SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   1




        เอกสารประกอบการสอน
         เรื่องยีนและโครโมโซม




                รวบรวมโดย
            นางอังสนา แสนเยีย
                ตาแหน่งครู                                          ครูแป๋ว




         โรงเรียนหนองซนพิทยาคม
                                                                      By




สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22
                                                                    ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม           2


                                                   คาชี้แจง
          คู่มือเอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยาเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้สอนเข้าใจขอบเขตของเนื้อหาสาระที่สื่อ
ประกอบการสอนเรื่องนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความ
เข้าใจในเนื้อหาบทเรียนของผู้เรียน กระตุ้นความสนใจ ให้ความกระจ่างเกี่ยวกับศัพท์ทางวิชาการที่ควรทราบ และเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ที่ได้รับโดยการอภิปรายร่วมกัน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึน โดยเอกสารในเล่มนี้ มีหัวข้อดังต่อไปนี้
      ้
          1. ประวัติการค้นพบสารพันธุกรรม
          2. การสังเคราะห์ DNA
          3. DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
          4. มิวเตชัน
          5. แบบทดสอบตัวอย่าง



                                                                                    อังสนา แสนเยีย
                                                                                       ผูเรียบเรียง
                                                                                         ้




                                                                                                                    ครูแป๋ว
                                                                                                                      By
                                                                                                                    ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม           3




                                               เรื่อง ยีนและโครโมโซม
1.1 การค้นพบสารพันธุกรรม
          วอลเตอร์ ซัตตัน เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่า ยีนอยู่บนโครโมโซม
          มีการทดลองและยืนยันว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ยกเว้นไวรัสบางชนิด มี RNA เป็น
สารพันธุกรรม เช่น ไวรัสใบยาสูบ โรคเอดส์ เป็นต้น
          การค้นพบ DNA
          จากการศึกษาพบว่า DNA มีโครงสร้างเป็น polymer of nucleotide โดยมี
nucleotide อยู่ 4
ชนิด คือ Adenine (A) Thymine (T) Cytosine (C) และ Guanine (G) nucleotide แต่ละชนิด
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ น้าตาล 5C, nitrogenous base (purine ; A, G และ pyrimidine ; C, T) และ
หมู่ฟอสเฟต
           นอกจากนี้ปี ค.ศ. 1940 Chargaff ได้เสนอว่าโมเลกุลของ DNA มีปริมาณเบส A = T
และ C = G เสมอ เช่น DNA ของคนมีปริมาณ A = 30.9%, T = 29.4%, G = 19.9% และ C = 19.8%
          พ.ศ. 2471 เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith) แพทย์ชาวอังกฤษทาการทดลองโดยฉีด แบคทีเรีย (Streptococcus
pneumoniae) ที่ทาให้เกิดโรคปอดบวมเข้าไปในหนู แบคทีเรียที่ฉีดเข้าไปนี้มี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ที่มี ผิวหยาบ
เพราะไม่มีสารห่อหุ้มเซลล์หรือ แคปซูล(capsule) ไม่ทาให้เกิดโรคปอดบวม เรียกว่าสายพันธุ์ R (rough) และสายพันธุ์
ที่มผิวเรียบ มีสารห่อหุ้มเซลล์ทาให้เกิดโรคปอดบวมรุนแรงถึงตาย เรียกว่า สายพันธุ์ S (smooth)
    ี




                               รูปที่ 1 การทดลองของ เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith)
               Q : เหตุใดเมื่อนาแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อน ไปผสมกับสายพันธุ์           R ที่มี
      ชีวิตแล้วฉีดให้หนูจึงทาให้หนูตาย ???
                                                                                                                    ครูแป๋ว




       กริฟฟิท ได้รายงานว่ามีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อนเข้าไปยังสายพันธุ์ R
                                                                                                                      By




บางเซลล์และสามารถทาให้แบคทีเรียสายพันธุ์ R เปลี่ยนแปลงสายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ S ที่มีชีวิต สายพันธุ์ S เหล่านี้ยัง
สามารถถ่ายทอดลักษณะไปสู่รุ่นลูกหลาน อย่างไรก็ตาม กริฟฟิท ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าสารนั้นคืออะไร
           นักเรียนทราบไหมค่ะว่าสารนั้น คือ อะไร นะถึงถ่ายทอดจากหนูตัวหนึ่งไปยังอีกตัวได้ ???
                                                                                                                    ชีววิทยาน่ารู้




       พ.ศ. 2487 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 3 คน คือ โอ ที แอเวอรี่ (O.T. Avery) ซี แมคลอยด์ ( C.
MacLeod) และ เอ็ม แมคคาร์ที (M. McCarty) ทาการทดลองต่อจาก กริฟฟิท
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม          4




                        รูปที่ 2 การทดลองของ โอ ที แอเวอรี่ (O.T. Avery) และคณะ

              การทดลองนี้จึงแสดงให้เห็นว่า DNA คือสารที่เปลี่ยนพันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R ให้เป็นสาย
พันธุ์ S แอเวอรี่จึงสรุปว่า กรดนิวคลีอิกชนิด DNA เป็นสารพันธุกรรมไม่ใช่โปรตีน
           ปีค.ศ. 1953 J. D Watson และ F.H.C. Crick ได้เสนอแบบจาลองโครงสร้างโมเลกุล DNA ที่เรียกว่า
โครงสร้างแบบเกลียวคู่ (double helix) (รูปที่ 3) ซึ่งสรุปได้ดังนี้




                           รูปที่ 3 แบบจาลองของ J. D Watson และ F.H.C. Crick
                                                                                                                ครูแป๋ว




         1. โมเลกุล DNA ประกอบด้วย polynucleotide 2 สายพันเป็นเกลียววนขวา
         2. polynucleotide แต่ละสายมีเบสคู่กัน โดยจับกันด้วย H-bond โดย A = T (2 พันธะ)
                                                                                                                  By




และ G C (3 พันธะ) และทั้งสองสายจะบิดเป็นเกลียว โดยระยะห่างระหว่างเกลียวมีขนาด
สม่าเสมอ มีลักษณะคล้ายบันไดเวียน ซึ่งขอบทั้งสองข้างของบันไดเวียน คือ โมเลกุลน้าตาลและ
ฟอสเฟต ที่เชื่อมต่อกันทั้งสายด้วย phosphodiester bond และขั้นบันไดคือ เบสสองตัวที่คู่กัน แต่ละ
                                                                                                                ชีววิทยาน่ารู้




ขั้นบันไดห่างกัน 3.4A° (0.34 nm) บิดเป็นมุม 36 องศา ดังนั้น 1 รอบ คือ 360 องศาประกอบด้วย
เบส 10 คู่ ที่ยาว 34A° (3.4 nm)
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   5


         3. เส้นผ่าศูนย์กลางของคู่เบสเท่ากันตลอดคือ 20 A° ถ้า polynucleotide สายหนึ่งมีทิศทาง
5’  3’ อีกสายหนึ่งจะเป็น 3’  5’ เรียกว่าเป็น antiparallel โดยปลาย 5’ คือ หมู่ฟอสเฟต ส่วน 3’
คือ หมู่ OH




           รูปที่ 4 โครงสร้างโมเลกุล DNA

1.2 การสังเคราะห์ DNA
         เมื่อเซลล์จะมีการแบ่งตัว เซลล์จะต้องมีการจาลองโมเลกุล DNA เป็นสองโมเลกุลที่มี
โครงสร้างเหมือนกันทุกประการ เพื่อจะได้ถ่ายทอด DNA แต่ละโมเลกุลไปยังเซลล์ลูก
กระบวนการจาลองโมเลกุล DNA เรียกว่า DNA replication โดย Watson และ Crick ได้เสนอว่าการ
จาลอง DNA เป็นแบบ semiconservative replication โดย DNA แต่ละโมเลกุลที่สังเคราะห์ได้จะ
ประกอบด้วย polynucleotide สายใหม่ 1 สาย กับสายเก่า 1 สาย สรุปขั้นตอนการจาลอง DNA แบบ
semiconservative ดังนี้
         1. เริ่มต้น polynucleotide 2 สาย แยกออกจากกันโดยมีการทาลาย H-bond
         2. polynucleotide แต่ละสายทาหน้าที่เป็นแม่แบบ หรือ แม่พิมพ์ (template) ในการจาลอง
สายใหม่โดย เบสของสายใหม่กับสายเก่าจะต้องคู่กัน (complementary) เช่น polynucleotide สายเก่า
มีเบส A ดังนั้นสายใหม่จะมีเบส T มาเข้าคู่ การสังเคราะห์ polynucleotide สายใหม่แต่ละสายเกิด
ควบคู่กันไป
          3. enzyme DNA polymerase เป็น enzyme ที่รับผิดชอบการเชื่อม nucleotide แต่ละตัวเข้า
ด้วยกัน ทาให้เกิดการยืดยาวของสาย DNA ในทิศทาง 5’  3
                                                                                                       ครูแป๋ว
                                                                                                         By
                                                                                                       ชีววิทยาน่ารู้




