SlideShare a Scribd company logo
http://www.pm.ac.th/benjawan/response.ppt
การตอบสนองของพืช

การตอบสนองของพืชต่ อสิ่ งแวดล้ อม

1. การเคลือนไหวเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement)
่
- การตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าภายนอก
(paratonic movement หรือ stimulus movement)
- การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายใน (autonomic
movement)
2. การเคลือนไหวเนื่องมาจากการเปลียนแปลงแรงดันเต่ ง
่
่
(turgor movement)
3. การตอบสนองของพืชต่ อสารควบคุมการเจริญเติบโต
การเคลือนไหวทีเ่ กิดเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement)
่
1. การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายนอก (paratonic movement หรือ
stimulus movement) มี 2 แบบ คือ
1.1 แบบมีทศทางเกียวข้ องสั มพันธ์ กบสิ่ งเร้ า (tropism หรือ
ิ
่
ั
tropic movement) การตอบสนองแบบนีอาจจะทําให้ ส่วนของพืช
้
โค้ งเข้ าหาสิ่ งเร้ า เรียกว่ า positive tropism หรือ เคลือนทีหนีสิ่งเร้ า
่ ่
ทีมากระตุ้น เรียกว่ า negative tropism จําแนกได้ ตามชนิดของสิ่ งเร้ า
่
ดังนี้
1.1.1 โฟโททรอปิ ซึม (phototropism) เป็ นการตอบสนอง
ของพืชทีตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าทีเ่ ป็ นแสง พบว่ าทีปลายยอดพืช
่
่
(ลําต้ น) มีทศทางการเจริญเติบโตเจริญเข้ าหาแสงสว่ าง
ิ
(positive phototropism) ส่ วนทีปลายรากจะมีทศทางการ
่
ิ
เจริญเติบโตหนีจากแสงสว่ าง (negative phototropism)
1.1.2 จีโอทรอปิ ซึม (geotropism) เป็ นการตอบสนองของพืชที่
ตอบสนองต่ อแรงโน้ มถ่ วงของโลกโดยรากพืชจะเจริญเข้ าหา
แรงโน้ มถ่ วงของโลก (positive geotropism) เพือรับนําและแร่ ธาตุจาก
่
้
ดิน ส่ วนปลายยอดพืช (ลําต้ น) จะเจริญเติบโตในทิศทางตรงข้ ามกับ
แรงโน้ มถ่ วงของโลก (negative geotropism) เพือชูใบรับแสงสว่ าง
่
1.1.3 เคมอทรอปิ ซึม
(chemotropism) เป็ นการ
ตอบสนองของพืชโดยการเจริญ
เข้ าหาหรือหนีจากสารเคมี
บางอย่ างทีเ่ ป็ นสิ่ งเร้ า เช่ น
การงอกของหลอดละอองเรณู
ไปยังรังไข่ ของพืช โดยมีสารเคมี
บางอย่ างเป็ นสิ่ งเร้ า
1.1.4 ไฮโดรทรอปิซึม
(hydrotropism) เป็ นการ
ตอบสนองของพืชที่
ตอบสนองต่อความชื้น
ซึ่งรากของพืชจะงอกไปสู่
ที่มีความชื้น
1.1.5 ทิกมอทรอปิ ซึม (thigmotropism) เป็ นการตอบสนอง
ของพืชบางชนิดทีตอบสนองต่ อการสั มผัส เช่ น การเจริญของ
่
มือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็ นโครงสร้ างทียนออกไปพันหลักหรือ
่ ื่
เกาะบนต้ นไม้ อนหรือพืชพวกทีลาต้ นแบบเลือยจะพันหลักใน
ื่
่ํ
้
ลักษณะบิดลําต้ นไปรอบๆเป็ นเกลียว เช่ น ต้ นตําลึง ต้ นพลู ต้ นองุ่น
ต้ นพริกไทย เป็ นต้ น
1.2 แบบมีทศทางทีไม่ สัมพันธ์ กบทิศทางของสิ่ งเร้ า
ิ
่
ั
(nasty หรือ nastic movement)

