SlideShare a Scribd company logo
• ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จันอนุสรณ์)
                                       ่
ทาไมสิ่งมีชีวิตต้องรักษาดุลยภาพ

การรักษาดุลยภาพของร่างกาย(Homeostasis) เป็น
คุณสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต ดูแลโดยระบบต่างๆ ได้แก่
ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ
น้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน

                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบหายใจ
Respiration
          ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์นา
                         ้

สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้าได้รับแก๊สออกซิเจนซึ่งละลายอยู่ในน้าแพร่เข้าสูอวัยวะ
                                                                          ่
หายใจโดยตรง

ในน้ามีแก๊สออกซิเจนร้อยละ 0.446 เท่านั้น น้อยกว่าในอากาศมาก ใน
อากาศมีออกซิเจนมากถึงร้อยละ 21 นอกจากนี้การแพร่ของออกซิเจนในน้า
ก็ช้ากว่าในอากาศมาก

ดังนั้นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้า จึงต้องให้น้าไหลผ่านบริเวณทีมีการแลกเปลี่ยน
                                                          ่
แก๊สอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ได้แก๊สมากและเพียงพอต่อการดารงชีวิต
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเซลล์จะสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นน้าอยู่
ตลอดเวลาการแลกเปลี่ยนแก๊สจึงแลกเปลี่ยนโดยตรงกับ
สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยกระบวนการแพร่(diffusion)




    พารามีเซียม                                  อะมีบา
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
สัตว์หลายเซลล์
 เมื่อสิ่งมีชีวิตมีจานวนเซลล์มากขึ้นพร้อมกับมีขนาดใหญ่ขึ้น
  การแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีโครงสร้างซับซ้อนมากขึ้น ใน
  ฟองน้า การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดกับเซลล์แต่ละเซลล์ที่น้า
                     ผ่านเข้าไปถึงทางช่องน้าเข้า
ฟองน้า มีรูพรุน คือ ออสเทีย(ostia) รอบตัว น้าจะไหลเข้าทาง
รูพรุนนี้ และไหลออกทางรู ออสคิวลัม (osculum) ในขณะเกิดการ
ไหลเวียนของน้าผ่านเซลล์และผ่านลาตัวฟองน้า จะเกิดการแลกเปลี่ยน
แก๊สโดยการแพร่
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะภายนอก-ภายในของฟองน้า
                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
แสดงทางน้าไหลภายใน
                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ซีเลนเตอเรต เช่น ไฮดรายังคงใช้ช่องแกสโตรวาสคูลาร์เป็นทางผ่าน
ของน้า เป็นตัวนาออกซิเจนและรับคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์
ออกมา




                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
การใช้ผวหนังหรือผิวลาตัว
            ิ
    หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย
ใช้การแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านผิวหนัง
แก๊สจะผ่านไปทีละเซลล์
เช่นเดียวกับอะมีบา ผนังลาตัว
ของพลานาเรียบางและเปียกชื้นอยู่
เสมอ โครงสร้างของร่างกาย
พลานาเรียมีลาตัวแบน จึงมีพื้นที่
ผิวมากทาให้มีประสิทธิภาพในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สได้ดี
                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
หากเปรียบเทียบกับ ไส้เดือนดิน ซึ่ง
มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม
ทางผิวหนัง ซึ่งเปียกชั้นเช่นเดียวกับ
พลานาเรียแล้ว จะเห็นได้ว่าพื้นที่ผิว
ของไส้เดือนดินน้อยกว่าพลานาเรีย
หากเปรียบเทียบ ในปริมาตรเท่า ๆ
กัน เพราะ พลานาเรียตัวแบนกว่า
นอกจากนั้นแล้วในสภาพความเป็น
จริงไส้เดือนดินมีขนาดใหญ่กว่า
พลานาเรีย
                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
การแลกเปลี่ยนแก๊สของเซลล์ในร่างกายไส้เดือนดินนั้น เซลล์มิได้
แลกเปลี่ยนกับสภาพแวดล้อมโดยตรง แต่เป็นการแลกเปลี่ยนกับ
เลือด จึงเป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ซับซ้อนขึ้น เพราะครั้งแรกเลือด
แลกเปลี่ยนแก๊สกับบรรยากาศ และอีกครั้งหนึ่งเลือดแลกเปลี่ยน
แก๊สกับเซลล์

