SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
Download to read offline
ติวเข้มสรุปเนื้อหาเทอม 2
 สิ่งมีชีวิตในโลกมีอยู่มากมาย แต่ละชนิดต่างก็มีรูปร่างลักษณะเฉพาะตัว
และดํารงชีวิตอยู่ในแหล่งที่อยู่ที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดความหลากหลาย
ทางชีวภาพขึ้นในโลกของสิ่งมีชีวิต
 สามารถแยกความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
(genetic biodiversity)
ความหลากหลายชนิดของสิ่งมีชีวิต
(species biodiversity)
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
(ecological biodiversity)
 องค์ประกอบทางพันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ทําให้เห็น
ความเหมือนและความแตกต่าง
ของสิ่งมีชีวิตทั้งที่เป็นชนิด
เดียวกัน และต่างชนิดกันได้
 หากสิ่งมีชีวิตชนิดใดมีความแปรผันทางพันธุกรรม
ภายในสปีชีส์เดียวกันก็จะทําให้เกิดความหลากหลาย
ทางพันธุกรรมขึ้น
Cepaeanemoralls
emerald tree boas
Coralluscanius
 ระบบนิเวศหนึ่งอาจมีสิ่งมีชีวิตหลากหลาย
ทั้งจํานวนและชนิด บางระบบนิเวศอาจมี
สิ่งมีชีวิตเพียงไม่กี่ชนิด
ความแปรผันทางพันธุกรรม
สาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่
 สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ที่หลากหลาย
 บางชนิดอาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่จําเพาะเท่านั้น
 ปัจจัยจํากัดต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต
อนุกรมวิธาน
(taxonomy หรือ systematics)
การศึกษาความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต
การจัดจําแนกหมวดหมู่ (classification)
กําหนดชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
การระบุชนิด (identification)
หมวดหมู่ใหญ่
ซึ่งมีลักษณะแตกต่าง
กันมาก
หมวดหมู่ย่อย ๆ
มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
มากขึ้นตามลําดับ
หมวดหมู่เล็กที่สุด
คล้ายคลึงกันมากที่สุด
อาณาจักร (Kingdom)
• ในแต่ละอาณาจักรแยกออกเป็นหลายไฟลัม
ไฟลัม (Phylum)
• ในแต่ละไฟลัมแยกออกเป็นหลายชั้น
คลาส (Class ) หรือชั้น
• ในแต่ละคลาสแยกออกเป็นหลายอันดับ
ออร์เดอร์ (Order) หรืออันดับ
• ในแต่ละอันดับแยกออกเป็นหลายวงศ์
แฟมิลี (Family) หรือวงศ์
• ในแต่ละวงศ์แยกออกเป็นหลายสกุล
จีนัส (Genus) หรือสกุล
• ในแต่ละสกุลแยกออกเป็นหลายชนิด
สปีชีส์ (Species) หรือชนิด
• ในแต่ละสิ่งมีชีวิตแยกออกเป็นหลายสปีชีส์
ตัวอย่าง ระดับในการจัดหมวดหมู่ของสุนัข
ตัวอย่าง ระดับในการจัด
หมวดหมู่ของสุนัข
หมวดหมู่
สิ่งมีชีวิต
ข้าว คางคกบ้าน เต่าเดือย สุนัขบ้าน คน
อาณาจักร Plantae Animalia Animalia Animalia Animalia
ไฟลัม Anthophyta Chordata Chordata Chordata Chordata
คลาส Liliopsida Amphibia Reptilia Mammalia Mammalia
ออร์เดอร์ Graminales Anura Chelonia Carnivora Primates
แฟมิลี Graminaceae Bufonidae Testudinidae Canidae Hominidae
จีนัส Oryza Bufo Manouria Canis Homo
สปีชีส์ O. sativa B. melanostictus M. impressa C. familiaris H. sapiens sapiens
 การเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตในแต่ละชาติ แต่ละภาษาจะแตกต่างกัน ทําให้เกิดความ
สับสนในการสื่อความหมาย
 การเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันเป็น 3 รูปแบบ คือ
ชื่อท้องถิ่น
(Local name)