                         รูปที่ 5 แบบจาลองของ Semiconservative replication
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   6



         เนื่องจากสาย DNA เกลียวคู่มีการจับกันในทิศทางตรงข้ามกัน ดังนั้นสายใหม่ 1 สายจะถูก
สังเคราะห์ในทิศทาง 5’  3’ ส่วนอีกสายหนึ่งต้องเป็น 3’  5’ แต่เนื่องจาก enzyme DNA
polymerase จะเชื่อมพันธะระหว่าง nucleotide ในทิศทาง 5’  3’ เท่านั้น ดังนั้นการสังเคราะห์
DNA ที่สายแม่แบบมีทิศทาง 3’  5’ จะสังเคราะห์แบบต่อเนื่อง ซึ่งเรียกสายนี้ว่า leading strand
ส่วนการสังเคราะห์ของสายที่แม่แบบมีทิศทาง 5’  3’ จะมีการสังเคราะห์ DNA เป็นท่อนๆ เรียก
แต่ละท่อนว่า Okazaki fragment หลังจากนั้นจึงมี enzyme ligase มาเชื่อมแต่ละท่อนเข้าด้วยกัน
เรียกว่า DNA สายนี้ว่า lagging strand (รูปที่ 6)




            รูปที่ 6 การสังเคราะห์สาย leading และ lagging ระหว่างที่มีการจาลอง DNA




                                                                                                        ครูแป๋ว
                                                                                                          By
                                                                                                        ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   7


                            ตัวอย่างโจทย์ เรื่อง DNA และการสังเคราะห์ DNA
ตัวอย่างโจทย์ โครงสร้างของ DNA
1. ข้อใดเป็นปริมาณเบสของโมเลกุล DNA ที่มีสองสาย
          ก. A+T = G+C             ข. (A+G)/T = 1           ค. A/G = T/C       ง. A/G = C/T
2. โมเลกุลของ DNA คู่เบสยึดติดกันด้วยพันธะอะไร
        ก. โควาเลนท์          ข. ไนโตรเจน            ค. ไฮโดรเจน          ง. ฟอสโฟไดเอสเทอร์
3. จากการวิเคราะห์สารพันธุกรรมของไวรัสชนิดหนึ่งพบว่า A+G / T+C ≠ 1 แสดงว่าสาร
พันธุกรรมของไวรัสคือข้อใด
       ก. RNA                            ข. DNA สายเดี่ยว
       ค. RNA และ DNA                    ง. DNA สายคู่ มี A = T แต่ C ≠ G
4. จากภาพข้างล่าง (ก) และ (ข) ชื่ออะไร และพบได้ที่ใด
       ข้อ         (ก)             (ข)             พบที่
       ก.           T               A              DNA
       ข.           C               G              DNA                         ก          ข
       ค.           U               A              RNA
       ง.           C               G              RNA

5. ถ้า DNA มี A = 18 % ข้อใดถูกต้อง
      ก. มี G = 18 %                          ข. มี C = 18 %
      ค. มี A+T = 50 %                        ง. A+T มีปริมาณน้อยกว่า G+C
6. เอนไซม์ที่ใช้ในการจาลอง DNA สาย lagging คืออะไร และพบในระยะใด
       1. RNA polymerase                  2. DNA polymerase
       3. Interphase 4. Prophase
       ก. 1, 3                ข. 1, 4           ค. 2, 3              ง. 2, 4
7. ข้อใดคือผลที่ได้ เมื่อเสร็จสิ้นการจาลองตัวเองของ DNA
      ก. สาย polypeptide                         ข. สาย polynucleotide
      ค. homologous chromosome                    ง. โครโมโซมมี 2 โครมาทิด
8. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการจาลอง DNA
      ก. จาลองทิศทาง 3’  5’ ทั้งสองสาย
      ข. จาลองทิศทาง 5’  3’ ทั้งสองสาย
      ค. จาลองทิศทาง 3’  5’ 1 สาย และ 5’  3’ 1 สาย
                                                                                                             ครูแป๋ว




      ง. จาลองทิศทางใดก็ได้ขึ้นกับ DNA polymerase
9. จากสาย DNA ที่กาหนดให้ปลาย 5 ' คืออักษรใด
       ก. A, C
                                                                                                               By




       ข. B, C
       ค. B, D
                                                                                                             ชีววิทยาน่ารู้




       ง. A, D
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   8


10. DNA ของสิ่งมีชีวิตหนึ่งประกอบด้วยเบส อะดีนีน 20 % เปอร์เซ็นต์ของเบสอื่นๆที่เหลือคือ
           ก. T:G:C = 30:20:30                 ข. U:G:C = 20:30:30
           ค. T:G:C = 20:30:30                  ง. T:G:U = 20:20:40
11. ในโมเลกุล DNA ถ้าสายหนึ่งมีลาดับเบส ATGGAC อีกสายหนึ่งจะต้องเป็น
          ก. TACGTC            ข. ATCCAG         ค. TACCTC          ง. TACCTG
12. ข้อใดเปรียบเทียบได้ถูกต้อง
          Leading strand Lagging strand
     ก. แม่แบบคือสาย 5’  3’ และ 3’ 5’
     ข. ใช้เอนไซม์ DNA polymerase ใช้เอนไซม์ DNA ligase
     ค. มี okazaki fragment มี okazaki fragment
     ง. สร้างทิศทาง 5’  3’ สร้างทิศทาง 5’  3’
13. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้าง DNA
       ก. ประกอบด้วยหน่วยย่อยคือ nucleoside
       ข. เป็นสายคู่เรียงตัวกันแบบ antiparallel
       ค. คาร์บอนตาแหน่งที่ 2 ของน้าตาล ไม่มีหมู่ –OH
       ง. สายคู่ของ DNA เกิดจากการจับกันของ H-bond ระหว่างเบส
14. การจาลอง DNA แบบกึ่งอนุรักษ์ หมายถึงข้อใด
       ก. DNA 1 โมเลกุล มีสายเก่าครึ่งล่าง สายใหม่ครึ่งบน
       ข. DNA 1 โมเลกุล มีสายใหม่ 2 สาย และอีก 1 โมเลกุลมีสายเก่า 2 สาย
       ค. DNA 2 โมเลกุล มีสายใหม่ทั้ง 2 สาย
       ง. DNA 2 โมเลกุล โดยแต่ละโมเลกุลมีสายใหม่ 1 สาย และสายเก่า1 สาย
15. จากสาย mRNA ที่กาหนดให้ จะมีพันธะไฮโดรเจนในสาย DNA ต้นแบบจานวนเท่าใด
5’ AUG UUUACG 3’
         ก. 9             ข. 18          ค. 21           ง. 27
16. DNA สายหนึ่งประกอบด้วย 100 nucleotides อยากทราบว่า DNA สายนี้ยาวกี่นาโนเมตร
         ก. 3.4         ข. 34             ค. 68           ง. 340



                                           พร้อมที่จะเรียนหัวขอต่อไปหรือยัง
                                          ครับ ถ้าพร้อมแล้วตาม ผมไปเลยครับ
                                           กับเรื่อง ยีนและโครโมโซมต่อครับ
                                                                                                         ครูแป๋ว
                                                                                                           By
                                                                                                         ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   9


2.1 DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
1940 Beadle กับ Tatum เสนอว่า One gene One enzyme และ ต่อมา One gene One polypeptide




                รูปที่ 1 แสดงการสังเคราะห์ DNA เป็นโปรตีนในเซลล์โปรคาริโอตและยูคาริโอต

         2.1.1การถอดรหัส (Transcription)
        กระบวนการนี้ใช้ enzyme RNA polymerase โดยมี DNA 1 สายเป็นแม่พิมพ์สร้าง RNA ที่
มีทิศทางจาก 5’  3’