แก๊สที่แพร่ผ่านผิวหนังไส้เดือนดินเข้าไปจะเข้าสู่หลอดเลือด
หมุนเวียนไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อไป ในขณะเดียวกัน
คาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายทีปล่อยออกมา
                                                  ่
จากเลือดจะแพร่ออกทางผิวหนังของไส้เดือนดิน

                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
  คาถาม
- การแลกเปลียนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย และไส้เดือนดิน
            ่
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ
 ฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย จะใช้เซลล์ที่ผวหนังที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม
                                           ิ
 แลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม และมีการแพร่ของแก๊สระหว่างเซลล์กับ
 เซลล์ ส่วนไส้เดือนดินมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางผิวหนังคล้ายกับ
 พลานาเรีย แต่ไส้เดือนดินมีร่างกายขนาดใหญ่การแลกเปลี่ยนแก๊สใช้
 วิธีการแพร่อย่างเดียวยังไม่เพียงพอและรวดเร็วจึงต้องมีระบบหมุนเวียนเลือด
 ช่วยในการลาเลียงแก๊สไปยัง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทาให้การ
 แลกเปลี่ยนแก๊สมีประสิทธิภาพดีขึ้น ซึ่งเหมาะสมกับโครงสร้างของร่างกาย
คาถาม

    - โครงสร้างของร่างกายที่ทาหน้าที่แลกเปลียนแก๊สจะต้องมี
                                            ่
ลักษณะสาคัญอย่างไร
ตอบ
      มีพื้นที่ผิวมากและบางพอที่จะแลกเปลี่ยนแก๊สได้อย่างมี
      ประสิทธิภาพ มีการลาเลียงแก๊สไปยังบริเวณอื่นๆ ได้อย่าง
      รวดเร็ว มีการป้องกันอันตรายให้กับโครงสร้างที่ใช้
      แลกเปลี่ยนแก๊สและโครงสร้างในการแลกเปลี่ยนแก๊สต้องชุ่ม
      ชื้นอยู่เสมอ
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
ท่อลม ( Trachea )
     ในสัตว์ชั้นสูงขึ้นมา ได้แก่ พวกอาร์โทรพอด เช่น แมลง
บริเวณท้องจะพบว่ามีรูเล็ก ๆ เรียกว่า ช่องหายใจ หรือ สไปเรเคิล
(Spiracle) อยู่ที่ผนังลาตัว ตามปกติมี 10 คู่ คือ ปล้องอก 2 คู่
และปล้องท้อง 8 คู่ ถัดจากรูเปิดสไปเรเคิลเข้าไปในลาตัวจะเป็น
ท่อลม ( trachea ) เป็นหลอดใสๆ เล็กๆ ยืดหดได้คล้ายสปริง
เมื่ออากาศเข้าไปตามท่อลมแล้วจะผ่านไปตามท่อลมที่แตกแขนงเป็น
ท่อลมฝอย ( tracheole ) จนถึงท่อที่เล็กที่สุดมีผนังบางมากที่
สัมผัสกับเซลล์ร่างกาย ปลายท่อที่เล็กที่สุดมีของเหลวอาบอยู่
ออกซิเจนจากท่อลมจะละลายในของเหลวและแพร่เข้าสู่เนื้อเยื่อ
ใกล้เคียง
                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
แสดงท่อลมของแมลง

                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
เนื่องจากระบบลาเลียงในแมลงเป็นระบบเลือด
เปิด และมีสารที่รับออกซิเจนเป็นฮีโมไซยานิน ระบบ
เลือด หรือเลือด หรือหลอดเลือดของแมลงเกือบไม่
จาเป็นที่จะต้องรับออกซิเจนไปส่งที่เซลล์เพราะระบบ
ท่อลมของแมลงนาอากาศส่งไปถึงเนื้อเยื่อได้รวมทั้ง
การเคลื่อนไหวของลาตัวแมลง ทาให้ท่อลมยืดหด
ช่วยให้อากาศไหลเวียนเข้าออกจากระบบท่อลมได้ดี