ชื่อสามัญ
(Common name)
ชื่อวิทยาศาสตร์
(scientific name)
 ชื่อท้องถิ่น (Local name) เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง
เช่น มะละกอ (ภาคกลาง)
หมากหุ่ง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
มะก้วยเตต (ภาคเหนือ)
ลอกอ (ภาคใต้)
 ชื่อสามัญ (Common name) เป็นชื่อภาษอังกฤษของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นที่
รู้จักกันทั่วไป
เช่น สับปะรด (pineapple)
กล้วย (banana)
มะม่วง (mango)
 ชื่อวิทยาศาสตร์ (scientific name)
เพื่อใช้ในการอ้างอิงให้เป็นระบบ
เดียวกัน
 สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีชื่อ
วิทยาศาสตร์เพียงชื่อเดียว
 คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)
นักพฤกษศาสตร์ ชาวสวีเดน
 บิดาแห่งอนุกรมวิธาน
 การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตระดับสปีชีส์
 ทวินาม (binomial nomenclature)
 ชื่อวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยชื่อสองส่วน คือ ชื่อส่วนแรกเป็นชื่อสกุล
หรือจีนัส(generic name) และชื่อส่วนที่สองเป็นชื่อระบุสปีชีส์ (specific
epithet) ใช้คําภาษาละตินเสมอ
 การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อจีนัสเริ่มต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนชื่อระบุ
ชนิดใช้ตัวพิมพ์เล็ก โดยใช้ตัวอักษรเอน หรือขีดเส้นใต้และอาจมีชื่อของผู้
ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์กํากับไว้ด้วยเสมอ เช่น
 ข้าว Oryza sativa Linn. หรือ Oryza sativa Linn.
 การตั้งชื่อตามลักษณะหรือสีสันของสิ่งมีชีวิต เช่น
มะยม
Phyllanthus acidus
Phyllanthus acidus
คําว่า acidus แสดง
ว่ามีรสเปรี้ยว
ปูแสม
Sesarma versicolor
Sesarma versicolor
คําว่า versicolor
แสดงว่ามีหลายสี
 การตั้งชื่อตามลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น แมงดาทะเล
Carcinoscorpius
rotundicauda
Carcinoscorpius
rotundicauda
คําว่า rotundicauda
แสดงว่ามีหางกลม
 การตั้งชื่อตามสถานที่ที่พบสิ่งมีชีวิต
ยางพารา
Hevea braziliensis
Hevea braziliensis
คําว่า braziliensis แสดงว่ามีถิ่น
กําเนิดในประเทศบราซิล
 การตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่คนที่พบสิ่งมีชีวิต เช่น
 ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทย Phuwiangosaurus sirindhornae
Martin, Buffetaut and Suteethorn 1994
 คําว่า Phuwiangosaurus เป็นชื่อจีนัสตามสถานที่ที่พบ
 คําว่า Sirindhornae เป็นชื่อระบุสปีชีส์ เป็นเกียรติแด่สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คําว่า Martin, Buffetaut and
Suteethornเป็นชื่อนามสกุลของคณะสํารวจที่พบไดโนเสาร์พันธุ์นี้
การจัดจําแนกหมวดหมู่ (classification)
กําหนดชื่อสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
การระบุชนิด (identification)
 ไดโคโตมัสคีย์ (dchotomous key)
 ใช้ในการระบุชนิดหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิต จากลักษณะที่ใช้เป็นเกณฑ์ใน
การพิจารณาโครงสร้างทีละลักษณะจากตัวเลือก 2 ตัว (มีหรือไม่มี หรือ
ลักษณะที่ตรงข้ามกัน)
 สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มจะมีไดโคโตมัสคีย์ เฉพาะที่เหมาะสมต่อการจําแนก
กลุ่มย่อยของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ
1 ก มีขน ......................................................................... ดูข้อ 2
1 ข ไม่มีขน .....................................................................ดูข้อ 3
2 ก ขนเป็นเส้น (hair) ..................................................... สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
2 ข ขนเป็นแผงแบบขนนก (feather) .............................. สัตว์ปีก
3 ก มีครีบคู่และช่องเหงือก ..............................................ดูข้อ 4
3 ข ไม่มีทั้งครีบคู่และช่องเหงือก ......................................ดูข้อ 5
4. ก มีแผ่นกระดูกปิ ดช่องเหงือก มีช่องเหงือก 1 ช่อง............ ปลากระดูกแข็ง
4. ข ไม่มีแผ่นกระดูกปิ ดช่องเหงือกมีช่องเหงือก 5 – 7 ช่อง.....ปลากระดูกอ่อน
5. ก ผิวหนังมีเกล็ด .........................................................สัตว์เลื้อยคลาน
5. ข ผิวหนังไม่มีเกล็ด ................................................ สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก
 สรุป เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง แต่มีลักษณะบางอย่างที่แตกต่างกัน เช่น ลักษณะขน ครีบ
แก้มปิ ดช่องเหงือก และเกล็ดที่ผิวหนัง ฯลฯ
 ดังนั้น สัตว์เลื้อยคลานมีลักษณะ คือ ไม่มีขน ไม่มีครีบคู่ ไม่มีแผ่นปิ ดช่องเหงือก และ
ผิวหนังมีเกล็ด
1 ก รังไข่อยู่เหนือกลีบดอกและเกสรเพศผู้ ......................... ดูข้อ 2
1 ข รังไข่อยู่ใต้กลีบดอกและเกสรเพศผู้ ...............................ดูข้อ 6
2 ก ผลเป็นฝัก ...................................................................... ถั่ว
2 ข ผลไม่เป็นฝัก .................................................................. ดูข้อ 3
3 ก เกสรเพศผู้มีเพียง 2 อัน .................................... มะลิ
3 ข เกสรเพศผู้มีมากกว่า 2 อัน ............................... ดูข้อ 4
5 ก ก้านชูอับเรณูติดกันเป็นหลอด และมีจํานวนมาก ........... ชบา
5 ข ก้านชูอับเรณูไม่เป็นหลอด และมีจํานวน 5 อัน .............. มะเขือ
6 ก ดอกช่อเป็นกระจุกแน่นเสมือนดอกเดี่ยว ...................... ทานตะวัน
6 ข ดอกเดี่ยวหรือดอกช่อ แต่ไม่เป็นกระจุกแน่น ................ ดูข้อ 7
7 ก มีหูใบ ................................................................................ แตง
7 ข ไม่มีหูใบ .......................................................................... เข็ม
 สรุป พืชดังกล่าวต่างเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ แต่มีลักษณะบางอย่างที่แตกต่าง
กัน เช่น ตําแหน่งรังไข่ ลักษณะผล จํานวนเกสร การจัดเรียงของใบ
การติดของก้านชูอับเรณู ประเภทของดอก และการมีหูใบ
 ดังนั้น ชบา มีลักษณะรังไข่อยู่เหนือกลีบดอกและเกสรเพศผู้ ผลไม่เป็น
ฝัก เกสรเพศผู้มีมากกว่า 2 อัน ใบติดกับกิ่งแบบสลับ ก้านชูอับเรณู
ติดกันเป็นหลอดและมีจํานวนมาก
สิ่งมีชีวิตเกิดจากอํานาจนอกเหนือธรรมชาติ (Special Creation)
สิ่งมีชีวิตเกิดจากสปอร์ของโลกอื่น (Cosmozonic Theory)
สิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (Spontaneous Generation)
สิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งมีชีวิต (Biogenesis)
สิ่งมีชีวิตเกิดจากวิวัฒนาการทางเคมี (Chemical Theory)