การตอบสนองแบบนีจะมีทศทางคงทีคอ การเคลือนขึนหรือลง
้
ิ
่ ื
่ ้
เท่ านั้น ไม่ ขนกับทิศทางของสิ่ งเร้ า
ึ้
การบานของดอกไม้ (epinasty) เกิดจากกลุ่มเซล์ ด้านในหรือ
ด้ านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ ากลุ่มเซลล์ ด้านนอก
หรือด้ านล่ าง
การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ ด้านนอก
หรือด้ านล่ างของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ ากลุ่มเซลล์
ด้ านมนหรือด้ านบน
ตัวอย่ างเช่ น - ดอกบัว ส่ วนมากมักหุบในตอนกลางคืน และ
บานในตอนกลางวัน
- ดอกกระบองเพชร ส่ วนมากจะบานใน
ตอนกลางคืนและหุบในตอนกลางวัน
การบานของดอกไม้ ขึนอยู่กบชนิดของพืชและสิ่ งเร้ า เช่ น อุณหภูมิ
้
ั
ความชื้น แสง เป็ นต้ น ถ้ าสิ่ งเร้ าเป็ นแสงแล้ วทําให้ เกิดการตอบสนอง (เกิดการ
เคลือนไหว ด้ วยการบานการหุบของดอกไม้ ) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้ า
่
อุณหภูมิเป็ นสิ่ งเร้ าก็เรียกว่ า เทอร์ มอนาสที (thermonasty) ตัวอย่ างเช่ น ดอกบัว
ส่ วนมากมักหุบในตอนกลางคืนและบานในตอนกลางวัน แต่ ดอกกระบองเพชร
จะบานในตอนกลางคืนและจะหุบในตอนกลางวัน ทีเ่ ป็ นเช่ นนีเ้ นื่องจากใน
ตอนกลางคืนจะมีอุณหภูมิตํ่าหรือเย็นลง ทําให้ กลุ่มเซลล์ ด้านในของกลีบดอก
เจริญมากกว่ าด้ านนอกจึงทําให้ กลีบดอกบานออก แต่ ตอนกลางวันอากาศอุ่นขึน
้
อุณหภูมิสูงขึนจะทําให้ กลุ่มเซลล์ ด้านนอกเจริญยืดตัวมากกว่ าดอกจะหุบ
้
การบานและการหุบของดอกไม้ มีเวลาจํากัด เท่ ากับการเจริญของเซลล์
ของกลีบดอก เมื่อเซลล์เจริญยืดตัวเต็มทีแล้ วจะไม่ หุบหรือบานอีกต่ อไป กลีบดอก
่
จะโรยและหลุดร่ วงจากฐานดอก
โฟโตนาสที (photonasty)
2. การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายในของต้ นพืชเอง
(autonomic movement)
เป็ นการตอบสนองทีเ่ กิดจากการกระตุ้นจากสิ่ งเร้ าภายใน
จําพวกฮอร์ โมนโดยเฉพาะออกซิน ทําให้ การเจริญของลําต้ นทั้งสอง
ด้ านไม่ เท่ ากัน ได้ แก่
2.1 การเอนหรือแกว่ งยอดไปมา (nutation movement)
เป็ นการเคลือนไหวทีเ่ กิดเฉพาะส่ วนยอดของพืช สาเหตุเนื่องจาก
่
ด้ านสองด้ านของลําต้ น (บริเวณยอดพืช) เติบโตไม่ เท่ ากัน ทําให้ ยอด
พืชโยกหรือแกว่ งไปมาขณะทีปลายยอดกําลังเจริญเติบโต
่
2.2 การบิดลําต้นไปรอบๆเป็ นเกลียว (spiral
movement) เป็ นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดค่อยๆบิดเป็ น
เกลียวขึนไป เมื่อเจริญเติบโตขึน ซึ่งเป็ นการเคลื่อนไหวที่
้
้
มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า โดยปกติเราจะมองเห็นส่วนยอด
ของพืชเจริญเติบโตขึนไปตรงๆ แต่แท้จริงแล้วในส่วนที่
้
เจริญขึนไปนันจะบิดซ้ายขวาเล็กน้ อย เนื่ องจากลําต้นทัง
้
้
้
สองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากันเช่นเดียวกับ นิวเทชัน ซึ่ง
เรียกว่า circumnutation พืชบางชนิดมีลาต้นอ่อนทอด
ํ
เลือยและพันหลักในลักษณะการบิดลําต้นไปรอบๆ
้
เป็ นเกลียวเพื่อพยุงลําต้น เรียกว่า twining เช่น การพัน
หลักของต้นมะลิวลย์ พริกไทย อัญชัน ตําลึง ฯลฯ
ั
การเคลือนไหวทีเ่ กิดเนื่องจากการเปลียนแปลงแรงดันเต่ ง
่
่
(turgor movement)
ปกติพชจะมีการเคลือนไหวตอบสนองต่ อการสั มผัส
ื
่
(สิ่ งเร้ าจากภายนอก) ช้ ามาก แต่ มีพชบางชนิดทีตอบสนองได้ เร็ว
ื
่
โดยการสั มผัสจะไปทําให้ มีการเปลียนแปลงของปริมาณนําภายใน
่
้
เซลล์ ทําให้ แรงดันเต่ ง (turgor pressure) ของเซลล์ เปลียนแปลงไป
่
ซึ่งเป็ นไปอย่ างรวดเร็วและไม่ ถาวร ซึ่งมีหลายแบบ คือ
1. การหุบของใบจากการสะเทือน (contract movement)
- การหุบใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบ
และโคนก้านใบย่อยจะมีกลุ่มเซลล์ชนิดหนึ่ ง (เซลล์
พาเรงคิมา) เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus) ซึ่งเป็ นเซลล์ที่มี
ขนาดใหญ่และ
ผนังเซลล์บาง มีความไวสูงต่อสิ่ง
เร้าที่มากระตุ้น เช่น การสัมผัส เมื่อสิ่งเร้ามาสัมผัสหรือ
กระตุ้นจะมีผลทําให้แรงดันเต่งของ กลุ่มเซลล์ดงกล่าว
ั
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คือ เซลล์จะสูญเสียนํ้าให้กบ
ั
่
เซลล์ข้างเคียงทําให้ใบหุบลงทันที หลังจากนันสักครูนํ้า
้
จะซึมผ่านกลับเข้าสู่เซลล์พลไวนัสอีก แรงดันเต่ง ใน
ั
เซลล์เพิ่มขึนทําให้แรงดันเต่งและใบกางออก
้
- การหุบของใบพืชพวกทีมการเปลียนแปลงรู ปร่ างไป
่ ี
่
เพือจับแมลง ได้ แก่ ใบของต้ นหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง
่
ต้ นสาหร่ ายข้ าวเหนียว ต้ นกาบหอยแครง ต้ นหยาดนําค้ าง
้
เป็ นต้ น พืชพวกนีถอได้ ว่าเป็ นพืชกินแมลงจะมีการ
้ื
เปลียนแปลงรู ปร่ างของใบเพือทําหน้ าทีจบแมลง ภายในใบจะ
่
่
่ั
มีกลุ่มเซลล์ หรือขนเล็กๆ (hair) ทีไวต่ อสิ่ งเร้ าอยู่ทางด้ านใน
่
ของใบ เมื่อแมลงบินมาถูกหรือมาสั มผัสจะเกิดการสู ญเสี ยนํา
้
ใบจะเคลือนไหวหุบทันที แล้ วจึงปล่ อยเอนไซม์ ออกมาย่ อย
่
โปรตีนของแมลงให้ เป็ น กรดอะมิโน จากนั้นจึงดูดซึมทีผว
่ ิ
ด้ านในนั้นเอง
2. การหุบใบตอนพลบคําของพืชตระกูลถัว (sleep movement)
่
่

เป็ นการตอบสนองต่ อการเปลียนแปลงความเข้ มของแสงของพืช
่
ตระกูลถั่ว เช่ น ใบก้ ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ ใบถั่ว ใบแค ใบกระถิน ใบ
ผักกระเฉด เป็ นต้ น โดยที่ใบจะหุบ ก้ านใบจะห้ อยและลู่ลงในตอนพลบคํา
่
เนื่องจากแสงสว่ างลดลง ซึ่งชาวบ้ านเรียกว่ า “ต้ นไม้ นอน” แต่ พอรุ่งเช้ า
ใบก็จะกางตามเดิม การตอบสนองเช่ นนีเ้ กิดจากการเปลียนแปลง
่
แรงดันเต่ งของกลุ่มเซลล์ พลไวนัสที่โคนก้ านใบ โดยกลุ่มเซลล์ พลไวนัสนี้
ั
ั
เป็ นกลุ่มเซลล์ ขนาดใหญ่ และผนังเซลล์ บาง มีความไวสู งต่ อสิ่ งเร้ าที่มา
กระตุ้น เมือไม่ มแสงสว่ างหรือแสงสว่ างลดลง มีผลทําให้ เซลล์ ด้านหนึ่ง
่
ี
สู ญเสี ยนําให้ กบช่ องว่ างระหว่ างเซลล์ ที่อยู่เคียงข้ างทําให้ แรงดันเต่ งลดลง
้ ั
ใบจึงหุบลง ก้ านใบจะห้ อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ ามีแสงสว่ างนําจะเคลือน
้
่
กลับมาทําให้ แรงดันเต่ งเพิมขึนและเซลล์ เต่ งดันให้ ที่ลู่น้ันกางออก
่ ้
3. การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement)

