อ 3)
  • 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ต่อ) 3. สารวจ วิเคราะห์และอธิบายพฤติกรรมบางอย่างของสัตว์ที่ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าบางชนิด 4. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์และผล ของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในด้านปรับปรุงพันธุ์สัตว์
  • 4. Concept Map : ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ระบบต่าง ๆ ของสัตว์ ระบบย่อยอาหาร Digestive System ระบบไหลเวียนเลือด Circulatory System ระบบหายใจ Respiratory System ระบบขับถ่าย Excretory System การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของสัตว์ ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System
  • 5. 1. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 1.ทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ (Complete digestion) : มีปากเป็นทางเข้าของอาหาร มีทวารหนักเป็นทางออกของอาหาร เช่น คน 2. ทางเดินอาหารที่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestion) : มีช่องทางเดินอาหารช่องเดียว ทาหน้าที่เป็นทั้งปากและทวารหนัก เช่น ไฮดรา พลานาเรีย และพยาธิใบไม้ ระบบทางเดินอาหารของสิ่งมีชีวิต
  • 6. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 1.1 สัตว์มีกระดูกสันหลัง : มีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ ครบ 3 ส่วน คือ ส่วนต้น : ปาก หลอดอาหาร ส่วนกลาง : กระเพาะอาหาร ส่วนปลาย : ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ และทวารหนัก ระบบย่อยอาหารของสัตว์ชนิดต่าง ๆ แตกต่างกันตามประเภท ดังนี้
  • 10.
  • 11. ลาดับเส้นทางเดินอาหาร 1 มีการย่อยเซลลูโลสโดยแบคทีเรีย,โปรโตซัว - สังเคราะห์กรดอะมิโนจากยูเรีย แอมโมเนียจาก การหมัก สังเคราะห์กรดไขมัน วิตามินบี12 5มีน้้าย่อยของวัวเองมาย่อยและย่อย แบคทีเรียกับโปรตัวซัว ดูดซึม อาหาร mutualism
  • 12. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) 1.2 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง : - ช่องทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ครบ 3 ส่วน คือ ส่วนต้น ได้แก่ ปาก คอหอย หลอดอาหาร และ กระเพาะพักอาหาร ส่วนกลาง ได้แก่ กระเพาะอาหาร ส่วนปลาย ได้แก่ ลาไส้ และทวารหนัก
  • 14. ล้าตัวส่วนต้น ส่วนกลาง ส่วนท้าย หลอด อาหาร กระเพาะ พักอาหาร ต่อมสร้าง น้้าย่อย ไส้ ตรง ทวาร
  • 15. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) - ช่องทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ ได้แก่ ไฮดรา แมงกะพรุน และพลานาเรีย Phylum Cnidaria Hydra Jelly fish Sea anemone coral
  • 16. หนวด ปาก อาหาร Gastrovascular 1 Phagocytosis ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
  • 17. การย่อยของพารามีเซียม วิธี Pinocytosis การน้าอาหารเข้าสู่เซลล์ ย่อย สารอาหารกระจาย ขับกากออก
  • 18. 2. ระบบขับถ่าย (Excretory System) ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้าจะมี ไต (kidney) เป็นอวัยวะกาจัดของเสีย 1.สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