 หลุยส์ พาสเตอร์ (Louis Pasteur) นัก
เคมีชาวฝรั่งเศส พิสูจน์ได้ว่าสิ่งมีชีวิต
กําเนิดมาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
 จากการทดลองพบว่า การ
บูดเน่าของอาหารนั้นเกิด
จากจุลินทรีย์
 เอ ไอ โอพาริน (A.I. Oparin)นักชีวเคมี
ชาวรัสเซีย
 เสนอแนวคิดว่า บรรยากาศของโลกใน
ยุคแรก ๆ ทําให้เกิดการสังเคราะห์
สารเคมีอย่างง่าย ๆ เช่น NH3 , H2O , H2
และ CH4
 ต่อมาสารเคมีเหล่านี้มีวิวัฒนาการเกิดเป็นโมเลกุลที่มีโครงสร้างซับซ้อนคือ
กรดอะมิโน กรดไขมัน นํ้าตาลและกลีเซอรอล เป็นต้น จนกระทั่งเกิด
กรดนิวคลีอิก
 โดยในขั้นแรกของการเกิดสิ่งมีชีวิต
จะเป็นวิวัฒนาการทางเคมี
 เกิดเป็นเซลล์แรกเริ่ม เซลล์แรกเริ่ม
นี้สามารถแบ่งตัวได้ และมีสาร
พันธุกรรมเกิดขึ้น
 โดยสารพันธุกรรมชนิดแรกที่เกิดขึ้นคือ
RNA ก่อนที่จะมีวิวัฒนาการเป็น DNA
ซึ่งเป็นวิวัฒนาการระดับโมเลกุล
 แต่การที่สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ในปัจจุบันมี
สารพันธุกรรมเป็น DNA (ยกเว้นไวรัส
บางชนิด)
 เนื่องจาก DNA มีโครงสร้างโมเลกุลที่
แข็งแรงกว่า RNA นั่นคือเป็นผลมา
จากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
ที่เกิดขึ้นในระดับโมเลกุล
ก) บรรยากาศของโลกในยุคแรก ๆ มีการสร้างแอมโมเนีย (NH3) นํ้า(H2O)
แก๊สไฮโดรเจน(H2) และแก๊สมีเทน(CH4) จากแก๊สที่เกิดจากปฏิกิริยาของ
ภูเขาไฟระเบิด
ข) ต่อมาเกิดการรวมกันของอนุภาคกลายเป็นโมเลกุลของกรดอะมิโน
นํ้าตาล กรดไขมัน และกลีเซอรอล
ค) เกิดเป็นโมเลกุลที่ซับซ้อนของพอลอแซ็กคาไรด์ ลิพิด โปรตีน และกรด
นิวคลิอิก
ง) เริ่มปรากฏเซลล์เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิตในเวลาต่อมา
 สแตนเลย์ มิลเลอร์(Stanley Miller)เป็นผู้ที่พิสูจน์
แนวคิดของโอปาริน
 โดยแสดงให้เห็นว่าสารประกอบ
อินทรีย์โมเลกุลใหญ่ เช่น กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์ ยูเรีย สามารถเกิดขึ้นได้
ในชุดการทดลองที่เป็นสภาวะของโลก
ในเวลานั้นคือ ไม่มีออกซิเจน แต่มี
CH4 NH3 H2O และ H2โดยมีแหล่ง
พลังงานจากไฟฟ้า
 ฮาโรลด์ยูเรย์ (Harold Urey)
 สแตนเลย์ มิลเลอร์
(Stanley Miller)
 ได้ทดลองสร้างเครื่องมือซึ่งประกอบด้วย
ขวดแก้วบรรจุนํ้า แล้วใช้ความร้อนทําให้
นํ้ากลายเป็นไอ
 ส่วนอื่น ๆ ของเครื่องมือบรรจุก๊าซมีเทน
(CH4) แก็ซแอมโมเนีย (NH3) แก็ซ
ไฮโดรเจน (H2)
 จากนั้นผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไป 1 สัปดาห์
 ปรากฏว่ามีสารพวกกรดอะมิโนเกิดขึ้น
 คาดว่ากรดอะมิโนเหล่านี้จะมีการรวมกัน
เป็นสารประกอบโปรตีน
 เป็นหน่วยของสิ่งมีชีวิตชนิดแรก ๆ ได้
(ปัจจุบันพบว่า ไวรัส ยังไม่ประกอบด้วย
เซลล์ แต่เป็นเพียงอนุภาคโปรตีนเท่านั้น)
 ซิดนีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox)
 เซลล์เริ่มแรกเกิดจากกรดอะมิโนได้รับความ
ร้อนและมีการรวมกลุ่มกัน ซึ่งมีสมบัติหลาย
ประการเหมือนเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 จากหลักฐานซากดึกดําบรรพ์
เริ่มพบร่องรอยของเซลล์
เริ่มแรก ซึ่งเป็นเซลล์โพรคาริ
โอต (prokaryote) เมื่อประมาณ
3,800 ล้านปีที่ผ่านมา
 เซลล์โพรคาริโอตระยะแรก
 ไม่ใช้ออกซิเจนและไม่สามารถ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
 เนื่องจากสภาพแวดล้อมของโลก
ขณะนั้นมีออกซิเจนไม่เพียงพอ
 ต่อมาจึงมีวิวัฒนาการเป็นเซลล์โพรคาริโอตที่
สังเคราะห์ด้วยแสงจากนํ้าและ