การเปิ ด-ปิ ดของปากใบขึนอยู่กบความเต่ งของเซลล์ คุม
้
ั
(guard cell) ในตอนกลางวันเซลล์ คุมมีกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
เกิดขึน ทําให้ ภายในเซลล์ คุมมีระดับนําตาลสู งขึน นําจากเซลล์
้
้
้ ้
ข้ างเคียงจะซึมผ่ านเข้ าเซลล์ คุม ทําให้ เซลล์ คุมมีแรงดันเต่ งเพิมขึน
่ ้
ดันให้ ผนังเซลล์ คุมที่แนบชิดติดกันให้ เผยออก จึงทําให้ ปากใบเปิ ด
แต่ เมือระดับนําตาลลดลงเนื่องจากไม่ มกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
่
้
ี
นําก็จะซึ่มออกจากเซลล์ คุม ทําให้ แรงดันเต่ งในเซลล์ คุมลดลงเซลล์ จะ
้
เหี่ยวและปากใบก็จะปิ ด
การตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าของพืชด้ วยการเคลือนไหวแบบต่ างๆ ที่
่
เกิดขึนจะมีผลต่ อประสิ ทธิภาพในการดํารงชีวตของพืช สรุปได้ ดงนี้
้
ิ
ั
1. การหันยอดเข้ าหาแสงสว่ าง ช่ วยให้ พชสั งเคราะห์ อาหารได้ อย่ างทัวถึง
ื
่
2. การหันรากเข้ าสู่ ศูนย์ กลางของโลก ช่ วยให้ รากอยู่ในดิน ซึ่งเป็ นแหล่ง
ทีพชได้ รับนําและแร่ ธาตุ
่ ื
้
3. การเจริญเข้ าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่ วยในการผสมพันธุ์
การขยายกลีบช่ วยในการกระจายหรือรับละอองเกสร
4. การเคลือนไหวแบบ nutation , spiral movement และ twining
่
movement ช่ วยให้ พชเกาะพันกับสิ่ งอืนๆสามารถชู กงหรือยอด เพือรับแสงแดด
ื
่
ิ่
่
หรือชู ดอกและผลเพือการสื บพันธุ์หรือกระจายพันธุ์
่
5. การหุบของต้ นกาบหอยแครงช่ วยในการจับแมลงหรืออาหาร การหุบ
ของไมยราบช่ วยในการหลบหลีกศัตรู
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยภายนอก (External Signals) - Light,
Gravity, Mechanical, Stress, Pathogens and
Insects ….
2. ปัจจัยภายใน ( Internal Signals) - Hormones
ไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อ ปัจจัยภายนอก
หรือปัจจัยภายใน จะคล้ายกันในระดับเซลล์ คือ
เกิดโดยขบวนการที่เรียกว่า Signal Transduction
Pathways Model ซึ่งสมารถสรุปได้ดงแผนภาพ
ั
ถัดไป และ ตัวอย่าง ในการตอบสนองต่อแสง ใน
Light induced Greening Response ผ่านการทํางาน
ของ Phytochrome
โปรดระลึกเสมอว่า ไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อ
ปัจจัยภายนอก หรือ ปัจจัยภายในพืช กระบวนการ
หรือ กลไก ที่เกิดขึน และ ขันตอนที่เกิด การ
้
้
ตอบสนอง จะมีความซับซ้อน มาก (Complexity )
เสมอแม้ว่าจะเกิดจากปัจจัยเพียงปัจจัยเดียว ใน
ตอนเริ่มต้น
ฮอร์โมนพืช (Phytohormone) คือ สารเคมีที่พืช
สร้างขึนในปริมาณเพียงเล็กน้ อย และ มีผลต่อ
้
ขบวนการ หรือ ควบคุมการเจริญในพืช (Plant
Development)
ปัจจุบนพบว่า เราสามารถสังเคราะห์สารได้
ั
หลายชนิด ที่มีสมบัติเหมือน ฮอร์โมนพืช จึงจัดรวม
กับฮอร์โมนพืช เรียกว่า สารควบคุมการเติบโตของ
พืช
( Plant Growth Regulators หรือ Substances
)
ปัจจุบน จะแบ่งฮอร์โมนพืชออกเป็ น 5-6 กลุ่ม ด้วยกัน คือ
ั
1. ออกซิน (auxin) มาจากภาษากรีก แปลว่า ทําให้เพิ่ม (to
increase)
2. ไซโทไคนิน (cytokinin) มาจาก เพิ่มการแบ่งเซลล์
cytokinesis
3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin) มาจากชื่อรา Gibberella
fujikuroi
4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid) มาจาก การร่วงของใบ
abscission
5. เอทิลีน (ethylene) เป็ นชนิดเดียวที่เป็ น ก๊าซ ช่วยเร่งการสุก
ฮอร์โมนพืช แต่ละชนิด มีประวัติการค้นพบที่แตกต่างกันไป
1. ออกซิน (auxin) - ฮอร์โมนพืชตัวแรกที่ค้นพบ
โดยเริ่มจาก การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการโค้งงอเข้าหา
แสงของ ยอดอ่อนต้นกล้าของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว( coleoptile)
ซึ่งต่อมาเรียกว่า Phototropism
การทดลองที่มกอ้างถึง ได้แก่ การทดลองของ ชาร์ล
ั
ดาร์วิน กับลูกชาย(Charles and Francis Darwin) ปี ค.ศ.
1880 และ ฟริตส์ เวนต์ (Frits W. Went) ปี ค.ศ. 1926-8
การเจริญเข้าหาแสงสว่าง
( Positive Phototropism )
ของเยื่อหุ้มยอดอ่อนของ
ข้าวโอ๊ต
(Oat seedling coleoptile)
การทดลองของ
F. W. Went
ในปี ค.ศ. 1926
หรือ ปี พ.ศ. 2469
เกี่ยวกับการโค้งเข้า
หาแสงของ
เยื่อหุ้มยอดอ่อน
(coleoptile) ของ
ต้นกล้าข้าวโอ๊ต
 ออกซิน ธรรมชาติ (Natural Auxin)
 Indole-3-Acetic Acid (IAA)
 Indole-3-Butyric Acid (IBA)
 ออกซิน สังเคราะห์ (Synthetic Auxin)
 Naphthalene Acetic Acid (NAA)
 2,4-Dicholophenoxy acetic acid (2,4-D)
 2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid (2,4,5-T)
 แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อเจริญที่
ั
้

ปลายยอด ตายอด ใบอ่อน และ ต้นอ่อนในเมล็ด (seed
embryo)
 หน้ าที่สาคัญ
ํ
 เร่งการขยายตัวของเซลล์ และ กระตุ้นการแบ่งเซลล์
 กระตุ้นการออกราก - เร่งการออกดอกของพืชบางชนิด
 ยับยังการเจริญของตาข้าง - ป้ องกันใบร่วง - เปลี่ยน
้
เพศดอก
 Phototropism & Gravitropism - สารกําจัดวัชพืช - อื่น
2. ไซโทไคนิน (cytokinin) เป็ นฮอร์โมนพืชที่ค้นพบเนื่ องมาจากการ

วิจยด้านการเพาะเลียงเนื้ อเยือพืช (plant tissue culture) โดยทีมนักวิจยนํา
ั
้
่
ั
โดย F. Skoog มหาวิทยาลัย Wisconsin พบว่านํ้ามะพร้าว และ นํ้าสะกัดจาก
ยีสต์ จะสามารถ เร่งการแบ่งเซลล์ในการเพาะเลียงเนื้ อเยื่อพืชได้ เมื่อแยก
้
และทําให้บริสทธิพบว่าเป็ น N6-furfurylamino purine และเรียกว่า kinetin
ุ
เนื่ องจากเป็ นสารเร่งกระบวนการแบ่งเซลล์ (cytokinesis) ซึ่งถือว่าเป็ น
cytokinin ตัวแรกที่ค้นพบ แต่ชนิดที่พบมากที่สดในพืชคือ Zeatin
ุ
(พบครังแรกในข้าวโพด=Zea mays) ชื่อ cytokinin เสนอโดย Skoog และคณะ
้
ในปี 1965
 แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อ
ั
้

ที่กาลังเจริญ โดยเฉพาะที่ราก ต้นอ่อน และ ผล
ํ
 หน้ าที่สาคัญ
ํ
 กระตุ้นการแบ่งเซลล์ และ เร่งการขยายตัวของ
เซลล์
 ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง - ชะลอการแก่ของ
ใบ
 ช่วยการงอกของเมล็ด - ควบคุมการปิดเปิด
ปากใบ
 อีกตัวอย่างของการทํางานร่วมกันของ Auxin กับ

Cytokinin
3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin)

