SlideShare a Scribd company logo
1 of 130
Download to read offline
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ทาไมสิ่งมีชีวิตต้องรักษาดุลยภาพ
 สัตว์ทุกชนิดจะต้องรักษาระดับของสารภายในร่างกายให้อยู่ใน
ระดับที่ปลอดภัย เรียกว่า การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
(Homeostasis)
 ซึ่งรวมถึงการควบคุมความต้องการสาร เช่น กลูโคส และออกซิเจนใน
เลือด
 การกาจัดของเสีย หรือการขับถ่าย (Excretion) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นม การกาจัดของเสียเกิดขึ้นที่ปอด (ซึ่งขับคาร์บอนไดออกไซด์) ผิวหนัง
(ซึ่งขับความร้อนส่วนเกินออก) ตับและไต ทั้งหมดนี้เรียกว่า อวัยวะ
ขับถ่าย (Excretory organs)
ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
เพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องหายใจ??
เพื่อนาออกซิเจนเข้าไปสลายอาหารเพื่อให้ได้
พลังงานออกมา
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิเซลล์เดี่ยวเซลล์จะสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นน้าอยู่
ตลอดเวลาการแลกเปลี่ยนก๊าซจึงแลกเปลี่ยนโดยตรงกับ
สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยกระบวนการแพร่
พารามีเซียม อะมีบา
 การเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีสารมากไปยังบริเวณที่มี
สารน้อย
การแพร่คืออะไร
การแลกเปลี่ยนก๊าซของสัตว์
 สัตว์บางชนิดจะมีการแลกเปลี่ยนก๊าซโดยตรงกับสิ่งแวดล้อม เช่น
ไฮดรา และ พลานาเรีย
พลานาเรียมีขนาดใหญ่ขึ้น มีจานวนเซลล์มากขึ้น แต่การ
แลกเปลี่ยน แก๊สยังใช้ผิวหนัง พลานาเรียมีการปรับ
โครงสร้างโดยลาตัวแบน เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการ
แลกเปลี่ยนแก๊ส และเนื้อเยื่อชั้นกลางของเซลล์จะเกาะกัน
หลวมๆ เพื่อให้การแพร่ของแก๊สผ่านเข้าสู่เนื้อเยื่อชั้นใน
ได้เร็วขึ้น

การแลกเปลี่ยนก๊าซของไส้เดือนดิน
 อาศัย 3 ส่วนสาคัญคือ
 ผิวหนัง เป็นบริเวณที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
โดยอาศัยกระบวนการแพร่
 เส้นเลือด ได้แก่
• เส้นเลือดขนาดใหญ่ด้านบน รับO2 จากผิวหนัง และกาจัด Co2 ออกทาง
ผิวหนัง
• เส้นเลือดใหญ่ด้านล่างนาเลือดมาเลี้ยงเซลล์ด้านล่างแล้วส่งเลือดที่มี Co2ไปยัง
เส้นเลือดด้านบนแล้วกาจัด Co2 ออกทางผิวหนัง
• เส้นเลือดฝอย กระจายไปทั่วเพื่อนาออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงทุกเซลล์และรับ CO2
จากเซลล์ลาเลียงไปรวมกันที่เส้นเลือดใหญ่ด้านบนแล้วกาจัดออก
 หัวใจเทียม สูบฉีดเลือดจากเส้นเลือดด้านบนมาที่เส้นเลือดด้านล่าง
O2
CO2
นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดผิวหนังของไส้เดือนดินจึง
สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้
 ผิวหนังของไส้เดือนดินจะบางและมีการขับสารเมือก
ออกมาเพื่อให้ผิวหนังชุ่มชื้น
ช่วยในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีระบบไหลเวียนเลือดช่วยใน
การลาเลียงแก๊ส
 ลักษณะโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 1. ผิวหนังบางและชุ่มชื้น
 2. พื้นที่ผิวเพียงพอ
 3. มีโครงสร้างในการลาเลียงแก๊ส
 4. มีโครงสร้างป้องกันอันตรายให้กับโครงสร้างที่ใช้
ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ปลิงทะเล
อวัยวะที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ยื่นเข้าไปในร่างกาย มี