                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
แสดงระบบท่อลมในแมลง
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ผนังของท่อลมมีความแข็งแรง ประกอบด้วยคิวติเคิล
( Cuticle ) จึงทาให้คงรูปอยู่ได้
แมลงบางชนิดมีถุงลม ( Air sac ) ขนาดใหญ่ช่วยเก็บ
อากาศไว้หายใจเพื่อช่วยอัดอากาศให้ผ่านเข้าออกได้เร็วขึ้น
แมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนใช้การยืดหดของกล้ามเนื้อหน้า
ท้องและอก เพื่อช่วยดันอากาศให้เข้าออกจากตัวทางช่อง
หายใจ ดังนั้นถ้าแมลงตัวโตมากๆ จะไม่มีความดัน
บรรยากาศเพียงพอที่จะส่งแก๊สเข้าไปสูปลายสุดของท่อลม
                                    ่
(Tracheole ) ได้ เป็นสาเหตุทาให้แมลงมีขนาดจากัด

                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
บุคลัง ( Book lung )




    มีลักษณะเป็นห้องเล็ก ๆ มีทางติดต่อกับอากาศภายนอกภายในห้องเล็กๆ
มีแผ่นเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนเป็นปึก ออกซิเจนจากอากาศจะเข้าสู่ของเหลวที่
หมุนเวียนอยู่ในบุคลัง ของเหลวนาออกซิเจนไปให้เนื้อเยื่อร่างกายและดึง
คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา บุคลัง พบในแมงมุมบางชนิดเท่านั้น
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม
     - เพราะเหตุใด แมลงจึงไม่จาเป็นต้องมีระบบหมุนเวียน
เลือดเป็นตัวนาแก๊สออกซิเจนไปใช้เซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย

ตอบ

  แมลงมีระบบท่อลมซึ่งแตกแขนงไปทั่วร่างกาย ระบบท่อลมนี้
 สามารถนาแก๊สไปใช้เซลล์ต่างๆ ของร่างกายได้โดยตรง

                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
เหงือก ( Gill )
        ในสัตว์น้าหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลา
ล้วนมีเหงือกเป็นอวัยวะ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สกับน้า
โดยมีพื้นที่สัมผัสกับน้ามากมาย และในเหงือกของสัตว์ชั้นสูง
จะมีหลอดเลือดฝอยมาเลี้ยงเหงือก อาจมีผิวบาง ๆ หรือมี
เซลล์เพียงแถวเดียวกั้นระหว่างเลือดกับน้า หรือ มีผนัง
หลอดเลือดบาง ๆ เพื่อสะดวกในการรับออกซิเจนจากน้า
และคายคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด


                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะเหงือกของปลา
         ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะเหงือกของกุ้ง
                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม
         - อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ามีความเหมาะสมต่อการ
     ดารงชีวิตอย่างไร

                  ในน้ามีแก๊สออกซิเจนที่ละลายอยู่ในปริมาณน้อยมาก
                  และมีการแพร่ช้ามากเมื่อเทียบกับในอากาศ สัตว์ที่
        ตอบ       อยู่ในน้า เช่น ปลาและกุ้ง จึงพัฒนาโครงสร้างที่
                  ใช้แลกเปลี่ยนแก๊ส คือ เหงือกให้มีลักษณะเป็นซี่ๆ
                  เรียงกันเป็นแผง เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวที่สัมผัสกับ
                  ออกซิเจนในน้า
ฉวีวรรณ นาคบุตร
นกเป็นสัตว์ทมี Metabolism สูง
                                  ี่
                    ใช้พลังงานมาก ดังนั้นระบบ
                    หายใจของนกต้องดี และมี
                    ประสิทธิภาพสูงมากด้วย ปอดนก
                    มีขนาดเล็ก แต่นกมีถุงลม(airsac)
                    ซึ่งเจริญดีมาก แยกออกจากปอด
หลอดลมคอ   หลอดลม   เป็นคู่ๆ