เป็ นฮอร์โมนพืช ที่ค้นพบโดยปัญหาที่พบโดย
ชาวนาญี่ปน เกี่ยวกับโรคชนิดหนึ่ งของข้าว ที่ทา
ุ่
ํ
ให้ลาต้นสูงกว่าปกติ และ ให้ผลผลิตตํา ซึ่งต่อมา
ํ
่
นักวิทยาศาสตร์ชาว ญี่ปนชื่อ E. Kurosawa ในปี
ุ่
1938 พบว่าสาเหตุ เกิดมาจากสารที่ผลิตโดยเชื้อ
รา ชนิดหนึ่ งชื่อ Gibberella fujikuroi ซึ่งเมื่อแยก
และทําให้บริสทธ์ ิ แล้ว จึงตังชื่อ สารนี้ ว่า
ุ
้
gibberellin
 แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อที่กาลัง
ั
้
ํ

เจริญ เช่นปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน และ ต้นอ่อน
 หน้ าที่สาคัญของ GA
ํ
 เร่งการขยายตัวของเซลล์ และ การยืดของลําต้น
 เร่งการออกดอก - การแสดงออกของเพศดอก - การ
ติดผล
 ช่วยการงอกของเมล็ด และ ตา (bud) - ทําลายการพัก
ตัวของเมล็ด
 และ อื่น ๆ… โดยทําหน้ าที่ร่วมกับ hormone ชนิดอื่น ๆ
4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid หรือ ABA) ค้นพบจาก

การศึกษาสารเร่งกระบวนการร่วงของใบที่เรียกว่า
abscission และ เมื่อมีการทําให้บริสทธิพบว่าเป็ นสาร
ุ
ตัวเดียวกันกับ สารยับยังการเจริญของตา (bud
้
dormancy-inducing substances) ที่เรียกกันว่า dormin
และสารยับยังการยืดตัวของ coleoptile โดย auxin
้
(IAA) ที่เรียกว่า growth inhibitor ชื่อ abscissic acid
หรือ ABA เป็ นที่ยอมรับกันในปี 1967
 แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ มีการสังเคราะห์ได้ทงที่
ั
้
ั้

บริเวณ ลําต้น ราก ใบ และ ที่ผล เป็ นฮอร์โมนที่ต่างจาก 3
ตัวแรก คือ เป็ นสารชนิดเดียวคือ abscisic acid
 หน้ าที่สาคัญของABA
ํ
 เริ่มต้นคิดว่าทําหน้ าที่เกี่ยวกับการร่วงของใบ และการ
ยับยังการเจริญของตา แต่ในปัจจุบนพบว่าเกี่ยวกับสอง
้
ั
ขบวนการนี้ น้อย
 การหน้ าที่หลัของ ABA คือ ยับยังการเจริญ หรือ ยับยัง
้
้
การทํางานของฮอร์โมนชนิดอื่น ๆ - ยับยังการงอกของ
้
เมล็ด
 กระตุ้นการปิดของปากใบเมื่อขาดนํ้า
5. เอทิลีน (ethylene) เป็ นทีทราบกันมานานแล้ วว่ า ผลไม้ สุก
่

หรือ ผลไม้ ทเี่ น่ าเสี ย จะมีผลไปเร่ งให้ ผลไม้ อนสุ กเร็วขึน ซึ่ง
ื่
้
พบว่ าเกิดจากการปล่ อยสารระเหยบางชนิดออกมา และ ใน
ปี 1934 R. Gane เป็ นผูพิสจน์ ว่า สารนี้ คือ เอทิลีน
้ ู
(C2H4) ต่อมาพบว่า นอกจากจะมีผลในการกระตุ้นการ
สุกของผลไม้แล้ว ยังมีผลต่อพืชในแง่อื่น ๆ อีกหลาย
อย่าง เช่น การร่วงของใบ การออกดอกของสับปะรด
การเพิ่มปริมาณของนํ้ายางพารา เป็ นต้น เป็ นฮอร์โมน
ชนิดเดียวที่เป็ นก๊าซ
 แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ เนื้ อเยื่อผลไม้ที่สก ใบ
ั
้
ุ

แก่ และ ดอก
 หน้ าที่สาคัญของเอทิลีน
ํ
 กระตุ้นการสุกของผลไม้
- กระตุ้นการร่วงของใบ
 กระตุ้นการออกดอก
- ยับยังการยืดตัวของลํา
้
ต้น
 ยับยัง หรือ กระตุ้นการออกราก ใบ หรือ ดอก แล้วแต่
้
ชนิด ของพืช และ มีผลต่ออีกหลายๆ ขบวนการของพืช
ที่เกี่ยวกับความแก่ (Aging or Senescence) โดยทําหน้ าที่
ร่วมกับ hormone ชนิด อื่น ๆ
 กล้วย

 ส้ม

 มะม่วง

 มะนาว

 มะละกอ

 ลิ้นจี่

 แอปเปิล

 สับปะรด

 สาลี่

 มะเขือเทศ

 มะเขือเทศ

 องุ่น
 เนื่ องจาก เอทิลีน เป็ นก๊าซ ทําให้การใช้ไม่

สะดวก ในหลายกรณี จึงมีการสังเคราะห์สารชื่อ
อีทีฟอน (Ethephon) ซึ่งคือสาร 2-chloroethyl
phosphonic acid ที่เป็ นสารกึ่งแข็ง ที่สลายตัวให้
ก๊าซเอทิลีน ออกมา ใช้แทน โดยมีชื่อทางการค้า
แตกต่างกันออกไป เช่น
 อีเทรล (Ethrel) ,อีเทรล ลาเท็กซ์ (Ethrel latex),
ซีฟา (Cepha) หรือ อีโซฟอน (Esophon) เป็ นต้น
 การใช้ เอทิลีน หรือ เอทิลีนสังเคราะห์ ปัจจุบนใช้
ั

กันอย่างกว้างขวาง ในการ บ่มผลไม้ให้สกเร็วขึน
ุ
้
และ พร้อมกัน การเร่งดอกสับปะรดให้ออก
พร้อมกัน การเร่งสีขององุ่น และ มะเขือเทศ
เป็ นต้น
 ในบางกรณี อาจใช้ ถ่านก๊าซ (Calcium Carbide)
ซึ่งปล่อย ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene) บ่มผลไม้
แทนได้ แต่ไม่ดีเท่า
1. Florigen ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอกที่ เกิดจาก
ช่วงแสง (Photoperiodism)
2. Vernalin ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอก จาก
อุณหภูมิตา (Vernalization)
ํ่
1. แหล่งสังเคราะห์ในพืช ไม่แน่ นอน เหมือนในสัตว์

2. ตําแหน่ งการทํางานในพืช ไม่แน่ นอน และ ไม่
จําเป็ นต้องเป็ นคนละที่กบแหล่งสร้าง
ั
3. การทํางานโดยความเข้มข้นของฮอร์โมน ไม่ชดเจน
ั
4. การทํางานของฮอร์โมนพืช แต่ละตัวมีหลายอย่าง
และ มักทํางานร่วมกับกับฮอร์โมนชนิดอื่น ๆ ด้วย
เสมอ
* ดังนันบางคนจึงไม่อยากเรียกว่า ฮอร์โมนพืช ( Plant
้
Hormones) แต่เรียกว่า สารควบคุมการเติบโต ( Plant
Growth Regulators หรือ Substances ) แทน

More Related Content

What's hot

การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
Li Yu Ling
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
Preeda Kholae
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
sukanya petin
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 

What's hot (20)

การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
หน่วยที่ 5 ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 

Similar to บทที่ 15 การตอบสนองของพืช

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
ResponseของพืชIssara Mo
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
Turgor movement
Turgor movementTurgor movement
Turgor movement
ssusera917d4
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์kanitnun
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
poster_khammanut_155_No1
poster_khammanut_155_No1poster_khammanut_155_No1
poster_khammanut_155_No1
Khammanut Vijitjarunrung
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 