         RNA ที่สังเคราะห์จาก DNA มีอยู่ 3 ชนิด คือ
          1. messenger RNA ทาหน้าที่รับคาสั่งจาก DNA ไปควบคุมลาดับของ amino acid ในสาย
polypeptide ความยาวของ mRNA ขึ้นกับจานวนของ amino acid ในสาย polypeptide แต่ละชนิด
รหัสบน mRNA ที่กาหนดชนิดของ amino acid เรียกว่า codon ซึ่งประกอบด้วยเบส 3 ตัวเรียงกัน
          2. ribosomal RNA (rRNA) พบว่าเป็นส่วนประกอบของไรโบโซมเมื่อ rRNA รวมกับ
โปรตีนกลายเป็นไรโบโซมซึ่งเป็นตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์โปรตีน ไรโบโซมมี 2 หน่วยย่อย คือ
ขนาดเล็กกับขนาดใหญ่
                                                                                                      ครูแป๋ว




          3. transfer RNA (tRNA) ทาหน้าที่รับส่ง amino acid tRNA ไปยังไรโบโซมที่มีการ
สังเคราะห์โปรตีน มีความยาวเฉลี่ย 73 – 93 nucleotides โดยปลาย 3’ จับ amino acid มีบริเวณห่วง
                                                                                                        By




ที่มีรหัสเบส 3 ตัวเรียงอยู่ เรียกว่า anticodon โดยจาเพาะกับ codon บน mRNA ดังนั้น tRNA แต่ละ
ชนิดจะจาเพาะเจาะจง กับชนิดของ amino acid
                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม             10




                       รูปที่ 2 ภาพโครงสร้างของ tRNA และกระบวนการ transcriptions
      รหัสเริ่มต้น (Start Codon) AUG หรือ เมทไทโอนิน (Met) เป็นกรดอะมิโนตัวแรกที่เริ่มกาสังเคราะห์บน
สาย mRNA
        รหัสหยุด (Stop Codon) มี 3 ชนิด UAA UAG UGA ทั้งสาม โคดอนไม่สามารถแปลรหัสเป็นกรดอะ
มิโนได้
        2.1.2 การแปลรหัส (Translation) เป็นกระบวนการแปลรหัส mRNA เป็นสาย polypeptide โดยอาศัยสิ่ง
ต่างๆ ดังนี้ คือ mRNA, ribosome, tRNA, enzyme และโปรตีนต่างๆ รวมทั้ง ATP และ GTP กระบวนการนี้
ประกอบด้วย 3 ระยะคือ
             1. ระยะเริ่มต้น (initiation) หลังจากที่ mRNA ซึ่งสังเคราะห์ที่นิวเคลียสถูกส่งมาที่ไซโทพลาสซึม จะมีไรโบ
โซมขนาดเล็กเข้ามาจับกับรหัส AUG ซึ่งเป็นรหัสเริ่มต้นของการ สังเคราะห์โปรตีนโดยมีทิศทาง 5’  3’ ของ mRNA
ต่อมา tRNA ที่มีรหัส anticodon จาเพาะกับ AUG คือ UAC (เป็น tRNA ที่นา methionine) เข้ามาจับบน mRNA
หลังจากนั้นไรโบโซมขนาดใหญ่เข้ามาจับ โดยมีโปรตีนที่เรียกว่า initiation factor มาช่วยให้ทั้งหมดจับเข้าด้วยกัน และ
อาศัยพลังงาน GTP ด้วย
            2. ระยะต่อสาย (elongation) tRNA ตัวที่สองที่มี anticodon ตรงกับ codon เข้าจับไรโบโซม
 จากนั้น amino acid ตัวแรกจะสร้าง peptide bond กับ amino acid ตัวที่ 2 ทาให้ tRNA ตัวที่สองมี mRNA 5′ A U G           ครูแป๋ว
                                                                                                                        By
                                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม         11


amino acid ต่อกัน 2 ตัว ต่อมา tRNA ตัวแรกหลุดออกจากไรโบโซมและไรโบโซมมีการเคลื่อนที่บน mRNA ด้วย
ระยะทาง 1 codon ต่อมา tRNA ตัวที่สามที่มี anticodon ตรงกับ codon จะนา aminoacid มา และเข้าจับที่ไรโบ
โซม และหลังจากที่สร้าง peptide bond ระหว่าง amino acid ตัวที่ 2 กับ 3เสร็จสิ้น ทาให้ tRNA ตัวที่สามมี amino
acid ต่อกัน 3 ตัว และ tRNA ตัวที่สองก็จะหลุดออกขั้นตอนแบบนี้ดาเนินไปเรื่อยๆ ทาให้ได้สาย polypeptide ที่ยืด
ยาวโดยอาศัยโปรตีนและพลังงาน เช่นกัน (elongation factor, GTP)
            3. ระยะสิ้นสุด (termination) เมื่อ codon บน mRNA คือรหัสสิ้นสุด ได้แก่ UAA UAG และ
UGA พบว่าการสังเคราะห์โปรตีนหยุดชะงักจะไม่มี tRNA เข้ามาจับ แต่จะมีโปรตีน release factorเข้าจับแทนจึงทาให้
การสังเคราะห์โปรตีนเสร็จสิ้น สาย polypeptide หลุดออกจากไรโบโซม
    1. กระบวนการเริ่มต้น




   2. กระบวนการต่อสาย




   3. กระบวนการสิ้นสุดการสังเคราะห์
                                                                                                              ครูแป๋ว
                                                                                                                By
                                                                                                              ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   12


                                 ตัวอย่างโจทย์เรื่องการถอดรหัสและการแปลรหัส
1. ข้อใดเกี่ยวข้องกับกระบวนการถอดรหัส
             1. DNA เป็นแม่พิมพ์ 2 สาย
             2. เกิดขึ้นใน nucleus
             3.ใช้ RNA polymerase 4. DNA ligase
            ก. 1, 2              ข. 2, 3              ค. 1, 2, 3             ง. 2, 3, 4
2. tRNA แตกต่างจาก mRNA อย่างไร
         ก. tRNA เป็นสายคู่ แต่ mRNA เป็นสายเดี่ยว
         ข. tRNA มีหน่วยนิวคลีโอไทด์น้อยกว่า mRNA ทั่วไป
         ค. tRNA สร้างในไซโทพลาสซึม mRNA สร้างในนิวเคลียส
         ง. tRNA ไม่มีรหัส ส่วน mRNA มีรหัส
3. กาหนดให้ DNA มีลาดับเบสดังนี้
                                              5′ CAGTAATGTA 3′
ลาดับเบสของ mRNA ที่ถูกต้องที่สร้างจาก DNA นี้คือข้อใด
         ก. 5′GTCATTACAT 3′                        ข. 5′ GUCAUUACAU 3′
         ค. 3′ GTCATTACAT 5′                       ง. 3′ GUCAUUACAU 5′
4. ถ้า codon ใน mRNA มีรหัสส่วนหนึ่งเป็น AAGCCA ใน tRNA มี anticodon ที่จาเพาะกับรหัสนี้
เรียงตามลาดับจากซ้ายไปขวาคือ
        ก. TTC, GGT             ข. UUC, GGU               ค. CTC, TGG            ง . AAG, CCA
5. นอกจากกรดอะมิโน ที่มีอยู่ในเซลล์แล้ว สิ่งที่จาเป็นในการสร้างโปรตีนคือข้อใด
      1. mRNA              2. tRNA         3. Lysosome            4. Golgi body         5. ribosome
     ก. 1, 2, 3            ข. 1, 2, 4           ค. 1, 2, 5          ง. 1, 2, 3, 4, 5
6. เอนไซม์ชนิดหนึ่งประกอบด้วย กรดอะมิโน 180 ตัว ยีนที่ควบคุมสร้างเอนไซม์นี้ประกอบด้วยกี่
นิวคลีโอไทด์
            ก. 180                ข. 360                 ค. 540          ง. 720
7. จาก mRNA ที่ให้ จะได้กรดอะมิโนกี่ตัว
                                    5' AUCGAAUGCCUUUCUGAAUUC 3'
        ก. 3               ข. 4                  ค. 5                  ง. 7
8. ถ้า mRNA มีรหัสส่วนหนึ่งเป็น ACGUGCUAC และ tRNA มีรหัส AUG = วาลีน (A) UGC =
ไกลซีน (B) และ ACG = อะลานีน (C) เมื่อมีการสังเคราะห์โปรตีนจะมีลาดับกรดอะมิโนเป็นข้อ
ใด
       ก. C-A-B              ข. B-C-A              ค. A-C-B            ง. ไม่มีข้อใดถูก
9. ถ้าลาดับ nucleotide บน DNA เป็น
                                                                                                             ครูแป๋ว




                              3' CCCGGCCTACACCCGTAACATTTAAATT 5'
อยากทราบว่าจะสร้างสายพอลิเปปไทด์ที่มีจานวนกรดอะมิโนเท่าใด
                                                                                                               By