คาร์บอนไดออกไซด์
 ทําให้บรรยากาศของโลกยุคนั้นมีออกซิเจนเพิ่ม
มากขึ้น
 วิวัฒนาการมาเป็นเซลล์ยูคาริโอต (eukaryote)
ที่ส่วนใหญ่ดํารงชีวิตโดยใช้แก็สออกซิเจน
 ลักษณะเด่นชัดของเซลล์ยูคาริโอต คือ มีสารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส ซึ่ง
พบว่ามีการเจริญของเยื้อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ที่ล้อมรอบบริเวณที่มีสาร
พันธุกรรมอยู่ แล้วมีการพัฒนาเป็นนิวเคลียสเกิดขึ้น ทําให้ได้เซลล์ยูคาริโอต
และมีเอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
 ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ เกิดจากเซลล์โพรคาริโอตขนาดเล็กที่
สังเคราะห์แสงไม่ได้เข้าไปอาศัยอยู่ภายในเซลล์โพรคาริโอตขนาดใหญ่
และสามารถแบ่งตัวเพิ่มจํานวนได้เอง
 เกิดเป็นยูคาริโอตที่คลอโรพลาสต์สังเคราะห์แสงได้ และมีเยื่อชั้นในที่
บรรจุเอนไซม์เพื่อใช้ในกระบวนการถ่ายทอด อิเล็กตรอน นอกจากนี้ยังมี
DNA ไรโบโซม คล้ายคลึงกับแบคทีเรียอีกด้วย
 ในปี พ.ศ.2520 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน
ชื่อ คาร์ล วูสต์ (Carl Woese)
 วิเคราะห์ลําดับนิวคลีโอไทด์ในยีนของ RNA
เพื่อตรวจสอบหาความสัมพันธ์ทางสาย
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 โดเมน (domain) แบ่งออกเป็น
3 โดเมน คือ
โดเมนแบคทีเรีย
โดเมนอาร์เคีย
โดเมนยูคาเรีย
 เมื่อใช้เกณฑ์ในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
โดยพิจารณาจาก
 หลักฐานซากดึกดําบรรพ์
 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
 ความคล้ายคลึงกันของโครงสร้างการทํางาน
 การเปรียบเทียบสาร ชีวโมเลกุล
 ความสัมพันธ์สายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 ทําให้สามารถแบ่งสิ่งมีชีวิตได้เป็น 5 อาณาจักร
ไวรัส ไวรอยด์
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรโพทิสตา
อาณาจักรพืช
อาณาจักรสัตว์
tobacco mosaic disease
1. รูปร่างเป็นก้อนหรือเหลี่ยมลูกบาศก์ (cubical structure)
2.รูปร่างลักษณะเป็นแท่งกระบอก (Cylindrical structure)
3. รูปร่างไม่แน่นอนแบบซับซ้อนหรือรูปร่างจําเพาะแตกต่างกันไป
(complex structure)
 20-300 nm
 ไข้เลือดออก
 HIV
 H5N1
 H7N9
 H1N1
 SARS
 MERS
 EBOLA
 ฝีดาษ
 อีสุกอีใส
 ไข้หัด
 ไวรัสตับอักเสบ
 คางทูม
 หวัด
 ไข้เลือดออก
 พิษสุนัขบ้า
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02

More Related Content

What's hot

การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

What's hot (20)

การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Similar to ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02

ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตNatthinee Khamchalee
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายแบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายWichai Likitponrak
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Similar to ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02 (20)

ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
แบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายแบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลาย
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02