Similar to บทที่ 15 การตอบสนองของพืช (20)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
Turgor movement
Turgor movementTurgor movement
Turgor movement
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
poster_khammanut_155_No1
poster_khammanut_155_No1poster_khammanut_155_No1
poster_khammanut_155_No1
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 

More from ฟลุ๊ค ลำพูน

ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 

More from ฟลุ๊ค ลำพูน (20)

Biology
BiologyBiology
Biology
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
4
44
4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 

บทที่ 15 การตอบสนองของพืช

  • 2. การตอบสนองของพืช การตอบสนองของพืชต่ อสิ่ งแวดล้ อม 1. การเคลือนไหวเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement) ่ - การตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) - การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายใน (autonomic movement) 2. การเคลือนไหวเนื่องมาจากการเปลียนแปลงแรงดันเต่ ง ่ ่ (turgor movement) 3. การตอบสนองของพืชต่ อสารควบคุมการเจริญเติบโต
  • 3. การเคลือนไหวทีเ่ กิดเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement) ่ 1. การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) มี 2 แบบ คือ 1.1 แบบมีทศทางเกียวข้ องสั มพันธ์ กบสิ่ งเร้ า (tropism หรือ ิ ่ ั tropic movement) การตอบสนองแบบนีอาจจะทําให้ ส่วนของพืช ้ โค้ งเข้ าหาสิ่ งเร้ า เรียกว่ า positive tropism หรือ เคลือนทีหนีสิ่งเร้ า ่ ่ ทีมากระตุ้น เรียกว่ า negative tropism จําแนกได้ ตามชนิดของสิ่ งเร้ า ่ ดังนี้
  • 4. 1.1.1 โฟโททรอปิ ซึม (phototropism) เป็ นการตอบสนอง ของพืชทีตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าทีเ่ ป็ นแสง พบว่ าทีปลายยอดพืช ่ ่ (ลําต้ น) มีทศทางการเจริญเติบโตเจริญเข้ าหาแสงสว่ าง ิ (positive phototropism) ส่ วนทีปลายรากจะมีทศทางการ ่ ิ เจริญเติบโตหนีจากแสงสว่ าง (negative phototropism)
  • 5. 1.1.2 จีโอทรอปิ ซึม (geotropism) เป็ นการตอบสนองของพืชที่ ตอบสนองต่ อแรงโน้ มถ่ วงของโลกโดยรากพืชจะเจริญเข้ าหา แรงโน้ มถ่ วงของโลก (positive geotropism) เพือรับนําและแร่ ธาตุจาก ่ ้ ดิน ส่ วนปลายยอดพืช (ลําต้ น) จะเจริญเติบโตในทิศทางตรงข้ ามกับ แรงโน้ มถ่ วงของโลก (negative geotropism) เพือชูใบรับแสงสว่ าง ่
  • 6. 1.1.3 เคมอทรอปิ ซึม (chemotropism) เป็ นการ ตอบสนองของพืชโดยการเจริญ เข้ าหาหรือหนีจากสารเคมี บางอย่ างทีเ่ ป็ นสิ่ งเร้ า เช่ น การงอกของหลอดละอองเรณู ไปยังรังไข่ ของพืช โดยมีสารเคมี บางอย่ างเป็ นสิ่ งเร้ า
  • 7. 1.1.4 ไฮโดรทรอปิซึม (hydrotropism) เป็ นการ ตอบสนองของพืชที่ ตอบสนองต่อความชื้น ซึ่งรากของพืชจะงอกไปสู่ ที่มีความชื้น
  • 8. 1.1.5 ทิกมอทรอปิ ซึม (thigmotropism) เป็ นการตอบสนอง ของพืชบางชนิดทีตอบสนองต่ อการสั มผัส เช่ น การเจริญของ ่ มือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็ นโครงสร้ างทียนออกไปพันหลักหรือ ่ ื่ เกาะบนต้ นไม้ อนหรือพืชพวกทีลาต้ นแบบเลือยจะพันหลักใน ื่ ่ํ ้ ลักษณะบิดลําต้ นไปรอบๆเป็ นเกลียว เช่ น ต้ นตําลึง ต้ นพลู ต้ นองุ่น ต้ นพริกไทย เป็ นต้ น
  • 9. 1.2 แบบมีทศทางทีไม่ สัมพันธ์ กบทิศทางของสิ่ งเร้ า ิ ่ ั (nasty หรือ nastic movement) การตอบสนองแบบนีจะมีทศทางคงทีคอ การเคลือนขึนหรือลง ้ ิ ่ ื ่ ้ เท่ านั้น ไม่ ขนกับทิศทางของสิ่ งเร้ า ึ้ การบานของดอกไม้ (epinasty) เกิดจากกลุ่มเซล์ ด้านในหรือ ด้ านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ ากลุ่มเซลล์ ด้านนอก หรือด้ านล่ าง
  • 10. การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ ด้านนอก หรือด้ านล่ างของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ ากลุ่มเซลล์ ด้ านมนหรือด้ านบน ตัวอย่ างเช่ น - ดอกบัว ส่ วนมากมักหุบในตอนกลางคืน และ บานในตอนกลางวัน - ดอกกระบองเพชร ส่ วนมากจะบานใน ตอนกลางคืนและหุบในตอนกลางวัน
  • 11. การบานของดอกไม้ ขึนอยู่กบชนิดของพืชและสิ่ งเร้ า เช่ น อุณหภูมิ ้ ั ความชื้น แสง เป็ นต้ น ถ้ าสิ่ งเร้ าเป็ นแสงแล้ วทําให้ เกิดการตอบสนอง (เกิดการ เคลือนไหว ด้ วยการบานการหุบของดอกไม้ ) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้ า ่ อุณหภูมิเป็ นสิ่ งเร้ าก็เรียกว่ า เทอร์ มอนาสที (thermonasty) ตัวอย่ างเช่ น ดอกบัว ส่ วนมากมักหุบในตอนกลางคืนและบานในตอนกลางวัน แต่ ดอกกระบองเพชร จะบานในตอนกลางคืนและจะหุบในตอนกลางวัน ทีเ่ ป็ นเช่ นนีเ้ นื่องจากใน ตอนกลางคืนจะมีอุณหภูมิตํ่าหรือเย็นลง ทําให้ กลุ่มเซลล์ ด้านในของกลีบดอก เจริญมากกว่ าด้ านนอกจึงทําให้ กลีบดอกบานออก แต่ ตอนกลางวันอากาศอุ่นขึน ้ อุณหภูมิสูงขึนจะทําให้ กลุ่มเซลล์ ด้านนอกเจริญยืดตัวมากกว่ าดอกจะหุบ ้ การบานและการหุบของดอกไม้ มีเวลาจํากัด เท่ ากับการเจริญของเซลล์ ของกลีบดอก เมื่อเซลล์เจริญยืดตัวเต็มทีแล้ วจะไม่ หุบหรือบานอีกต่ อไป กลีบดอก ่ จะโรยและหลุดร่ วงจากฐานดอก