                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ถุงลมส่วนหน้า                               อากาศออก
                                     อากาศเข้า
  ถุงลมส่วนหลัง
                                   หลอดลม
                                                              ปอด
                             ปอด


เมื่อหายใจเข้าถุงลมจะพองออก        เมื่อหายใจออกถุงลมจะยุบลงปอดจะ
อากาศจะผ่านเข้าสู่หลอดลม           พอง อากาศจากปอดและจากถุงลมส่วน
ผ่านปอด เข้าสูถุงลมที่อยู่ส่วน
                ่                  หน้าถูกขับออกจากตัวนก อากาศทีผ่าน
                                                                 ่
หลัง อากาศที่ใช้แล้ว ออกจาก        ปอดทั้งหายใจเข้าและหายใจออกจะเป็น
ปอดเข้าสู่ถุงลมส่วนหน้า            อากาศที่มีแก๊ส o2 สูงทั้งสิ้น
                                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
นกมีปอดและถุงลมอีก 9 อัน(ในนกส่วนใหญ่) ซึ่งช่วยให้การ
ไหลของอากาศมีปริมาณมากขึ้นและมีปริมาณออกซิเจนสูง ซึ่งการ
ไหลของอากาศในปอดจะเป็นไปในทิศทางเดียว (unidirection)
    ซึ่งต่างจากในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีการไหลเวียนของอากาศ
ภายในปอดแบบ 2 ทิศทาง ทาให้อากาศมีทั้งอากาศใหม่และเก่า
รวมกัน และมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่า

                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถาม
      - นักเรียนคิดว่าถุงลมของนกทาหน้าที่แลกเปลี่ยน
 แก๊สได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

        ตอบ     ถุงลมของนกไม่ได้ทาหน้าที่แลกเปลียนแก๊ส
                                                ่
                เนื่องจากผนังของถุงลมไม่บาง ถึงแม้วาจะมี
                                                   ่
                หลอดเลือดฝอยมาล้อมรอบก็ตาม แต่มีหน้าที่
                สารองอากาศเพื่อส่งให้ปอดแลกเปลี่ยนแก๊สให้
                นกใช้ในขณะบิน

                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
สวัสดี


         ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
Aey Usanee
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
Patzuri Orz
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Viewers also liked

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3krupornpana55
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
Wan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Wan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 

Similar to ระบบหายใจ1

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Nan Nam
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์Amporn Ponlana
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
CUPress
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
Namthip Theangtrong
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Ta Lattapol
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 

Similar to ระบบหายใจ1 (20)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
G2
G2G2
G2
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
P (1)
P (1)P (1)
P (1)
 

More from Wan Ngamwongwan

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
Wan Ngamwongwan
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ระบบหายใจ1