  • 20. การรักษาสมดุลของเหลวในร่างกายของสัตว์น้้าจืดและสัตว์น้้าเค็ม การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis) น้้าเค็ม น้้าจืด H2O (osmosis) Hypertonic น้้าเข้มข้นมากกว่าของเหลวในปลา Hypotonic น้้าเข้มข้นน้อยกว่าของเหลวในปลา การปรับตัวตัว ดื่มน้้ามาก เหงือกก้าจัดแร่ธาตุส่วนเกินออก ดื่มน้้าน้อย เหงือกดูดเกลือแร่ ปัสสาวะน้อยเข้มข้น (active transport) ปัสสาวะบ่อยเจือจาง
  • 21. ระบบขับถ่าย (Excretory System) สัตว์บางชนิดก็มีอวัยวะขับถ่ายและบางชนิดก็ไม่มีอวัยวะขับถ่าย 2.สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
  • 22. 2.1 Cell membrane พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น ฟองน้้าแมงกะพรุน และกลุ่มไฮดรา เป็นต้น ไม่มีอวัยวะในการขับถ่ายของเสีย
  • 23. 2.2 Flame cell พบในสิ่งมีชีวิตพวกหนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย ทางผิวหนังอยู่ 2 ข้างล้าตัว ระบบขับถ่าย (Excretory System) พลานาเรีย Flame cell ท่อขับถ่าย
  • 24. 2.3 Nephridium พบในสิ่งมีชีวิตหนอนตัวกลม เช่น ไส้เดือนดิน ป้องละ 1 คู่เนื่องจากมีโครงสร้างร่างกายที่ซับซ้อน มากยิ่งขึ้น หลักการท้างานคล้ายไต ระบบขับถ่าย (Excretory System) Nephriostome Nephriopore
  • 25. 2.4 Malpighian tubule พบในสิ่งมีชีวิตเช่น แมลง ระบบขับถ่าย (Excretory System) ท่อมัลพิเกียล ทวารหนัก
  • 26. 3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) คล้ายกับมนุษย์ คือ มีหัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดและลาเลียงสารอาหาร ไปสู่เซลล์ แบ่งได้ 2 ชนิด 1. การไหลเวียนเลือดแบบปิด (closed circulatory system) ระบบนี้เลือดจะไหลอยู่ภายในหลอดเลือดตลอดเวลา โดยเลือดจะไหล ออกจาหัวใจไปตามหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ แล้วไหลกลับเข้าสู่หัวใจใหม่ เช่นนี้เรื่อยไป พบในสัตว์จาพวกหนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด และสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
  • 27. 3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 1. การไหลเวียนเลือดแบบปิด (closed circulatory system)
  • 28. 3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 2. การไหลเวียนเลือดแบบเปิด (Open Circulation System) ระบบนี้เลือดที่ไหลออกจากหัวใจจะไม่อยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา เหมือนวงจรปิด โดยจะมีเลือดไหลเข้าไปในช่องว่างลาตัวและที่ว่างระ หว่าอวัยวะต่าง ๆ พบในสัตว์จาพวกแมลง กุ้ง ปู และหอย
  • 29. 3. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) 2. การไหลเวียนเลือดแบบเปิด (Open Circulation System)
  • 30. 4. ระบบหายใจ (Respiratory System) สัตว์ต่าง ๆ จะแลกเปลี่ยนก๊าซกับสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการแพร่ (Diffusion) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน ก๊าซที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่างกัน การหายใจ (Respiration)
  • 31. 4. ระบบหายใจ (Respiratory System) ชนิดของสัตว์ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ 1. สัตว์ชั้นต่า เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ฟองน้า พลานาเรีย - ไม่มีอวัยวะในการหายใจโดยเฉพาะ การ แลกเปลี่ยนก๊าซใช้เยื่อหุ้มเซลล์หรือผิวหนังที่ชุ่มชื้น 2. สัตว์น้าชั้นสูง เช่น ปลา กุ้ง ปู หมึก หอย ดาวทะเล - มีเหงือก (Gill) ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านความ ซับซ้อน แต่ทาหน้าที่เช่นเดียวกัน (ยกเว้นสัตว์ครึ่ง บกครึ่งน้้ำในช่วงที่เป็นลูกอ๊อดซึ่งอำศัยอยู่ในน้้ำ จะ หำยใจด้วยเหงือก ต่อมำเมื่อโตเป็นตัวเต็มวัยอยู่บน บก จึงจะหำยใจด้วยปอด)