  • 13. 2. การตอบสนองทีเ่ กิดจากสิ่ งเร้ าภายในของต้ นพืชเอง (autonomic movement) เป็ นการตอบสนองทีเ่ กิดจากการกระตุ้นจากสิ่ งเร้ าภายใน จําพวกฮอร์ โมนโดยเฉพาะออกซิน ทําให้ การเจริญของลําต้ นทั้งสอง ด้ านไม่ เท่ ากัน ได้ แก่ 2.1 การเอนหรือแกว่ งยอดไปมา (nutation movement) เป็ นการเคลือนไหวทีเ่ กิดเฉพาะส่ วนยอดของพืช สาเหตุเนื่องจาก ่ ด้ านสองด้ านของลําต้ น (บริเวณยอดพืช) เติบโตไม่ เท่ ากัน ทําให้ ยอด พืชโยกหรือแกว่ งไปมาขณะทีปลายยอดกําลังเจริญเติบโต ่
  • 14. 2.2 การบิดลําต้นไปรอบๆเป็ นเกลียว (spiral movement) เป็ นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดค่อยๆบิดเป็ น เกลียวขึนไป เมื่อเจริญเติบโตขึน ซึ่งเป็ นการเคลื่อนไหวที่ ้ ้ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า โดยปกติเราจะมองเห็นส่วนยอด ของพืชเจริญเติบโตขึนไปตรงๆ แต่แท้จริงแล้วในส่วนที่ ้ เจริญขึนไปนันจะบิดซ้ายขวาเล็กน้ อย เนื่ องจากลําต้นทัง ้ ้ ้ สองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากันเช่นเดียวกับ นิวเทชัน ซึ่ง เรียกว่า circumnutation พืชบางชนิดมีลาต้นอ่อนทอด ํ เลือยและพันหลักในลักษณะการบิดลําต้นไปรอบๆ ้ เป็ นเกลียวเพื่อพยุงลําต้น เรียกว่า twining เช่น การพัน หลักของต้นมะลิวลย์ พริกไทย อัญชัน ตําลึง ฯลฯ ั
  • 15. การเคลือนไหวทีเ่ กิดเนื่องจากการเปลียนแปลงแรงดันเต่ ง ่ ่ (turgor movement) ปกติพชจะมีการเคลือนไหวตอบสนองต่ อการสั มผัส ื ่ (สิ่ งเร้ าจากภายนอก) ช้ ามาก แต่ มีพชบางชนิดทีตอบสนองได้ เร็ว ื ่ โดยการสั มผัสจะไปทําให้ มีการเปลียนแปลงของปริมาณนําภายใน ่ ้ เซลล์ ทําให้ แรงดันเต่ ง (turgor pressure) ของเซลล์ เปลียนแปลงไป ่ ซึ่งเป็ นไปอย่ างรวดเร็วและไม่ ถาวร ซึ่งมีหลายแบบ คือ
  • 16. 1. การหุบของใบจากการสะเทือน (contract movement) - การหุบใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบ และโคนก้านใบย่อยจะมีกลุ่มเซลล์ชนิดหนึ่ ง (เซลล์ พาเรงคิมา) เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus) ซึ่งเป็ นเซลล์ที่มี ขนาดใหญ่และ ผนังเซลล์บาง มีความไวสูงต่อสิ่ง เร้าที่มากระตุ้น เช่น การสัมผัส เมื่อสิ่งเร้ามาสัมผัสหรือ กระตุ้นจะมีผลทําให้แรงดันเต่งของ กลุ่มเซลล์ดงกล่าว ั เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คือ เซลล์จะสูญเสียนํ้าให้กบ ั ่ เซลล์ข้างเคียงทําให้ใบหุบลงทันที หลังจากนันสักครูนํ้า ้ จะซึมผ่านกลับเข้าสู่เซลล์พลไวนัสอีก แรงดันเต่ง ใน ั เซลล์เพิ่มขึนทําให้แรงดันเต่งและใบกางออก ้
  • 17. - การหุบของใบพืชพวกทีมการเปลียนแปลงรู ปร่ างไป ่ ี ่ เพือจับแมลง ได้ แก่ ใบของต้ นหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง ่ ต้ นสาหร่ ายข้ าวเหนียว ต้ นกาบหอยแครง ต้ นหยาดนําค้ าง ้ เป็ นต้ น พืชพวกนีถอได้ ว่าเป็ นพืชกินแมลงจะมีการ ้ื เปลียนแปลงรู ปร่ างของใบเพือทําหน้ าทีจบแมลง ภายในใบจะ ่ ่ ่ั มีกลุ่มเซลล์ หรือขนเล็กๆ (hair) ทีไวต่ อสิ่ งเร้ าอยู่ทางด้ านใน ่ ของใบ เมื่อแมลงบินมาถูกหรือมาสั มผัสจะเกิดการสู ญเสี ยนํา ้ ใบจะเคลือนไหวหุบทันที แล้ วจึงปล่ อยเอนไซม์ ออกมาย่ อย ่ โปรตีนของแมลงให้ เป็ น กรดอะมิโน จากนั้นจึงดูดซึมทีผว ่ ิ ด้ านในนั้นเอง
  • 18. 2. การหุบใบตอนพลบคําของพืชตระกูลถัว (sleep movement) ่ ่ เป็ นการตอบสนองต่ อการเปลียนแปลงความเข้ มของแสงของพืช ่ ตระกูลถั่ว เช่ น ใบก้ ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ ใบถั่ว ใบแค ใบกระถิน ใบ ผักกระเฉด เป็ นต้ น โดยที่ใบจะหุบ ก้ านใบจะห้ อยและลู่ลงในตอนพลบคํา ่ เนื่องจากแสงสว่ างลดลง ซึ่งชาวบ้ านเรียกว่ า “ต้ นไม้ นอน” แต่ พอรุ่งเช้ า ใบก็จะกางตามเดิม การตอบสนองเช่ นนีเ้ กิดจากการเปลียนแปลง ่ แรงดันเต่ งของกลุ่มเซลล์ พลไวนัสที่โคนก้ านใบ โดยกลุ่มเซลล์ พลไวนัสนี้ ั ั เป็ นกลุ่มเซลล์ ขนาดใหญ่ และผนังเซลล์ บาง มีความไวสู งต่ อสิ่ งเร้ าที่มา กระตุ้น เมือไม่ มแสงสว่ างหรือแสงสว่ างลดลง มีผลทําให้ เซลล์ ด้านหนึ่ง ่ ี สู ญเสี ยนําให้ กบช่ องว่ างระหว่ างเซลล์ ที่อยู่เคียงข้ างทําให้ แรงดันเต่ งลดลง ้ ั ใบจึงหุบลง ก้ านใบจะห้ อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ ามีแสงสว่ างนําจะเคลือน ้ ่ กลับมาทําให้ แรงดันเต่ งเพิมขึนและเซลล์ เต่ งดันให้ ที่ลู่น้ันกางออก ่ ้
  • 19. 3. การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement) การเปิ ด-ปิ ดของปากใบขึนอยู่กบความเต่ งของเซลล์ คุม ้ ั (guard cell) ในตอนกลางวันเซลล์ คุมมีกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง เกิดขึน ทําให้ ภายในเซลล์ คุมมีระดับนําตาลสู งขึน นําจากเซลล์ ้ ้ ้ ้ ข้ างเคียงจะซึมผ่ านเข้ าเซลล์ คุม ทําให้ เซลล์ คุมมีแรงดันเต่ งเพิมขึน ่ ้ ดันให้ ผนังเซลล์ คุมที่แนบชิดติดกันให้ เผยออก จึงทําให้ ปากใบเปิ ด แต่ เมือระดับนําตาลลดลงเนื่องจากไม่ มกระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสง ่ ้ ี นําก็จะซึ่มออกจากเซลล์ คุม ทําให้ แรงดันเต่ งในเซลล์ คุมลดลงเซลล์ จะ ้ เหี่ยวและปากใบก็จะปิ ด