  • 1. • ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จันอนุสรณ์) ่
  • 2. ทาไมสิ่งมีชีวิตต้องรักษาดุลยภาพ การรักษาดุลยภาพของร่างกาย(Homeostasis) เป็น คุณสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต ดูแลโดยระบบต่างๆ ได้แก่ ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ น้าเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. ระบบหายใจ Respiration ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์นา ้ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้าได้รับแก๊สออกซิเจนซึ่งละลายอยู่ในน้าแพร่เข้าสูอวัยวะ ่ หายใจโดยตรง ในน้ามีแก๊สออกซิเจนร้อยละ 0.446 เท่านั้น น้อยกว่าในอากาศมาก ใน อากาศมีออกซิเจนมากถึงร้อยละ 21 นอกจากนี้การแพร่ของออกซิเจนในน้า ก็ช้ากว่าในอากาศมาก ดังนั้นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้า จึงต้องให้น้าไหลผ่านบริเวณทีมีการแลกเปลี่ยน ่ แก๊สอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ได้แก๊สมากและเพียงพอต่อการดารงชีวิต
  • 7. สัตว์หลายเซลล์ เมื่อสิ่งมีชีวิตมีจานวนเซลล์มากขึ้นพร้อมกับมีขนาดใหญ่ขึ้น การแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีโครงสร้างซับซ้อนมากขึ้น ใน ฟองน้า การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดกับเซลล์แต่ละเซลล์ที่น้า ผ่านเข้าไปถึงทางช่องน้าเข้า ฟองน้า มีรูพรุน คือ ออสเทีย(ostia) รอบตัว น้าจะไหลเข้าทาง รูพรุนนี้ และไหลออกทางรู ออสคิวลัม (osculum) ในขณะเกิดการ ไหลเวียนของน้าผ่านเซลล์และผ่านลาตัวฟองน้า จะเกิดการแลกเปลี่ยน แก๊สโดยการแพร่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 9.
  • 10. แสดงทางน้าไหลภายใน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. ซีเลนเตอเรต เช่น ไฮดรายังคงใช้ช่องแกสโตรวาสคูลาร์เป็นทางผ่าน ของน้า เป็นตัวนาออกซิเจนและรับคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ ออกมา ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. การใช้ผวหนังหรือผิวลาตัว ิ หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย ใช้การแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านผิวหนัง แก๊สจะผ่านไปทีละเซลล์ เช่นเดียวกับอะมีบา ผนังลาตัว ของพลานาเรียบางและเปียกชื้นอยู่ เสมอ โครงสร้างของร่างกาย พลานาเรียมีลาตัวแบน จึงมีพื้นที่ ผิวมากทาให้มีประสิทธิภาพในการ แลกเปลี่ยนแก๊สได้ดี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. หากเปรียบเทียบกับ ไส้เดือนดิน ซึ่ง มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม ทางผิวหนัง ซึ่งเปียกชั้นเช่นเดียวกับ พลานาเรียแล้ว จะเห็นได้ว่าพื้นที่ผิว ของไส้เดือนดินน้อยกว่าพลานาเรีย หากเปรียบเทียบ ในปริมาตรเท่า ๆ กัน เพราะ พลานาเรียตัวแบนกว่า นอกจากนั้นแล้วในสภาพความเป็น จริงไส้เดือนดินมีขนาดใหญ่กว่า พลานาเรีย ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สของเซลล์ในร่างกายไส้เดือนดินนั้น เซลล์มิได้ แลกเปลี่ยนกับสภาพแวดล้อมโดยตรง แต่เป็นการแลกเปลี่ยนกับ เลือด จึงเป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ซับซ้อนขึ้น เพราะครั้งแรกเลือด แลกเปลี่ยนแก๊สกับบรรยากาศ และอีกครั้งหนึ่งเลือดแลกเปลี่ยน แก๊สกับเซลล์ แก๊สที่แพร่ผ่านผิวหนังไส้เดือนดินเข้าไปจะเข้าสู่หลอดเลือด หมุนเวียนไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต่อไป ในขณะเดียวกัน คาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายทีปล่อยออกมา ่ จากเลือดจะแพร่ออกทางผิวหนังของไส้เดือนดิน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. ฉวีวรรณ นาคบุตร คาถาม - การแลกเปลียนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย และไส้เดือนดิน ่ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย จะใช้เซลล์ที่ผวหนังที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม ิ แลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อม และมีการแพร่ของแก๊สระหว่างเซลล์กับ เซลล์ ส่วนไส้เดือนดินมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางผิวหนังคล้ายกับ พลานาเรีย แต่ไส้เดือนดินมีร่างกายขนาดใหญ่การแลกเปลี่ยนแก๊สใช้ วิธีการแพร่อย่างเดียวยังไม่เพียงพอและรวดเร็วจึงต้องมีระบบหมุนเวียนเลือด ช่วยในการลาเลียงแก๊สไปยัง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทาให้การ แลกเปลี่ยนแก๊สมีประสิทธิภาพดีขึ้น ซึ่งเหมาะสมกับโครงสร้างของร่างกาย
  • 17. คาถาม - โครงสร้างของร่างกายที่ทาหน้าที่แลกเปลียนแก๊สจะต้องมี ่ ลักษณะสาคัญอย่างไร ตอบ มีพื้นที่ผิวมากและบางพอที่จะแลกเปลี่ยนแก๊สได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีการลาเลียงแก๊สไปยังบริเวณอื่นๆ ได้อย่าง รวดเร็ว มีการป้องกันอันตรายให้กับโครงสร้างที่ใช้ แลกเปลี่ยนแก๊สและโครงสร้างในการแลกเปลี่ยนแก๊สต้องชุ่ม ชื้นอยู่เสมอ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 18. ท่อลม ( Trachea ) ในสัตว์ชั้นสูงขึ้นมา ได้แก่ พวกอาร์โทรพอด เช่น แมลง บริเวณท้องจะพบว่ามีรูเล็ก ๆ เรียกว่า ช่องหายใจ หรือ สไปเรเคิล (Spiracle) อยู่ที่ผนังลาตัว ตามปกติมี 10 คู่ คือ ปล้องอก 2 คู่ และปล้องท้อง 8 คู่ ถัดจากรูเปิดสไปเรเคิลเข้าไปในลาตัวจะเป็น ท่อลม ( trachea ) เป็นหลอดใสๆ เล็กๆ ยืดหดได้คล้ายสปริง เมื่ออากาศเข้าไปตามท่อลมแล้วจะผ่านไปตามท่อลมที่แตกแขนงเป็น ท่อลมฝอย ( tracheole ) จนถึงท่อที่เล็กที่สุดมีผนังบางมากที่ สัมผัสกับเซลล์ร่างกาย ปลายท่อที่เล็กที่สุดมีของเหลวอาบอยู่ ออกซิเจนจากท่อลมจะละลายในของเหลวและแพร่เข้าสู่เนื้อเยื่อ ใกล้เคียง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 19. แสดงท่อลมของแมลง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. เนื่องจากระบบลาเลียงในแมลงเป็นระบบเลือด เปิด และมีสารที่รับออกซิเจนเป็นฮีโมไซยานิน ระบบ เลือด หรือเลือด หรือหลอดเลือดของแมลงเกือบไม่ จาเป็นที่จะต้องรับออกซิเจนไปส่งที่เซลล์เพราะระบบ ท่อลมของแมลงนาอากาศส่งไปถึงเนื้อเยื่อได้รวมทั้ง การเคลื่อนไหวของลาตัวแมลง ทาให้ท่อลมยืดหด ช่วยให้อากาศไหลเวียนเข้าออกจากระบบท่อลมได้ดี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 22. ผนังของท่อลมมีความแข็งแรง ประกอบด้วยคิวติเคิล ( Cuticle ) จึงทาให้คงรูปอยู่ได้ แมลงบางชนิดมีถุงลม ( Air sac ) ขนาดใหญ่ช่วยเก็บ อากาศไว้หายใจเพื่อช่วยอัดอากาศให้ผ่านเข้าออกได้เร็วขึ้น แมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตนใช้การยืดหดของกล้ามเนื้อหน้า ท้องและอก เพื่อช่วยดันอากาศให้เข้าออกจากตัวทางช่อง หายใจ ดังนั้นถ้าแมลงตัวโตมากๆ จะไม่มีความดัน บรรยากาศเพียงพอที่จะส่งแก๊สเข้าไปสูปลายสุดของท่อลม ่ (Tracheole ) ได้ เป็นสาเหตุทาให้แมลงมีขนาดจากัด ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. บุคลัง ( Book lung ) มีลักษณะเป็นห้องเล็ก ๆ มีทางติดต่อกับอากาศภายนอกภายในห้องเล็กๆ มีแผ่นเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนเป็นปึก ออกซิเจนจากอากาศจะเข้าสู่ของเหลวที่ หมุนเวียนอยู่ในบุคลัง