  • 32. 4. ระบบหายใจ (Respiratory System) ชนิดของสัตว์ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ 3. สัตว์บกชั้นต่า เช่น ไส้เดือนดิน - มีผิวหนังที่เปียกชื้น และมีระบบหมุนเวียนเลือดเร่ง อัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซ 4. สัตว์บกชั้นสูง มี 3 ประเภท คือ 4.1 แมงมุม 4.2 แมลงต่าง ๆ 4.3 สัตว์มีกระดูกสันหลัง - มีแผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มีลักษณะเป็นเส้น ๆ ยื่นออกมานอกผิวร่างกาย ทาให้สูญเสียความชื้นได้ง่าย - มีท่อลม (Trachea) เป็นท่อที่ติดต่อกับภายนอกร่างกาย ทางรูหายใจ และแตกแขนงแทรกไปยังทุกส่วนของ ร่างกาย - มีปอด (Lung) มีลักษณะเป็นถุง และมีความสัมพันธ์กับ ระบบหมุนเวียนเลือด
  • 33. 5. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ 1. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่ต้องมีการผสมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ (sperm) กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (egg) 2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์
  • 34. การสืบพันธุ์ หมายถึง กระบวนการในการผลิตเพื่อเพิ่ม จานวนหรือให้กาเนิดสิ่งมีชีวิตใหม่ที่เหมือนตนเองหรือบรรพบุรุษ ชนิดของการสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบนี้เป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ จาก ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิต โดยไม่เกี่ยวข้องกับเซลล์สืบพันธุ์ ได้แก่
  • 35. 1. การแบ่งแยก (FISSION) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว เช่น โพรโทซัว แบคทีเรีย ยีสต์ และสาหร่าย ระหว่างที่มีการ แบ่งแยกจะมีการแบ่งสารพันธุกรรมด้วย แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 แบ่งแยกเป็นสอง (BINARY FISSION) จากหนึ่งเซลล์แบ่งได้ เป็น 2 เซลล์ และ 4 เซลล์ต่อไปเรื่อยๆ ได้แก่ พารามีเซียม 1.2 การแบ่งแยกทวีคูณ (MULTIPLE FISSION) นิวเคลียส จะมี การแบ่งแบบไมโตซีสหลายครั้งได้นิวเคลียสหลายอัน แล้วจึงแบ่งไซโตพลา ซึมได้เป็นหลายเซลล์จะเกิดในพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ในเชื้อ มาเลเรียบางระยะและในอะมีบาบางชนิดในระยะเป็นตัวหนอนของฟองน้า และปลาดาวบางชนิด
  • 36. http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8 การสืบพันธุ์แบบไบนารีฟิชชัน (binary fission) (a-b) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามยาว (c-d) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามขวาง (Miller and Harley, 2002)
  • 37. Asexual reproduction by multiple fission in Amphistegina http://www.marine.usf.edu/reefslab/pages/photoalbum.html การแบ่งตัวแบบทวีคูณพบในพวกสปอโรซัว http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
  • 38. 2. การแตกหน่อ (BUDDING) หน่อเดิมจะแบ่งเซลล์ได้หน่อใหม่ (BUD) แต่ติดกับหน่อเดิม รูปร่างเหมือนหน่อเดิม แต่ขนาดเล็กกว่า พบในพืชเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ ในพืชหลายเซลล์ เช่น มาร์เเชนเทีย (MARCHANTIA) ซึ่งเป็นพืชชั้นต่าพวกตะไคร่ชนิดหนึ่ง (หรือเรียกลิ เวอร์เวิธ) และต้นตีนตุ๊กแก ต้นตายใบเป็น ส่วนในสัตว์หลายเซลล์ ได้แก่ ไฮดรา การแตกหน่อ (budding) ไฮดรา ซัคทอเรีย มาร์แชนเทีย