ลักษณะเป็นท่อยาวแตกแขนงคล้ายกิ่งไม้มากมาย
ท่อเหล่านี้เปิดติดต่อกับช่องเปิดของลาตัวด้านท้ายสุด เรียกว่า
โคลเอกา (cloaca)
เมื่อกล้ามเนื้อโคลเอกาหดตัวน้าจะถูกฉีดเข้าไปตามท่อ เมื่อโคล
เอกาคลายตัวน้าจะถูกขับออกมา การแลกเปลี่ยนแก๊สจะเกิดขึ้น
ในขณะที่มีการเข้าออกของน้าจากท่อ สัตว์ที่มีเรสไพราทอรี ทรี

การแลกเปลี่ยนก๊าซของแมลง
 เนื่องจากแมลงมีโครงร่างแข็งภายนอกและผิวภายนอกค่อนข้างแห้ง
และแข็งจึงไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซที่ผิวหนังได้โดยโครงสร้างที่ใช้
ในการแลกเปลี่ยนจะอยู่ภายในร่างกาย
+++มาดูสิว่าทางเดินหายใจของแมลงมีอะไรบ้าง++++++
ทางเดินหายใจของแมลง
อากาศ
ช่องสไปราเคิล (Spiracle)
ท่อลม (Trachea)
ท่อลมฝอย(tracheole)
ซึ่งมีผนังบางจึงสามารถเกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซได้
กล้ามเนื้อ
ท่อลมฝอย
ถุงลม
ท่อลมรูหายใจ
ระบบท่อลมของแมลงเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน
แก๊ส ประกอบด้วย
รูหายใจ (spiracle) อากาศจะผ่านจากรูหายใจซึ่งอยู่ข้าง
ลาตัวเข้าสู่ท่อลม (trachea) ซึ่งเป็นท่อขนาดเล็กแตกแขนง
อยู่ภายในร่างกาย มีขนาดเล็กและผนังบางลงเรื่อยๆ เรียกว่า ท่อ
ลมฝอย (tracheole) โดยจะแทรกไปตามเซลล์ต่างๆ ทั่ว
ร่างกาย
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของแมลงที่บินได้ จะ
แตกต่างจากแมลงโดยทั่วไปอย่างไร
แมลงที่บินได้มีถุงลมเพื่อช่วยในการบิน ดังนี้
รูหายใจ ท่อลม ถุงลม (air sac)  ท่อลมฝอย
 เซลล์
แมลงที่บินไม่ได้
รูหายใจ (spiracle)  ท่อลม (trache) ท่อลม
ฝอย (trachole) เซลล์ (cell)

โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของแมลง จาเป็นต้อง
ใช้ระบบไหลเวียนเลือดในการลาเลียงแก๊สหรือไม่ อย่างไร
ไม่จาเป็นต้องใช้ระบบไหลเวียนเลือด เพราะเซลล์ได้รับแก๊ส
ออกซิเจนโดยตรงจากระบบท่อลม
แมงมุม
แมงมุมใช้ ปอดแผง(Book lung)
ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
บุ๊คลัง (book lung) เป็นโครงสร้างที่ใช้ในการแลก-
เปลี่ยนแก๊สที่พบในแมงมุมบางชนิดเท่านั้น
แมงมุมส่วนใหญ่จะใช้ท่อลมในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
บุ๊คลังมีลักษณะคล้ายเหงือกยื่นออกมาภายนอกร่างกาย ทา
ให้สูญเสียความชื้นได้ง่าย และต้องการของเหลวไหลเวียน
ในโครงสร้างนี้เพื่อลาเลียงแก๊สไปให้เนื้อเยื่อต่างๆ ทั่ว
ร่างกาย
ปลา
 เหงือก (gill) สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า เช่น หอย ปู กุ้ง ปลา จะมีเหงือก
เป็นโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 เส้นเหงือก (gill filament) มีลักษณะเป็นซี่เส้นเล็กๆ งอก
ออกมาจากกระดูกค้าเหงือก
 ช่องเหงือก (gill slit) คือ ช่องว่างระหว่างเส้นเหงือกแต่ละเส้น
เมื่อปลาฮุบน้า
 ส่วนที่เป็นกระดูกแก้มจะเปิดออกเพื่อให้น้าไหลผ่านเส้นเหงือก ซึ่งมี
ผนังบาง และมีหลอดเลือด ฝอยมาหล่อเลี้ยงมากมายเมื่อน้าไหลผ่านแก๊ส
ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้าจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอย และลาเลียงไป
ยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย
นก
ปอดของนกแตกต่างจากปอดของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
อย่างไร ลักษณะดังกล่าวเหมาะสมต่อการดารงชีวิต
อย่างไร