  • 20. การตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ าของพืชด้ วยการเคลือนไหวแบบต่ างๆ ที่ ่ เกิดขึนจะมีผลต่ อประสิ ทธิภาพในการดํารงชีวตของพืช สรุปได้ ดงนี้ ้ ิ ั 1. การหันยอดเข้ าหาแสงสว่ าง ช่ วยให้ พชสั งเคราะห์ อาหารได้ อย่ างทัวถึง ื ่ 2. การหันรากเข้ าสู่ ศูนย์ กลางของโลก ช่ วยให้ รากอยู่ในดิน ซึ่งเป็ นแหล่ง ทีพชได้ รับนําและแร่ ธาตุ ่ ื ้ 3. การเจริญเข้ าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่ วยในการผสมพันธุ์ การขยายกลีบช่ วยในการกระจายหรือรับละอองเกสร 4. การเคลือนไหวแบบ nutation , spiral movement และ twining ่ movement ช่ วยให้ พชเกาะพันกับสิ่ งอืนๆสามารถชู กงหรือยอด เพือรับแสงแดด ื ่ ิ่ ่ หรือชู ดอกและผลเพือการสื บพันธุ์หรือกระจายพันธุ์ ่ 5. การหุบของต้ นกาบหอยแครงช่ วยในการจับแมลงหรืออาหาร การหุบ ของไมยราบช่ วยในการหลบหลีกศัตรู
  • 21.
  • 22. สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยภายนอก (External Signals) - Light, Gravity, Mechanical, Stress, Pathogens and Insects …. 2. ปัจจัยภายใน ( Internal Signals) - Hormones
  • 23. ไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อ ปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยภายใน จะคล้ายกันในระดับเซลล์ คือ เกิดโดยขบวนการที่เรียกว่า Signal Transduction Pathways Model ซึ่งสมารถสรุปได้ดงแผนภาพ ั ถัดไป และ ตัวอย่าง ในการตอบสนองต่อแสง ใน Light induced Greening Response ผ่านการทํางาน ของ Phytochrome
  • 24.
  • 25.
  • 26. โปรดระลึกเสมอว่า ไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อ ปัจจัยภายนอก หรือ ปัจจัยภายในพืช กระบวนการ หรือ กลไก ที่เกิดขึน และ ขันตอนที่เกิด การ ้ ้ ตอบสนอง จะมีความซับซ้อน มาก (Complexity ) เสมอแม้ว่าจะเกิดจากปัจจัยเพียงปัจจัยเดียว ใน ตอนเริ่มต้น
  • 27. ฮอร์โมนพืช (Phytohormone) คือ สารเคมีที่พืช สร้างขึนในปริมาณเพียงเล็กน้ อย และ มีผลต่อ ้ ขบวนการ หรือ ควบคุมการเจริญในพืช (Plant Development) ปัจจุบนพบว่า เราสามารถสังเคราะห์สารได้ ั หลายชนิด ที่มีสมบัติเหมือน ฮอร์โมนพืช จึงจัดรวม กับฮอร์โมนพืช เรียกว่า สารควบคุมการเติบโตของ พืช ( Plant Growth Regulators หรือ Substances )
  • 28. ปัจจุบน จะแบ่งฮอร์โมนพืชออกเป็ น 5-6 กลุ่ม ด้วยกัน คือ ั 1. ออกซิน (auxin) มาจากภาษากรีก แปลว่า ทําให้เพิ่ม (to increase) 2. ไซโทไคนิน (cytokinin) มาจาก เพิ่มการแบ่งเซลล์ cytokinesis 3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin) มาจากชื่อรา Gibberella fujikuroi 4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid) มาจาก การร่วงของใบ abscission 5. เอทิลีน (ethylene) เป็ นชนิดเดียวที่เป็ น ก๊าซ ช่วยเร่งการสุก
  • 29. ฮอร์โมนพืช แต่ละชนิด มีประวัติการค้นพบที่แตกต่างกันไป 1. ออกซิน (auxin) - ฮอร์โมนพืชตัวแรกที่ค้นพบ โดยเริ่มจาก การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการโค้งงอเข้าหา แสงของ ยอดอ่อนต้นกล้าของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว( coleoptile) ซึ่งต่อมาเรียกว่า Phototropism การทดลองที่มกอ้างถึง ได้แก่ การทดลองของ ชาร์ล ั ดาร์วิน กับลูกชาย(Charles and Francis Darwin) ปี ค.ศ. 1880 และ ฟริตส์ เวนต์ (Frits W. Went) ปี ค.ศ. 1926-8
  • 30. การเจริญเข้าหาแสงสว่าง ( Positive Phototropism ) ของเยื่อหุ้มยอดอ่อนของ ข้าวโอ๊ต (Oat seedling coleoptile)
  • 31.
  • 32. การทดลองของ F. W. Went ในปี ค.ศ. 1926 หรือ ปี พ.ศ. 2469 เกี่ยวกับการโค้งเข้า หาแสงของ เยื่อหุ้มยอดอ่อน (coleoptile) ของ ต้นกล้าข้าวโอ๊ต
  • 33.
  • 34.
  • 35.  ออกซิน ธรรมชาติ (Natural Auxin)  Indole-3-Acetic Acid (IAA)  Indole-3-Butyric Acid (IBA)  ออกซิน สังเคราะห์ (Synthetic Auxin)  Naphthalene Acetic Acid (NAA)  2,4-Dicholophenoxy acetic acid (2,4-D)  2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid (2,4,5-T)
  • 36.  แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อเจริญที่ ั ้ ปลายยอด ตายอด ใบอ่อน และ ต้นอ่อนในเมล็ด (seed embryo)  หน้ าที่สาคัญ ํ  เร่งการขยายตัวของเซลล์ และ กระตุ้นการแบ่งเซลล์  กระตุ้นการออกราก - เร่งการออกดอกของพืชบางชนิด  ยับยังการเจริญของตาข้าง - ป้ องกันใบร่วง - เปลี่ยน ้ เพศดอก  Phototropism & Gravitropism - สารกําจัดวัชพืช - อื่น
  • 37.
  • 38. 2. ไซโทไคนิน (cytokinin) เป็ นฮอร์โมนพืชที่ค้นพบเนื่ องมาจากการ วิจยด้านการเพาะเลียงเนื้ อเยือพืช (plant tissue culture) โดยทีมนักวิจยนํา ั ้ ่ ั โดย F. Skoog มหาวิทยาลัย Wisconsin พบว่านํ้ามะพร้าว และ นํ้าสะกัดจาก ยีสต์ จะสามารถ เร่งการแบ่งเซลล์ในการเพาะเลียงเนื้ อเยื่อพืชได้ เมื่อแยก ้ และทําให้บริสทธิพบว่าเป็ น N6-furfurylamino purine และเรียกว่า kinetin ุ เนื่ องจากเป็ นสารเร่งกระบวนการแบ่งเซลล์ (cytokinesis) ซึ่งถือว่าเป็ น cytokinin ตัวแรกที่ค้นพบ แต่ชนิดที่พบมากที่สดในพืชคือ Zeatin ุ (พบครังแรกในข้าวโพด=Zea mays) ชื่อ cytokinin เสนอโดย Skoog และคณะ ้ ในปี 1965