      ก. 4 โมเลกุล            ข. 6 โมเลกุล          ค. 7 โมเลกุล          ง. 9 โมเลกุล
10. ข้อใดเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อแปลรหัสมาถึงโคดอน AUU
       ก. การแปลรหัสดาเนินต่อไป ทาให้พอลินิวคลีโอไทด์ยาวขึ้น
                                                                                                             ชีววิทยาน่ารู้




       ข. tRNA นากรดอะมิโนที่มีแอนติโคดอน UAA เข้ามาจับ
       ค. การแปลรหัสหยุด เพราะโคดอนหยุด
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม          13


      ง. โคดอนนี้เป็นรหัสเริ่มต้น การแปลรหัสจะเริ่มเกิดขึ้น
11. จากภาพข้างล่าง เป็นกระบวนการสร้างอะไร และพบที่ใด
                                             ก. polypeptide, nucleus
                                             ข. polypeptide, cytoplasm
                                             ค. mRNA, nucleus
                                             ง. polynucleotide, nucleus

12. แอนติโคดอนของ tRNA และโคดอนของ mRNA ยึดติดกันได้เพราะอะไร
       ก. พันธะไฮโดรเจน                    ข. พลังงาน ATP
       ค. โควาเลนท์                        ง. การกระตุ้นของไรโบโซม

      1.3 มิวเทชัน
            มิวเทชัน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ทาให้ได้สิ่งมีชีวิต
ลักษณะใหม่ สิ่งมีชีวิตปกติ เรียกว่า wild type ถ้าเกิด mutation เรียกว่า mutant สาเหตุของ mutation มี 2 อย่าง
คือ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่อัตราการเกิดจะต่าและเกิดจากการชักนา โดยสารที่ชักนาให้เกิด mutation เรียกว่า
mutagen ได้แก่ พวกรังสี และสารเคมี เป็นต้น การเกิด mutation มี 2 ระดับ คือ gene mutation หรือ point
mutation กับ chromosomal mutation
            1. gene mutation เป็นการเปลี่ยนแปลงของ gene ในระดับโมเลกุลของ DNA คือ อาจเกิด
จากการที่เบสภายใน DNA ถูกแทนที่ด้วยเบสตัวใหม่ หรืออาจมีการขาดหายหรือเพิ่มขึ้นมาของเบส ส่งผลทาให้โปรตีน
ที่ได้มีชนิดหรือลาดับของ amino acid ผิดไปจากเดิม หรือ ผลทาให้การสร้าง โปรตีนหยุดชะงัก เพราะเปลี่ยนเป็นรหัส
หยุด การเพิ่มหรือขาดเบสแล้วมีผลทาให้การอ่านรหัส (frame) ผิดไปเรียกว่า frameshift mutation การเกิดมิวเทชัน
เฉพาะที่แบบการแทนที่ของคู่เบส




                                                                                                               ครูแป๋ว
                                                                                                                 By
                                                                                                               ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม         14


           2. chromosomal mutation เป็นความผิดปกติในแง่จานวน หรือ โครงสร้างของโครโมโซมปกติจานวน
โครโมโซมมีอยู่ 2 ชุด (2n) ถ้าผิดปกติเป็นจานวนแท่ง เช่น มีจานวนเกินหรือขาด 1 – 2 แท่ง (2n+1, 2n+2) เรียกว่า
Aneuploid ซึ่งมีสาเหตุจากการแบ่งเซลล์ผิดปกติ (non disjunction) แต่ถ้า ผิดปกติเป็นจานวนชุด เช่น จาก 2 ชุด
เป็น 3 หรือ 4 ชุด เรียกว่า Euploid ส่วนความผิดปกติของโครงสร้างโครโมโซมมี 4 แบบ คือ deletion เป็นความ
ผิดปกติที่มีการขาดของโครโมโซม ถ้ามีส่วนโครโมโซมเกินมาเรียก duplication ถ้ามีการสลับที่ของยีนบนโครโมโซม
เดียวกัน inversion และถ้ามีการแลกเปลี่ยนส่วนโครโมโซมต่างคู่กันเรียก translocation การเกิดนอนดิสจังชันของออ
โทโซมเมื่อแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (หนังสือเรียนหน้า 81) Down syndrome (หนังสือเรียนหน้า 80)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซม (หนังสือเรียนหน้า 80)




                                                                                                             ครูแป๋ว
                                                                                                               By
                                                                                                             ชีววิทยาน่ารู้
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   15



                                              ตัวอย่างโจทย์เรื่อง มิวเทชัน
1. การเกิดมิวเทชันตามธรรมชาติ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดของ DNA (o-net 50)
          ก. ชนิดของน้าตาลเพนโตส                        ข. ลาดับเบสของนิวคลีโอไทด์
          ค. จานวนหมู่ฟอสเฟต                           ง. จานวนสายนิวคลีโอไทด์
2. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องมากที่สุด (o-net 51)
        ก. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมเพศของเซลล์ใดๆจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้
        ข. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมเพศของเซลล์ร่างกายจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้
        ค. มิวเทชันที่เกิดกับออโตโซมของเซลล์ร่างกายจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้
        ง. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมใดๆของเซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้
3. โรคพันธุกรรมที่มีจานวนโครโมโซมน้อยที่สุด
      ก. Turner syndrome                            ข. Down syndrome
      ค. Patua syndrome                             ง. Cri du chat syndrome
4. ข้อใดไม่มีโอกาสเกิด mutation ที่มีการแทนที่เบสใน DNA ที่เป็นยีน
      ก. การเปลี่ยน phenotype                        ข. กรดอะมิโนในสาย polypeptide เปลี่ยนไป
      ค. โมเลกุล mRNA มีลาดับเบสเปลี่ยนไป            ง. Frameshift mutation
5. ยีนมิวเทชัน (gene mutation) เมื่อเกิดแล้วจะมีผลอย่างไร
      ก. ส่วนใหญ่ทาให้ยีนมีลักษณะดีขึ้น
      ข. เกิดแล้วไม่สามารถถ่ายทอดได้แม้จะเกิดกับเซลล์สืบพันธุ์ก็ตาม
      ค. เกิดแล้วจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสปีชีส์ได้ในบางโอกาส
      ง. เมื่อเกิดแล้วจะไม่มีผลต่อลักษณะทางพันธุกรรม
6. กลุ่มอาการโรคทางพันธุกรรมข้อใด มีสาเหตุมาจากนอนดิสจังชัน (non disjunction) ของการ
ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ และพบได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย
      ก. Down syndrome                           ข. Klinefelter syndrome
      ค. Turner syndrome                         ง. Cri du chat syndrome
7. ฉายรังสีเอกซ์ ทาให้เบสใน DNA เปลี่ยนแปลงดังภาพ
สิ่งสาคัญที่น่าจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคือ
      ก. ส่งผลกระทบต่อโครโมโซมอื่นทันทีทันใด               ข. อาจถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกต่อไป
      ค. ฟีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตจะไม่เปลี่ยนแปลง           ง. ยีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตไม่เปลี่ยนแปลง            ครูแป๋ว




8. ถ้าหากหญิงคนหนึ่งเป็น Down syndrome ซึ่งสามารถสร้างไข่ได้ สภาพของโครโมโซมในไข่
เป็นเช่นใด
       ก. อาจมีจานวนโครโมโซมปกติ                 ข. มีจานวนโครโมโซมน้อยกว่าปกติ
                                                                                                                 By




       ค. มีจานวนโครโมโซมมากกว่าปกติเสมอ          ง. แขนของโครโมโซมแท่งหนึ่งสั้นกว่าปกติ
9. กาหนดสาย DNA มีลาดับเบสดังนี้
                                                                                                               ชีววิทยาน่ารู้




                                          3′ TACGGGCTAATT 5′
เบส T ตัวแรกที่นับจากปลาย 5' เกิดแทนที่เบสจาก T เป็น G ผลจะเกิดอะไรขึ้น
       ก. ได้โปรตีนสั้นลง                      ข. ได้โปรตีนยาวขึ้น
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม   16