  • 39. 3. การหัก (FRAGMENTATION) การสืบพันธุ์แบบนี้ชิ้นส่วนของพ่อแม่จะ แยกออก แล้วเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ ได้แก่ ฟองน้า ดอกไม้ทะเล
  • 40. 4. การสร้างใหม่ (REGENERATION) คล้ายการหัก แต่ต่างกันตรงที่การ สร้างใหม่เป็นการเจริญเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ขาดหายไป เช่น ในชิ้นส่วนของพืช เกือบทุกชนิด ในไส้เดือนดิน ฟองน้า ไฮดรา และปลาดาว พลานาเรีย ซึ่งเป็น หนอนตัวแบนชนิดหนึ่ง เมื่อถูกตัดออกเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนจะเจริญเป็นตัวที่ สมบูรณ์ได้
  • 41. 5. การสร้างสปอร์ สปอร์มีผนังหนา ทนทานต่อสิ่งแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสม และมีขนาดเล็ก เช่น พวกเห็ดราบางชนิด สปอร์เกี่ยวข้อง กับการสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศ และแบบมีเพศในพืชพวกเมทาไฟตา มี การสร้างสปอร์ซึ่งเป็นช่วงหนึ่งของการสืบพันธุ์แบบสลับด้วย
  • 42. 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งต้องมีการปฏิสนธิ จึงจะเจริญ เป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ได้ 1. ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้ 1. เหมือนกันทั้งรูปร่างและขนาด คือ เซลล์สืบพันธุ์ที่มีขนาดและลักษณะ เหมือนกันทุกอย่าง แยกไม่ออกว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย เรียกว่า ไอโซแกมีต (ISOGAMETE) เช่น ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และในสาหร่ายคลาไมโดโมแนส (Chlamydomonas) การปฏิสนธิของไอโซกามีตเรียกว่า ไอโซแกมี (ISOGAMY) 2. รูปร่างเหมือนกันแต่ขนาดต่างกัน เซลล์สืบพันธุ์แบบนี้เรียก เอนิโซกามีต (ANISOGAMETE) การปฏิสนธิของ เอนิโซกามีต เรียก เอนิโซแกมี (ANISOGAMY) เช่น ในสาหร่ายสีเขียวแพนดอไรนา (Pandorina) และยูดอรินา (Eudorina) 3. ต่างกันทั้งรูปร่างละขนาด เซลล์สืบพันธุ์แบบนี้ เรียก โอโอแกมี (OOGAMY) พบทั่วไปทั้งในพืชและสัตว์ การสืบพันธุ์แบบมีเพศทั้ง 3 แบบ พบในสิ่งมีชีวิตต่างกัน แบบที่1 และแบบที่ 2 พบได้ ในพวกโพรทิสต์ ส่วนแบบที่ 3 พบทั้งในพืชพวกเมทาไพตา และสัตว์พวกเมทาซัว
  • 43. ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ และการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์; (A)แบบ Isogamete (B) แบบ Anisogamete (C) แบบOogamete http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
  • 44. 2. รูปแบบของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 1. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ พบในสิ่งมีชีวิตพวกโพรทิส สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่เป็นแฮพลอยด์(แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส) เกิดการ รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตที่เป็นดิพลอยด์ ไซโกต จะแบ่งแบบไมโอซิสได้สปอร์ที่เป็นแฮพลอยด์ เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ 2. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ พบในคน สัตว์ พืชบางชนิด เห็ดราบางชนิด และโพรโทซัว โครโมโซมเป็นดิพลอยด์ สร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบแฮพลอยด์(ไมโอซิส) รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตเป็นดิพลอยด์ ไซโกต จะแบ่งแบบไมโทซิสเพิ่มจานวนเซลล์เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่เป็นดิพลอยด์