  • 39.  แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อ ั ้ ที่กาลังเจริญ โดยเฉพาะที่ราก ต้นอ่อน และ ผล ํ  หน้ าที่สาคัญ ํ  กระตุ้นการแบ่งเซลล์ และ เร่งการขยายตัวของ เซลล์  ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง - ชะลอการแก่ของ ใบ  ช่วยการงอกของเมล็ด - ควบคุมการปิดเปิด ปากใบ
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 45.
  • 46. 3. จิบเบอเรลลิน (gibberellin) เป็ นฮอร์โมนพืช ที่ค้นพบโดยปัญหาที่พบโดย ชาวนาญี่ปน เกี่ยวกับโรคชนิดหนึ่ งของข้าว ที่ทา ุ่ ํ ให้ลาต้นสูงกว่าปกติ และ ให้ผลผลิตตํา ซึ่งต่อมา ํ ่ นักวิทยาศาสตร์ชาว ญี่ปนชื่อ E. Kurosawa ในปี ุ่ 1938 พบว่าสาเหตุ เกิดมาจากสารที่ผลิตโดยเชื้อ รา ชนิดหนึ่ งชื่อ Gibberella fujikuroi ซึ่งเมื่อแยก และทําให้บริสทธ์ ิ แล้ว จึงตังชื่อ สารนี้ ว่า ุ ้ gibberellin
  • 47.
  • 48.  แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ บริเวณเนื้ อเยื่อที่กาลัง ั ้ ํ เจริญ เช่นปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน และ ต้นอ่อน  หน้ าที่สาคัญของ GA ํ  เร่งการขยายตัวของเซลล์ และ การยืดของลําต้น  เร่งการออกดอก - การแสดงออกของเพศดอก - การ ติดผล  ช่วยการงอกของเมล็ด และ ตา (bud) - ทําลายการพัก ตัวของเมล็ด  และ อื่น ๆ… โดยทําหน้ าที่ร่วมกับ hormone ชนิดอื่น ๆ
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54. 4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid หรือ ABA) ค้นพบจาก การศึกษาสารเร่งกระบวนการร่วงของใบที่เรียกว่า abscission และ เมื่อมีการทําให้บริสทธิพบว่าเป็ นสาร ุ ตัวเดียวกันกับ สารยับยังการเจริญของตา (bud ้ dormancy-inducing substances) ที่เรียกกันว่า dormin และสารยับยังการยืดตัวของ coleoptile โดย auxin ้ (IAA) ที่เรียกว่า growth inhibitor ชื่อ abscissic acid หรือ ABA เป็ นที่ยอมรับกันในปี 1967
  • 55.  แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ มีการสังเคราะห์ได้ทงที่ ั ้ ั้ บริเวณ ลําต้น ราก ใบ และ ที่ผล เป็ นฮอร์โมนที่ต่างจาก 3 ตัวแรก คือ เป็ นสารชนิดเดียวคือ abscisic acid  หน้ าที่สาคัญของABA ํ  เริ่มต้นคิดว่าทําหน้ าที่เกี่ยวกับการร่วงของใบ และการ ยับยังการเจริญของตา แต่ในปัจจุบนพบว่าเกี่ยวกับสอง ้ ั ขบวนการนี้ น้อย  การหน้ าที่หลัของ ABA คือ ยับยังการเจริญ หรือ ยับยัง ้ ้ การทํางานของฮอร์โมนชนิดอื่น ๆ - ยับยังการงอกของ ้ เมล็ด  กระตุ้นการปิดของปากใบเมื่อขาดนํ้า
  • 56. 5. เอทิลีน (ethylene) เป็ นทีทราบกันมานานแล้ วว่ า ผลไม้ สุก ่ หรือ ผลไม้ ทเี่ น่ าเสี ย จะมีผลไปเร่ งให้ ผลไม้ อนสุ กเร็วขึน ซึ่ง ื่ ้ พบว่ าเกิดจากการปล่ อยสารระเหยบางชนิดออกมา และ ใน ปี 1934 R. Gane เป็ นผูพิสจน์ ว่า สารนี้ คือ เอทิลีน ้ ู (C2H4) ต่อมาพบว่า นอกจากจะมีผลในการกระตุ้นการ สุกของผลไม้แล้ว ยังมีผลต่อพืชในแง่อื่น ๆ อีกหลาย อย่าง เช่น การร่วงของใบ การออกดอกของสับปะรด การเพิ่มปริมาณของนํ้ายางพารา เป็ นต้น เป็ นฮอร์โมน ชนิดเดียวที่เป็ นก๊าซ
  • 57.  แหล่งที่สงเคราะห์ ในพืชชันสูง คือ เนื้ อเยื่อผลไม้ที่สก ใบ ั ้ ุ แก่ และ ดอก  หน้ าที่สาคัญของเอทิลีน ํ  กระตุ้นการสุกของผลไม้ - กระตุ้นการร่วงของใบ  กระตุ้นการออกดอก - ยับยังการยืดตัวของลํา ้ ต้น  ยับยัง หรือ กระตุ้นการออกราก ใบ หรือ ดอก แล้วแต่ ้ ชนิด ของพืช และ มีผลต่ออีกหลายๆ ขบวนการของพืช ที่เกี่ยวกับความแก่ (Aging or Senescence) โดยทําหน้ าที่ ร่วมกับ hormone ชนิด อื่น ๆ
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.  กล้วย  ส้ม  มะม่วง  มะนาว  มะละกอ  ลิ้นจี่  แอปเปิล  สับปะรด  สาลี่  มะเขือเทศ  มะเขือเทศ  องุ่น
  • 63.  เนื่ องจาก เอทิลีน เป็ นก๊าซ ทําให้การใช้ไม่ สะดวก ในหลายกรณี จึงมีการสังเคราะห์สารชื่อ อีทีฟอน (Ethephon) ซึ่งคือสาร 2-chloroethyl phosphonic acid ที่เป็ นสารกึ่งแข็ง ที่สลายตัวให้ ก๊าซเอทิลีน ออกมา ใช้แทน โดยมีชื่อทางการค้า แตกต่างกันออกไป เช่น  อีเทรล (Ethrel) ,อีเทรล ลาเท็กซ์ (Ethrel latex), ซีฟา (Cepha) หรือ อีโซฟอน (Esophon) เป็ นต้น
  • 64.  การใช้ เอทิลีน หรือ เอทิลีนสังเคราะห์ ปัจจุบนใช้ ั กันอย่างกว้างขวาง ในการ บ่มผลไม้ให้สกเร็วขึน ุ ้ และ พร้อมกัน การเร่งดอกสับปะรดให้ออก พร้อมกัน การเร่งสีขององุ่น และ มะเขือเทศ เป็ นต้น  ในบางกรณี อาจใช้ ถ่านก๊าซ (Calcium Carbide) ซึ่งปล่อย ก๊าซอะเซทิลีน (Acetylene) บ่มผลไม้ แทนได้ แต่ไม่ดีเท่า
  • 65. 1. Florigen ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอกที่ เกิดจาก ช่วงแสง (Photoperiodism) 2. Vernalin ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอก จาก อุณหภูมิตา (Vernalization) ํ่
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72. 1. แหล่งสังเคราะห์ในพืช ไม่แน่ นอน เหมือนในสัตว์ 2. ตําแหน่ งการทํางานในพืช ไม่แน่ นอน และ ไม่ จําเป็ นต้องเป็ นคนละที่กบแหล่งสร้าง ั 3. การทํางานโดยความเข้มข้นของฮอร์โมน ไม่ชดเจน ั 4. การทํางานของฮอร์โมนพืช แต่ละตัวมีหลายอย่าง และ มักทํางานร่วมกับกับฮอร์โมนชนิดอื่น ๆ ด้วย เสมอ * ดังนันบางคนจึงไม่อยากเรียกว่า ฮอร์โมนพืช ( Plant ้ Hormones) แต่เรียกว่า สารควบคุมการเติบโต ( Plant Growth Regulators หรือ Substances ) แทน