       ค. ได้กรดอะมิโนผิดไปจากเดิม                   ง. ไม่มีการนากรดอะมิโนมา
10. เด็กที่มีลักษณะเฉพาะคือ เสียงร้องเหมือนแมวในขณะโกรธ ความผิดปกตินี้เกิดจากข้อใด และ
พบในเพศใด
      ก. โครโมโซมคู่ที่ 5 เกินมา พบได้ทั้งผู้หญิงและชาย
      ข. โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน พบได้เฉพาะผู้ชาย
      ค. โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน พบได้ทั้งสองเพศ
      ง. โครโมโซมคู่ที่ 5 เกิดการสลับตาแหน่งยีน พบได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย
11. จากการเติมเบส T ในสาย DNA ตามปกติ
                                          DNA TACTCCCGAACTGATAC
อยากทราบว่า สายเพปไทด์ที่ได้จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
      ก. สั้นลง
      ข. เท่าเดิม
      ค. ยาวขึ้น
      ง. ไม่สร้างเพปไทด์
                                   ถ้านักเรียนไม่เข้าใจ ให้กลับไปทบทวนเพิ่มเติมนะครับ
                                       และถ้าสงสัยฝากคาถามไว้ที่ Blog ได้เลยครับที่
                                              Biologynsp.wordpress.com




                                                                                                      ครูแป๋ว
                                                                                                        By
                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
Yaovaree Nornakhum
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 

What's hot (20)

ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 

Similar to เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม

ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
NoeyWipa
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
Computer ITSWKJ
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
natthineechobmee
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
Wichai Likitponrak
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
Wichai Likitponrak
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
Wichai Likitponrak
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
Wan Ngamwongwan
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 

Similar to เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม (20)

ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
แบบทดสอบชีวะพื้นพันธุ์
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 1 เอกสารประกอบการสอน เรื่องยีนและโครโมโซม รวบรวมโดย นางอังสนา แสนเยีย ตาแหน่งครู ครูแป๋ว โรงเรียนหนองซนพิทยาคม By สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 ชีววิทยาน่ารู้
  • 2. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 2 คาชี้แจง คู่มือเอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยาเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้สอนเข้าใจขอบเขตของเนื้อหาสาระที่สื่อ ประกอบการสอนเรื่องนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความ เข้าใจในเนื้อหาบทเรียนของผู้เรียน กระตุ้นความสนใจ ให้ความกระจ่างเกี่ยวกับศัพท์ทางวิชาการที่ควรทราบ และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ที่ได้รับโดยการอภิปรายร่วมกัน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึน โดยเอกสารในเล่มนี้ มีหัวข้อดังต่อไปนี้ ้ 1. ประวัติการค้นพบสารพันธุกรรม 2. การสังเคราะห์ DNA 3. DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม 4. มิวเตชัน 5. แบบทดสอบตัวอย่าง อังสนา แสนเยีย ผูเรียบเรียง ้ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 3 เรื่อง ยีนและโครโมโซม 1.1 การค้นพบสารพันธุกรรม วอลเตอร์ ซัตตัน เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่า ยีนอยู่บนโครโมโซม มีการทดลองและยืนยันว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ยกเว้นไวรัสบางชนิด มี RNA เป็น สารพันธุกรรม เช่น ไวรัสใบยาสูบ โรคเอดส์ เป็นต้น การค้นพบ DNA จากการศึกษาพบว่า DNA มีโครงสร้างเป็น polymer of nucleotide โดยมี nucleotide อยู่ 4 ชนิด คือ Adenine (A) Thymine (T) Cytosine (C) และ Guanine (G) nucleotide แต่ละชนิด ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ น้าตาล 5C, nitrogenous base (purine ; A, G และ pyrimidine ; C, T) และ หมู่ฟอสเฟต นอกจากนี้ปี ค.ศ. 1940 Chargaff ได้เสนอว่าโมเลกุลของ DNA มีปริมาณเบส A = T และ C = G เสมอ เช่น DNA ของคนมีปริมาณ A = 30.9%, T = 29.4%, G = 19.9% และ C = 19.8% พ.ศ. 2471 เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith) แพทย์ชาวอังกฤษทาการทดลองโดยฉีด แบคทีเรีย (Streptococcus pneumoniae) ที่ทาให้เกิดโรคปอดบวมเข้าไปในหนู แบคทีเรียที่ฉีดเข้าไปนี้มี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ที่มี ผิวหยาบ เพราะไม่มีสารห่อหุ้มเซลล์หรือ แคปซูล(capsule) ไม่ทาให้เกิดโรคปอดบวม เรียกว่าสายพันธุ์ R (rough) และสายพันธุ์ ที่มผิวเรียบ มีสารห่อหุ้มเซลล์ทาให้เกิดโรคปอดบวมรุนแรงถึงตาย เรียกว่า สายพันธุ์ S (smooth) ี รูปที่ 1 การทดลองของ เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith) Q : เหตุใดเมื่อนาแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อน ไปผสมกับสายพันธุ์ R ที่มี ชีวิตแล้วฉีดให้หนูจึงทาให้หนูตาย ??? ครูแป๋ว กริฟฟิท ได้รายงานว่ามีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อนเข้าไปยังสายพันธุ์ R By บางเซลล์และสามารถทาให้แบคทีเรียสายพันธุ์ R เปลี่ยนแปลงสายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ S ที่มีชีวิต สายพันธุ์ S เหล่านี้ยัง สามารถถ่ายทอดลักษณะไปสู่รุ่นลูกหลาน อย่างไรก็ตาม กริฟฟิท ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าสารนั้นคืออะไร นักเรียนทราบไหมค่ะว่าสารนั้น คือ อะไร นะถึงถ่ายทอดจากหนูตัวหนึ่งไปยังอีกตัวได้ ??? ชีววิทยาน่ารู้ พ.ศ. 2487 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 3 คน คือ โอ ที แอเวอรี่ (O.T. Avery) ซี แมคลอยด์ ( C. MacLeod) และ เอ็ม แมคคาร์ที (M. McCarty) ทาการทดลองต่อจาก กริฟฟิท
  • 4. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 4 รูปที่ 2 การทดลองของ โอ ที แอเวอรี่ (O.T. Avery) และคณะ การทดลองนี้จึงแสดงให้เห็นว่า DNA คือสารที่เปลี่ยนพันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R ให้เป็นสาย พันธุ์ S แอเวอรี่จึงสรุปว่า กรดนิวคลีอิกชนิด DNA เป็นสารพันธุกรรมไม่ใช่โปรตีน ปีค.ศ. 1953 J. D Watson และ F.H.C. Crick ได้เสนอแบบจาลองโครงสร้างโมเลกุล DNA ที่เรียกว่า โครงสร้างแบบเกลียวคู่ (double helix) (รูปที่ 3) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ รูปที่ 3 แบบจาลองของ J. D Watson และ F.H.C. Crick ครูแป๋ว 1. โมเลกุล DNA ประกอบด้วย polynucleotide 2 สายพันเป็นเกลียววนขวา 2. polynucleotide แต่ละสายมีเบสคู่กัน โดยจับกันด้วย H-bond โดย A = T (2 พันธะ) By และ G C (3 พันธะ) และทั้งสองสายจะบิดเป็นเกลียว โดยระยะห่างระหว่างเกลียวมีขนาด สม่าเสมอ มีลักษณะคล้ายบันไดเวียน ซึ่งขอบทั้งสองข้างของบันไดเวียน คือ โมเลกุลน้าตาลและ ฟอสเฟต ที่เชื่อมต่อกันทั้งสายด้วย phosphodiester bond และขั้นบันไดคือ เบสสองตัวที่คู่กัน แต่ละ ชีววิทยาน่ารู้ ขั้นบันไดห่างกัน 3.4A° (0.34 nm) บิดเป็นมุม 36 องศา ดังนั้น 1 รอบ คือ 360 องศาประกอบด้วย เบส 10 คู่ ที่ยาว 34A° (3.4 nm)
  • 5. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 5 3. เส้นผ่าศูนย์กลางของคู่เบสเท่ากันตลอดคือ 20 A° ถ้า polynucleotide สายหนึ่งมีทิศทาง 5’  3’ อีกสายหนึ่งจะเป็น 3’  5’ เรียกว่าเป็น antiparallel โดยปลาย 5’ คือ หมู่ฟอสเฟต ส่วน 3’ คือ หมู่ OH รูปที่ 4 โครงสร้างโมเลกุล DNA 1.2 การสังเคราะห์ DNA เมื่อเซลล์จะมีการแบ่งตัว เซลล์จะต้องมีการจาลองโมเลกุล DNA เป็นสองโมเลกุลที่มี โครงสร้างเหมือนกันทุกประการ เพื่อจะได้ถ่ายทอด DNA แต่ละโมเลกุลไปยังเซลล์ลูก กระบวนการจาลองโมเลกุล DNA เรียกว่า DNA replication โดย Watson และ Crick ได้เสนอว่าการ จาลอง DNA เป็นแบบ semiconservative replication โดย DNA แต่ละโมเลกุลที่สังเคราะห์ได้จะ ประกอบด้วย polynucleotide สายใหม่ 1 สาย กับสายเก่า 1 สาย สรุปขั้นตอนการจาลอง DNA แบบ semiconservative ดังนี้ 1. เริ่มต้น polynucleotide 2 สาย แยกออกจากกันโดยมีการทาลาย H-bond 2. polynucleotide แต่ละสายทาหน้าที่เป็นแม่แบบ หรือ แม่พิมพ์ (template) ในการจาลอง สายใหม่โดย เบสของสายใหม่กับสายเก่าจะต้องคู่กัน (complementary) เช่น polynucleotide สายเก่า มีเบส A ดังนั้นสายใหม่จะมีเบส T มาเข้าคู่ การสังเคราะห์ polynucleotide สายใหม่แต่ละสายเกิด ควบคู่กันไป 3. enzyme DNA polymerase เป็น enzyme ที่รับผิดชอบการเชื่อม nucleotide แต่ละตัวเข้า ด้วยกัน ทาให้เกิดการยืดยาวของสาย DNA ในทิศทาง 5’  3 ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ รูปที่ 5 แบบจาลองของ Semiconservative replication
  • 6. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 6 เนื่องจากสาย DNA เกลียวคู่มีการจับกันในทิศทางตรงข้ามกัน ดังนั้นสายใหม่ 1 สายจะถูก สังเคราะห์ในทิศทาง 5’  3’ ส่วนอีกสายหนึ่งต้องเป็น 3’  5’ แต่เนื่องจาก enzyme DNA polymerase จะเชื่อมพันธะระหว่าง nucleotide ในทิศทาง 5’  3’ เท่านั้น ดังนั้นการสังเคราะห์ DNA ที่สายแม่แบบมีทิศทาง 3’  5’ จะสังเคราะห์แบบต่อเนื่อง ซึ่งเรียกสายนี้ว่า leading strand ส่วนการสังเคราะห์ของสายที่แม่แบบมีทิศทาง 5’  3’ จะมีการสังเคราะห์ DNA เป็นท่อนๆ เรียก แต่ละท่อนว่า Okazaki fragment หลังจากนั้นจึงมี enzyme ligase มาเชื่อมแต่ละท่อนเข้าด้วยกัน เรียกว่า DNA สายนี้ว่า lagging strand (รูปที่ 6) รูปที่ 6 การสังเคราะห์สาย leading และ lagging ระหว่างที่มีการจาลอง DNA ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 7. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 7 ตัวอย่างโจทย์ เรื่อง DNA และการสังเคราะห์ DNA ตัวอย่างโจทย์ โครงสร้างของ DNA 1. ข้อใดเป็นปริมาณเบสของโมเลกุล DNA ที่มีสองสาย ก. A+T = G+C ข. (A+G)/T = 1 ค. A/G = T/C ง. A/G = C/T 2. โมเลกุลของ DNA คู่เบสยึดติดกันด้วยพันธะอะไร ก. โควาเลนท์ ข. ไนโตรเจน ค. ไฮโดรเจน ง. ฟอสโฟไดเอสเทอร์ 3. จากการวิเคราะห์สารพันธุกรรมของไวรัสชนิดหนึ่งพบว่า A+G / T+C ≠ 1 แสดงว่าสาร พันธุกรรมของไวรัสคือข้อใด ก. RNA ข. DNA สายเดี่ยว ค. RNA และ DNA ง. DNA สายคู่ มี A = T แต่ C ≠ G 4. จากภาพข้างล่าง (ก) และ (ข) ชื่ออะไร และพบได้ที่ใด ข้อ (ก) (ข) พบที่ ก. T A DNA ข. C G DNA ก ข ค. U A RNA ง. C G RNA 5. ถ้า DNA มี A = 18 % ข้อใดถูกต้อง ก. มี G = 18 % ข. มี C = 18 % ค. มี A+T = 50 % ง. A+T มีปริมาณน้อยกว่า G+C 6. เอนไซม์ที่ใช้ในการจาลอง DNA สาย lagging คืออะไร และพบในระยะใด 1. RNA polymerase 2. DNA polymerase 3. Interphase 4. Prophase ก. 1, 3 ข. 1, 4 ค. 2, 3 ง. 2, 4 7. ข้อใดคือผลที่ได้ เมื่อเสร็จสิ้นการจาลองตัวเองของ DNA ก. สาย polypeptide ข. สาย polynucleotide ค. homologous chromosome ง. โครโมโซมมี 2 โครมาทิด 8. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการจาลอง DNA ก. จาลองทิศทาง 3’  5’ ทั้งสองสาย ข. จาลองทิศทาง 5’  3’ ทั้งสองสาย ค. จาลองทิศทาง 3’  5’ 1 สาย และ 5’  3’ 1 สาย ครูแป๋ว ง. จาลองทิศทางใดก็ได้ขึ้นกับ DNA polymerase 9. จากสาย DNA ที่กาหนดให้ปลาย 5 ' คืออักษรใด ก. A, C By ข. B, C ค. B, D ชีววิทยาน่ารู้ ง. A, D
  • 8. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 8 10. DNA ของสิ่งมีชีวิตหนึ่งประกอบด้วยเบส อะดีนีน 20 % เปอร์เซ็นต์ของเบสอื่นๆที่เหลือคือ ก. T:G:C = 30:20:30 ข. U:G:C = 20:30:30 ค. T:G:C = 20:30:30 ง. T:G:U = 20:20:40 11. ในโมเลกุล DNA ถ้าสายหนึ่งมีลาดับเบส ATGGAC อีกสายหนึ่งจะต้องเป็น ก. TACGTC ข. ATCCAG ค. TACCTC ง. TACCTG 12. ข้อใดเปรียบเทียบได้ถูกต้อง Leading strand Lagging strand ก. แม่แบบคือสาย 5’  3’ และ 3’ 5’ ข. ใช้เอนไซม์ DNA polymerase ใช้เอนไซม์ DNA ligase ค. มี okazaki fragment มี okazaki fragment ง. สร้างทิศทาง 5’  3’ สร้างทิศทาง 5’  3’ 13. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้าง DNA ก. ประกอบด้วยหน่วยย่อยคือ nucleoside ข. เป็นสายคู่เรียงตัวกันแบบ antiparallel ค. คาร์บอนตาแหน่งที่ 2 ของน้าตาล ไม่มีหมู่ –OH ง. สายคู่ของ DNA เกิดจากการจับกันของ H-bond ระหว่างเบส 14. การจาลอง DNA แบบกึ่งอนุรักษ์ หมายถึงข้อใด ก. DNA 1 โมเลกุล มีสายเก่าครึ่งล่าง สายใหม่ครึ่งบน ข. DNA 1 โมเลกุล มีสายใหม่ 2 สาย และอีก 1 โมเลกุลมีสายเก่า 2 สาย ค. DNA 2 โมเลกุล มีสายใหม่ทั้ง 2 สาย ง. DNA 2 โมเลกุล โดยแต่ละโมเลกุลมีสายใหม่ 1 สาย และสายเก่า1 สาย 15. จากสาย mRNA ที่กาหนดให้ จะมีพันธะไฮโดรเจนในสาย DNA ต้นแบบจานวนเท่าใด 5’ AUG UUUACG 3’ ก. 9 ข. 18 ค. 21 ง. 27 16. DNA สายหนึ่งประกอบด้วย 100 nucleotides อยากทราบว่า DNA สายนี้ยาวกี่นาโนเมตร ก. 3.4 ข. 34 ค. 68 ง. 340 พร้อมที่จะเรียนหัวขอต่อไปหรือยัง ครับ ถ้าพร้อมแล้วตาม ผมไปเลยครับ กับเรื่อง ยีนและโครโมโซมต่อครับ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 9. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 9 2.1 DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม 1940 Beadle กับ Tatum เสนอว่า One gene One enzyme และ ต่อมา One gene One polypeptide รูปที่ 1 แสดงการสังเคราะห์ DNA เป็นโปรตีนในเซลล์โปรคาริโอตและยูคาริโอต 2.1.1การถอดรหัส (Transcription) กระบวนการนี้ใช้ enzyme RNA polymerase โดยมี DNA 1 สายเป็นแม่พิมพ์สร้าง RNA ที่ มีทิศทางจาก 5’  3’ RNA ที่สังเคราะห์จาก DNA มีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. messenger RNA ทาหน้าที่รับคาสั่งจาก DNA ไปควบคุมลาดับของ amino acid ในสาย polypeptide ความยาวของ mRNA ขึ้นกับจานวนของ amino acid ในสาย polypeptide แต่ละชนิด รหัสบน mRNA ที่กาหนดชนิดของ amino acid เรียกว่า codon ซึ่งประกอบด้วยเบส 3 ตัวเรียงกัน 2. ribosomal RNA (rRNA) พบว่าเป็นส่วนประกอบของไรโบโซมเมื่อ rRNA รวมกับ โปรตีนกลายเป็นไรโบโซมซึ่งเป็นตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์โปรตีน ไรโบโซมมี 2 หน่วยย่อย คือ ขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ ครูแป๋ว 3. transfer RNA (tRNA) ทาหน้าที่รับส่ง amino acid tRNA ไปยังไรโบโซมที่มีการ สังเคราะห์โปรตีน มีความยาวเฉลี่ย 73 – 93 nucleotides โดยปลาย 3’ จับ amino acid มีบริเวณห่วง By ที่มีรหัสเบส 3 ตัวเรียงอยู่ เรียกว่า anticodon โดยจาเพาะกับ codon บน mRNA ดังนั้น tRNA แต่ละ ชนิดจะจาเพาะเจาะจง กับชนิดของ amino acid ชีววิทยาน่ารู้
  • 10. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 10 รูปที่ 2 ภาพโครงสร้างของ tRNA และกระบวนการ transcriptions รหัสเริ่มต้น (Start Codon) AUG หรือ เมทไทโอนิน (Met) เป็นกรดอะมิโนตัวแรกที่เริ่มกาสังเคราะห์บน สาย mRNA รหัสหยุด (Stop Codon) มี 3 ชนิด UAA UAG UGA ทั้งสาม โคดอนไม่สามารถแปลรหัสเป็นกรดอะ มิโนได้ 2.1.2 การแปลรหัส (Translation) เป็นกระบวนการแปลรหัส mRNA เป็นสาย polypeptide โดยอาศัยสิ่ง ต่างๆ ดังนี้ คือ mRNA, ribosome, tRNA, enzyme และโปรตีนต่างๆ รวมทั้ง ATP และ GTP กระบวนการนี้ ประกอบด้วย 3 ระยะคือ 1. ระยะเริ่มต้น (initiation) หลังจากที่ mRNA ซึ่งสังเคราะห์ที่นิวเคลียสถูกส่งมาที่ไซโทพลาสซึม จะมีไรโบ โซมขนาดเล็กเข้ามาจับกับรหัส AUG ซึ่งเป็นรหัสเริ่มต้นของการ สังเคราะห์โปรตีนโดยมีทิศทาง 5’  3’ ของ mRNA ต่อมา tRNA ที่มีรหัส anticodon จาเพาะกับ AUG คือ UAC (เป็น tRNA ที่นา methionine) เข้ามาจับบน mRNA หลังจากนั้นไรโบโซมขนาดใหญ่เข้ามาจับ โดยมีโปรตีนที่เรียกว่า initiation factor มาช่วยให้ทั้งหมดจับเข้าด้วยกัน และ อาศัยพลังงาน GTP ด้วย 2. ระยะต่อสาย (elongation) tRNA ตัวที่สองที่มี anticodon ตรงกับ codon เข้าจับไรโบโซม จากนั้น amino acid ตัวแรกจะสร้าง peptide bond กับ amino acid ตัวที่ 2 ทาให้ tRNA ตัวที่สองมี mRNA 5′ A U G ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 11. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 11 amino acid ต่อกัน 2 ตัว ต่อมา tRNA ตัวแรกหลุดออกจากไรโบโซมและไรโบโซมมีการเคลื่อนที่บน mRNA ด้วย ระยะทาง 1 codon ต่อมา tRNA ตัวที่สามที่มี anticodon ตรงกับ codon จะนา aminoacid มา และเข้าจับที่ไรโบ โซม และหลังจากที่สร้าง peptide bond ระหว่าง amino acid ตัวที่ 2 กับ 3เสร็จสิ้น ทาให้ tRNA ตัวที่สามมี amino acid ต่อกัน 3 ตัว และ tRNA ตัวที่สองก็จะหลุดออกขั้นตอนแบบนี้ดาเนินไปเรื่อยๆ ทาให้ได้สาย polypeptide ที่ยืด ยาวโดยอาศัยโปรตีนและพลังงาน เช่นกัน (elongation factor, GTP) 3. ระยะสิ้นสุด (termination) เมื่อ codon บน mRNA คือรหัสสิ้นสุด ได้แก่ UAA UAG และ UGA พบว่าการสังเคราะห์โปรตีนหยุดชะงักจะไม่มี tRNA เข้ามาจับ แต่จะมีโปรตีน release factorเข้าจับแทนจึงทาให้ การสังเคราะห์โปรตีนเสร็จสิ้น สาย polypeptide หลุดออกจากไรโบโซม 1. กระบวนการเริ่มต้น 2. กระบวนการต่อสาย 3. กระบวนการสิ้นสุดการสังเคราะห์ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 12. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 12 ตัวอย่างโจทย์เรื่องการถอดรหัสและการแปลรหัส 1. ข้อใดเกี่ยวข้องกับกระบวนการถอดรหัส 1. DNA เป็นแม่พิมพ์ 2 สาย 2. เกิดขึ้นใน nucleus 3.