  • 45. การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในพืช 1. ขบวนการสร้างละอองเรณู (Microsporogenesis) การสร้างละอองเรณู เริ่มจากเซลล์ในอับเรณู (anther) ที่เรียกกันว่า pollen mother cell หรือ microspore mother cell ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชุด หรือ 2n จะแบ่งตัว แบบไมโอซิส I และไมโอซิส II ได้ละอองเรณู 4 เซลล์ แต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพียงชุด เดียว หรือ n ภายในละอองเรณูแต่ละเซลล์ ซึ่ง มีนิวเคลียส 1 อัน (n) นิวเคลียสจะแบ่งตัวแบบ ไมโตซิส 1 ครั้ง ได้นิวเคลียส 2 อัน คือ generative nucleus (n) และ tube nucleus (n)
  • 46. 2. ขบวนการสร้างไข่ (Megasporogenesis) การสร้างไข่หรือ ovum เริ่มต้น จากเซลล์ในรังไข่ที่เรียกว่า megaspore mother cell ซึ่งมีโครโมโซม 2n แบ่งตัวแบบไมโอซิส ได้เซลล์ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมในสภาพ haploid หรือ n แต่ 3 เซลล์จะสลายตัวไปเหลือเพียง 1 เซลล์ พัฒนามา เป็น megaspore นิวเคลียสของ megaspore จะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 3 ครั้งได้นิวเคลียสทั้งหมด 8 อัน และมีการจัดเรียงตัวกันเป็นชุด 3 ชุดคือ ชุดที่ 1 เรียกว่า antipodal nuclei (มีนิวเคลียส 3 อัน) จะอยู่ที่ขั้วหนึ่งของ เซลล์ ชุดที่ 2 เรียกว่า poler nuclei (มีนิวเคลียส 2 อัน) จะอยู่ตรงกลาง เซลล์ และชุดที่ 3 มีนิวเคลียส 3 อัน จะอยู่ด้านล่างของเซลล์ที่มี Micropyle นิวเคลียสชุดนี้จะมี egg nucleus อยู่กลางขนาบข้างด้วย synergid nuclei
  • 48. 3.การปฏิสนธิในพืช (Fertilization in Plants) - ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) เรียกว่า ขบวนการถ่ายละอองเกสร (pollination) - ละอองเรณูจะงอก pollen tube ลงไปตามก้านชูเกสรตัวเมีย (style) จนถึง embryo sac - นิวเคลียสของ ละอองเรณูซึ่งอยู่ในสภาพ haploid จะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 1 ครั้ง ได้ tube nucleus และ generative nucleus - generative nucleus จะแบ่งตัวแบบไมโตซิสอีกครั้งหนึ่งได้ sperm nucleus 2 อัน - sperm nucleus หนึ่งอันจะเข้าไปผสมกับ egg nucleus ได้ zygote หรือ embryo (2n) - sperm nucleus อีกอันหนึ่งจะเข้าผสมกับ 2 polar nuclei กลายเป็นเอนโดสเปอร์ม (endosperm) ซึ่งมีโครโมโซม 3 ชุด หรือ 3n - ดังนั้นพืชจะมีขบวนการปฏิสนธิเกิดขึ้น 2 ครั้ง จึงเรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิ ซ้อนหรือ double fertilization
  • 51. การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในสัตว์ 1. ขบวนการสร้างสเปอร์ม (spermatogenesis) 2. ขบวนการสร้างไข่ (Oogenesis) 3. ชนิดของไข่ ไข่ของสัตว์ต่างๆ จาแนกได้เป็น 4 ชนิด ตามปริมาณและการกระจายของไข่แดง 1. ISOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงน้อย และกระจายทั่วไปภายในเซลล์ เช่น ไข่หอยเม่น ไข่ปลาดาว และไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2. MESOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงปานกลาง และไข่แดงมักจะอยู่ หนาแน่นที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของเซลล์ ตัวอย่างเช่น ไข่กบ 3. TELOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงมาก และไข่แดงอยู่หนาแน่น ตัวอย่างเช่น ไข่นก ไข่ไก่ ไข่ปลา และไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน 4.CENTROLLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงอยู่ตรงกลาง ตัวอย่าง เช่น ไข่ แมลง 4. อิทธิพลของไข่แดง 1. ขัดขวางการแบ่งเซลล์ของไข่ จากการศึกษาพบว่า บริเวณที่มีไข่แดงน้อย จะมีการแบ่งเซลล์และมีการเคลื่อนที่ของเซลล์มากกว่าบริเวณที่มีไข่แดงมาก 2. ไข่แดงเป็นอาหารของตัวอ่อน