ของเหลวนาออกซิเจนไปให้เนื้อเยื่อร่างกายและดึง คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา บุคลัง พบในแมงมุมบางชนิดเท่านั้น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. คาถาม - เพราะเหตุใด แมลงจึงไม่จาเป็นต้องมีระบบหมุนเวียน เลือดเป็นตัวนาแก๊สออกซิเจนไปใช้เซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย ตอบ แมลงมีระบบท่อลมซึ่งแตกแขนงไปทั่วร่างกาย ระบบท่อลมนี้ สามารถนาแก๊สไปใช้เซลล์ต่างๆ ของร่างกายได้โดยตรง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 25. เหงือก ( Gill ) ในสัตว์น้าหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลา ล้วนมีเหงือกเป็นอวัยวะ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สกับน้า โดยมีพื้นที่สัมผัสกับน้ามากมาย และในเหงือกของสัตว์ชั้นสูง จะมีหลอดเลือดฝอยมาเลี้ยงเหงือก อาจมีผิวบาง ๆ หรือมี เซลล์เพียงแถวเดียวกั้นระหว่างเลือดกับน้า หรือ มีผนัง หลอดเลือดบาง ๆ เพื่อสะดวกในการรับออกซิเจนจากน้า และคายคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26. ลักษณะเหงือกของปลา ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. ลักษณะเหงือกของกุ้ง ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. คาถาม - อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ามีความเหมาะสมต่อการ ดารงชีวิตอย่างไร ในน้ามีแก๊สออกซิเจนที่ละลายอยู่ในปริมาณน้อยมาก และมีการแพร่ช้ามากเมื่อเทียบกับในอากาศ สัตว์ที่ ตอบ อยู่ในน้า เช่น ปลาและกุ้ง จึงพัฒนาโครงสร้างที่ ใช้แลกเปลี่ยนแก๊ส คือ เหงือกให้มีลักษณะเป็นซี่ๆ เรียงกันเป็นแผง เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวที่สัมผัสกับ ออกซิเจนในน้า ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. นกเป็นสัตว์ทมี Metabolism สูง ี่ ใช้พลังงานมาก ดังนั้นระบบ หายใจของนกต้องดี และมี ประสิทธิภาพสูงมากด้วย ปอดนก มีขนาดเล็ก แต่นกมีถุงลม(airsac) ซึ่งเจริญดีมาก แยกออกจากปอด หลอดลมคอ หลอดลม เป็นคู่ๆ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 30. ถุงลมส่วนหน้า อากาศออก อากาศเข้า ถุงลมส่วนหลัง หลอดลม ปอด ปอด เมื่อหายใจเข้าถุงลมจะพองออก เมื่อหายใจออกถุงลมจะยุบลงปอดจะ อากาศจะผ่านเข้าสู่หลอดลม พอง อากาศจากปอดและจากถุงลมส่วน ผ่านปอด เข้าสูถุงลมที่อยู่ส่วน ่ หน้าถูกขับออกจากตัวนก อากาศทีผ่าน ่ หลัง อากาศที่ใช้แล้ว ออกจาก ปอดทั้งหายใจเข้าและหายใจออกจะเป็น ปอดเข้าสู่ถุงลมส่วนหน้า อากาศที่มีแก๊ส o2 สูงทั้งสิ้น ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. นกมีปอดและถุงลมอีก 9 อัน(ในนกส่วนใหญ่) ซึ่งช่วยให้การ ไหลของอากาศมีปริมาณมากขึ้นและมีปริมาณออกซิเจนสูง ซึ่งการ ไหลของอากาศในปอดจะเป็นไปในทิศทางเดียว (unidirection) ซึ่งต่างจากในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีการไหลเวียนของอากาศ ภายในปอดแบบ 2 ทิศทาง ทาให้อากาศมีทั้งอากาศใหม่และเก่า รวมกัน และมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่า ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 32. คาถาม - นักเรียนคิดว่าถุงลมของนกทาหน้าที่แลกเปลี่ยน แก๊สได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ถุงลมของนกไม่ได้ทาหน้าที่แลกเปลียนแก๊ส ่ เนื่องจากผนังของถุงลมไม่บาง ถึงแม้วาจะมี ่ หลอดเลือดฝอยมาล้อมรอบก็ตาม แต่มีหน้าที่ สารองอากาศเพื่อส่งให้ปอดแลกเปลี่ยนแก๊สให้ นกใช้ในขณะบิน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 33. สวัสดี ฉวีวรรณ นาคบุตร