ใช้ RNA polymerase 4. DNA ligase ก. 1, 2 ข. 2, 3 ค. 1, 2, 3 ง. 2, 3, 4 2. tRNA แตกต่างจาก mRNA อย่างไร ก. tRNA เป็นสายคู่ แต่ mRNA เป็นสายเดี่ยว ข. tRNA มีหน่วยนิวคลีโอไทด์น้อยกว่า mRNA ทั่วไป ค. tRNA สร้างในไซโทพลาสซึม mRNA สร้างในนิวเคลียส ง. tRNA ไม่มีรหัส ส่วน mRNA มีรหัส 3. กาหนดให้ DNA มีลาดับเบสดังนี้ 5′ CAGTAATGTA 3′ ลาดับเบสของ mRNA ที่ถูกต้องที่สร้างจาก DNA นี้คือข้อใด ก. 5′GTCATTACAT 3′ ข. 5′ GUCAUUACAU 3′ ค. 3′ GTCATTACAT 5′ ง. 3′ GUCAUUACAU 5′ 4. ถ้า codon ใน mRNA มีรหัสส่วนหนึ่งเป็น AAGCCA ใน tRNA มี anticodon ที่จาเพาะกับรหัสนี้ เรียงตามลาดับจากซ้ายไปขวาคือ ก. TTC, GGT ข. UUC, GGU ค. CTC, TGG ง . AAG, CCA 5. นอกจากกรดอะมิโน ที่มีอยู่ในเซลล์แล้ว สิ่งที่จาเป็นในการสร้างโปรตีนคือข้อใด 1. mRNA 2. tRNA 3. Lysosome 4. Golgi body 5. ribosome ก. 1, 2, 3 ข. 1, 2, 4 ค. 1, 2, 5 ง. 1, 2, 3, 4, 5 6. เอนไซม์ชนิดหนึ่งประกอบด้วย กรดอะมิโน 180 ตัว ยีนที่ควบคุมสร้างเอนไซม์นี้ประกอบด้วยกี่ นิวคลีโอไทด์ ก. 180 ข. 360 ค. 540 ง. 720 7. จาก mRNA ที่ให้ จะได้กรดอะมิโนกี่ตัว 5' AUCGAAUGCCUUUCUGAAUUC 3' ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 7 8. ถ้า mRNA มีรหัสส่วนหนึ่งเป็น ACGUGCUAC และ tRNA มีรหัส AUG = วาลีน (A) UGC = ไกลซีน (B) และ ACG = อะลานีน (C) เมื่อมีการสังเคราะห์โปรตีนจะมีลาดับกรดอะมิโนเป็นข้อ ใด ก. C-A-B ข. B-C-A ค. A-C-B ง. ไม่มีข้อใดถูก 9. ถ้าลาดับ nucleotide บน DNA เป็น ครูแป๋ว 3' CCCGGCCTACACCCGTAACATTTAAATT 5' อยากทราบว่าจะสร้างสายพอลิเปปไทด์ที่มีจานวนกรดอะมิโนเท่าใด By ก. 4 โมเลกุล ข. 6 โมเลกุล ค. 7 โมเลกุล ง. 9 โมเลกุล 10. ข้อใดเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อแปลรหัสมาถึงโคดอน AUU ก. การแปลรหัสดาเนินต่อไป ทาให้พอลินิวคลีโอไทด์ยาวขึ้น ชีววิทยาน่ารู้ ข. tRNA นากรดอะมิโนที่มีแอนติโคดอน UAA เข้ามาจับ ค. การแปลรหัสหยุด เพราะโคดอนหยุด
  • 13. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 13 ง. โคดอนนี้เป็นรหัสเริ่มต้น การแปลรหัสจะเริ่มเกิดขึ้น 11. จากภาพข้างล่าง เป็นกระบวนการสร้างอะไร และพบที่ใด ก. polypeptide, nucleus ข. polypeptide, cytoplasm ค. mRNA, nucleus ง. polynucleotide, nucleus 12. แอนติโคดอนของ tRNA และโคดอนของ mRNA ยึดติดกันได้เพราะอะไร ก. พันธะไฮโดรเจน ข. พลังงาน ATP ค. โควาเลนท์ ง. การกระตุ้นของไรโบโซม 1.3 มิวเทชัน มิวเทชัน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ทาให้ได้สิ่งมีชีวิต ลักษณะใหม่ สิ่งมีชีวิตปกติ เรียกว่า wild type ถ้าเกิด mutation เรียกว่า mutant สาเหตุของ mutation มี 2 อย่าง คือ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่อัตราการเกิดจะต่าและเกิดจากการชักนา โดยสารที่ชักนาให้เกิด mutation เรียกว่า mutagen ได้แก่ พวกรังสี และสารเคมี เป็นต้น การเกิด mutation มี 2 ระดับ คือ gene mutation หรือ point mutation กับ chromosomal mutation 1. gene mutation เป็นการเปลี่ยนแปลงของ gene ในระดับโมเลกุลของ DNA คือ อาจเกิด จากการที่เบสภายใน DNA ถูกแทนที่ด้วยเบสตัวใหม่ หรืออาจมีการขาดหายหรือเพิ่มขึ้นมาของเบส ส่งผลทาให้โปรตีน ที่ได้มีชนิดหรือลาดับของ amino acid ผิดไปจากเดิม หรือ ผลทาให้การสร้าง โปรตีนหยุดชะงัก เพราะเปลี่ยนเป็นรหัส หยุด การเพิ่มหรือขาดเบสแล้วมีผลทาให้การอ่านรหัส (frame) ผิดไปเรียกว่า frameshift mutation การเกิดมิวเทชัน เฉพาะที่แบบการแทนที่ของคู่เบส ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 14. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 14 2. chromosomal mutation เป็นความผิดปกติในแง่จานวน หรือ โครงสร้างของโครโมโซมปกติจานวน โครโมโซมมีอยู่ 2 ชุด (2n) ถ้าผิดปกติเป็นจานวนแท่ง เช่น มีจานวนเกินหรือขาด 1 – 2 แท่ง (2n+1, 2n+2) เรียกว่า Aneuploid ซึ่งมีสาเหตุจากการแบ่งเซลล์ผิดปกติ (non disjunction) แต่ถ้า ผิดปกติเป็นจานวนชุด เช่น จาก 2 ชุด เป็น 3 หรือ 4 ชุด เรียกว่า Euploid ส่วนความผิดปกติของโครงสร้างโครโมโซมมี 4 แบบ คือ deletion เป็นความ ผิดปกติที่มีการขาดของโครโมโซม ถ้ามีส่วนโครโมโซมเกินมาเรียก duplication ถ้ามีการสลับที่ของยีนบนโครโมโซม เดียวกัน inversion และถ้ามีการแลกเปลี่ยนส่วนโครโมโซมต่างคู่กันเรียก translocation การเกิดนอนดิสจังชันของออ โทโซมเมื่อแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (หนังสือเรียนหน้า 81) Down syndrome (หนังสือเรียนหน้า 80) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซม (หนังสือเรียนหน้า 80) ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้
  • 15. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 15 ตัวอย่างโจทย์เรื่อง มิวเทชัน 1. การเกิดมิวเทชันตามธรรมชาติ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดของ DNA (o-net 50) ก. ชนิดของน้าตาลเพนโตส ข. ลาดับเบสของนิวคลีโอไทด์ ค. จานวนหมู่ฟอสเฟต ง. จานวนสายนิวคลีโอไทด์ 2. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องมากที่สุด (o-net 51) ก. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมเพศของเซลล์ใดๆจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ ข. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมเพศของเซลล์ร่างกายจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ ค. มิวเทชันที่เกิดกับออโตโซมของเซลล์ร่างกายจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ ง. มิวเทชันที่เกิดกับโครโมโซมใดๆของเซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ 3. โรคพันธุกรรมที่มีจานวนโครโมโซมน้อยที่สุด ก. Turner syndrome ข. Down syndrome ค. Patua syndrome ง. Cri du chat syndrome 4. ข้อใดไม่มีโอกาสเกิด mutation ที่มีการแทนที่เบสใน DNA ที่เป็นยีน ก. การเปลี่ยน phenotype ข. กรดอะมิโนในสาย polypeptide เปลี่ยนไป ค. โมเลกุล mRNA มีลาดับเบสเปลี่ยนไป ง. Frameshift mutation 5. ยีนมิวเทชัน (gene mutation) เมื่อเกิดแล้วจะมีผลอย่างไร ก. ส่วนใหญ่ทาให้ยีนมีลักษณะดีขึ้น ข. เกิดแล้วไม่สามารถถ่ายทอดได้แม้จะเกิดกับเซลล์สืบพันธุ์ก็ตาม ค. เกิดแล้วจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสปีชีส์ได้ในบางโอกาส ง. เมื่อเกิดแล้วจะไม่มีผลต่อลักษณะทางพันธุกรรม 6. กลุ่มอาการโรคทางพันธุกรรมข้อใด มีสาเหตุมาจากนอนดิสจังชัน (non disjunction) ของการ ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ และพบได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ก. Down syndrome ข. Klinefelter syndrome ค. Turner syndrome ง. Cri du chat syndrome 7. ฉายรังสีเอกซ์ ทาให้เบสใน DNA เปลี่ยนแปลงดังภาพ สิ่งสาคัญที่น่าจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคือ ก. ส่งผลกระทบต่อโครโมโซมอื่นทันทีทันใด ข. อาจถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกต่อไป ค. ฟีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตจะไม่เปลี่ยนแปลง ง. ยีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตไม่เปลี่ยนแปลง ครูแป๋ว 8. ถ้าหากหญิงคนหนึ่งเป็น Down syndrome ซึ่งสามารถสร้างไข่ได้ สภาพของโครโมโซมในไข่ เป็นเช่นใด ก. อาจมีจานวนโครโมโซมปกติ ข. มีจานวนโครโมโซมน้อยกว่าปกติ By ค. มีจานวนโครโมโซมมากกว่าปกติเสมอ ง. แขนของโครโมโซมแท่งหนึ่งสั้นกว่าปกติ 9. กาหนดสาย DNA มีลาดับเบสดังนี้ ชีววิทยาน่ารู้ 3′ TACGGGCTAATT 5′ เบส T ตัวแรกที่นับจากปลาย 5' เกิดแทนที่เบสจาก T เป็น G ผลจะเกิดอะไรขึ้น ก. ได้โปรตีนสั้นลง ข. ได้โปรตีนยาวขึ้น
  • 16. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ยีนและโครโมโซม 16 ค. ได้กรดอะมิโนผิดไปจากเดิม ง. ไม่มีการนากรดอะมิโนมา 10. เด็กที่มีลักษณะเฉพาะคือ เสียงร้องเหมือนแมวในขณะโกรธ ความผิดปกตินี้เกิดจากข้อใด และ พบในเพศใด ก. โครโมโซมคู่ที่ 5 เกินมา พบได้ทั้งผู้หญิงและชาย ข. โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน พบได้เฉพาะผู้ชาย ค. โครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน พบได้ทั้งสองเพศ ง. โครโมโซมคู่ที่ 5 เกิดการสลับตาแหน่งยีน พบได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย 11. จากการเติมเบส T ในสาย DNA ตามปกติ DNA TACTCCCGAACTGATAC อยากทราบว่า สายเพปไทด์ที่ได้จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ก. สั้นลง ข. เท่าเดิม ค. ยาวขึ้น ง. ไม่สร้างเพปไทด์ ถ้านักเรียนไม่เข้าใจ ให้กลับไปทบทวนเพิ่มเติมนะครับ และถ้าสงสัยฝากคาถามไว้ที่ Blog ได้เลยครับที่ Biologynsp.wordpress.com ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้