  • 52. การพัฒนาของไข่เมื่อได้รับการผสมแล้ว ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (ZYGOTE) แล้วมีการแบ่ง นิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ 1. CLEAVAGE เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้ง เซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆ เรียกว่า โมรูลา (MORULA) 2. BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อให้ได้ ช่องว่างในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกเซลล์ที่ล้อม ช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า 3. GASTRULA เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULA คือ เซลล์ แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOEL และ ARCHENTERON ซึ่งช่อง ARCHENTERON ต่อไปจะเจริญไปเป็น ทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อ ชั้นใน เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือเนื้อเยื่อชั้นกลางในตอนท้ายระยะ GASTRULA จะมีการสร้างระบบประสาทขึ้น
  • 53. 4. DIFFERENTIATION คือขบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก ชั้นกลาง ชั้นใน เปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างต่างๆของร่างกาย เนื้อเยื่อของตัวอ่อนมี 3 ชนิด คือ เนื้อเยื่อชั้นนอก จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็นสมอง ตาหู ไข สันหลัง ผิวหนังและอื่นๆ เนื้อเยื่อชั้นกลาง จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็น กล้ามเนื้อ หัวใจ กระดูก และอื่นๆ เนื้อเยื่อชั้นใน จะเจริญเปลี่ยนแปลงกลายเป็น อวัยวะภายใน ต่างๆ เช่น กระเพาะอาหาร ลาไส้ ตับ เป็นต้น
  • 55.
  • 57. 8 สัปดาห์ 9 สัปดาห์ 23 สัปดาห์ 27 สัปดาห์
  • 58. การผสมข้ามชนิดและข้ามสกุล การผสมข้ามชนิด (interspecific breeding) เป็นการผสมพันธุ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสกุล (genus) เดียวกัน แต่เป็นคนละชนิด เช่น ปลาดุกบิกอุย เป็นลูกผสมระหว่างปลาดุกแอฟริกันกับปลาดุกอุย การผสมพันธุ์ข้ามสกุล (intergeneric breeding) เช่น ระหว่างปลาดุก ผสมกับปลาสวาย ลูกปลามีอัตราการรอดตายน้อย ส่วนใหญ่พิการและ ตายก่อนหรือหลังฟักออกเป็นตัว การผสมข้ามชนิดและข้ามสกุลนั้นพบน้อยในธรรมชาติ หรือไม่พบ เลย ตัวอย่างนี้เป็นการกระทาของมนุษย์ โดยวิธีการผสมเทียม
  • 59. พาร์ทีโนเจนีซิส (Parthenogenesis) คือ ปรากฏการณ์ที่ไข่เจริญต่อไปเป็นตัวใหม่โดยไม่ต้องมีการผสมพันธุ์และ ปฏิสนธิ พบในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ผึ้ง ต่อ แตน มด รวมทั้ง เพลี้ย  ผึ้ง นางพญาผึ้งจะผสมพันธุ์ครั้งเดียว และเก็บอสุจิไว้ใช้ตลอดชีวิต นางพญาผึ้งจะวางไข่ในรังผึ้ง ไข่บางฟองจะมีการปฏิสนธิ บางฟองไม่มี การปฏิสนธิ ไข่ที่ถูกปฏิสนธิจะเจริญเป็นตัวเมีย ซึ่งส่วนมากเป็นผึ้งงาน ส่วนไข่ที่ไม่ถูกผสมจะมีจานวนโครโมโซม เป็นแฮพลอยด์ และจะเป็นตัว ผู้เรียก โดรน (DRONE)