(ปอดของนกจะมีถุงลม (air sac) ซึ่งช่วยในการสารอง
อากาศในการบินทาให้อากาศบริสุทธิ์ผ่านปอดทั้งเข้าและออก
ทาให้ปอดแลกเปลี่ยนแก๊สได้ 2 ครั้ง ช่วยระบายความร้อน ช่วย
ในการบิน เพราะถุงลมจะแทรกตามอวัยวะต่างๆ ทาให้ตัวเบา
บินขึ้นสู่ที่สูงได้)
การแลกเปลี่ยนก๊าซของนก
ปอดของนกมีขนาดเล็กแต่นกมีถุงลมซึ่งเจริญดีมากโดยแยกออก
จากปอดเป็นคู่ๆ หลายคู่ ทั้งถุงลมด้านหน้า ถุงลมในช่องอกถุง
ลมในช่องท้องและในกระดูกในขณะหายใจเข้าอากาศจะผ่านเข้า
สู่หลอดลมผ่านปอดแล้วเข้าสู่ถุงลมที่อยู่ตอนท้ายส่วนอากาศที่
ใช้แล้วจะออกจากปอดเข้าสู่ถุงลมตอนหน้าอากาศจากปอดและ
อากาศจากถุงลมตอนหน้าถูกขับออกจากตัวนกทางลมหายใจ
ออก
ถุงลมของนกทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สได้หรือไม่
เพราะเหตุใด
 ไม่ได้ เพราะผนังหนาและมีหลอดเลือด
ฝอยมาหล่อเลี้ยงน้อย
การแลกเปลี่ยนแก๊สของกบ
กบ , คางคก มีเหงือกขณะ
เป็นตัวอ่อนว่ายอยู่ในน้้า มี
ลักษณะเป็นแขนงยื่นออกมา
ภายนอกร่างกาย พอ
เจริญเติบโตใช้ปอดและ
ผิวหนัง
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้้ำนม มีระบบ
หายใจดีมากโดย
ประกอบด้วยถุงลมเล็กๆ ที่
เรียกว่า อัลวีโอลัส
(alveolus) มีกล้ามเนื้อ
กระบังลมและกล้ามเนื้อ
กระดูกซี่โครงช่วยในการ
หายใจ ทาให้อากาศเข้าและ
ออกปอดได้เป็นอย่างดี ใน
ที่นี้จะใช้คนเป็นตัวแทน
การแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
ทางเดินอากาศของคน ประกอบด้วย
1. รูจมูก (Nostril)
2. ช่องจมูกหรือโพรงจมูก (nasal cavity)
3. คอหอย (pharynx)
4.กล่องเสียง(larynx)
5. หลอดลม (trachea)
6. หลอดลมคอหรือขั้วปอด (bronchus)
7.แขนงขั้วปอดหรือหลอดลมฝอย
(bronchiole)
8. ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveolus หรือ
air sac)
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด มีเส้น
เลือดฝอย
(capillaries)
ล้อมรอบ (ทาให้เกิดการ
แลกเปลี่ยน O2 และ
CO2 อย่างมี
ประสิทธิภาพ)
การลาเลียงแก๊สออกซิเจน
O2 เข้าไปในปอดเข้าสู่เส้นเลือดฝอยที่อยู่รอบ ๆ ถุงลม รวมกับ
hemoglobin ในเซลล์เม็ดเลือดแดงกลายเป็น
oxyhemoglobin แล้วลาเลียงไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ จากนั้น
O2 ก็จะแพร่จากเส้นเลือดฝอยให้แก่เนื้อเยื่อ และถูกลาเลียงต่อไปเพื่อรับ
O2 ที่ปอดใหม่
การลาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์
ที่เนื้อเยื่อ ในเซลล์เม็ดเลือดแดง
CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO3
-
ที่ปอด
กลไกการควบคุมการหายใจ
 กลไกการควบคุมการหายใจจะเกี่ยวข้องกับระบบประสาท
โดยมีการควบคุม 2 ส่วน คือ
 1. กำรควบคุมแบบอัตโนวัติ ซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถ
บังคับได้ โดยมีสมองส่วนพอนด์และเมดัลลา ออบลองกาตา
เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่
เกี่ยวข้องกับการหายใจทาให้การหายใจเข้าออก เกิดขึ้นได้
เป็นจังหวะสม่าเสมอทั้งในยามหลับและยามตื่น โดยไม่
จาเป็นต้องรอการสั่งการให้มีการหายใจ
กลไกการควบคุมการหายใจ
 2. การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ ซึ่งเป็นการ
หายใจที่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วนหน้าที่
เรียกว่า ซีรีบรัลคอร์เท็กซ์ ไฮโพทาลามัส และ
สมองส่วนหลังที่เรียกว่า ซีรีเบลลัม ซึ่งจะทาให้เรา
สามารถควบคุม บังคับ หรือปรับการหายใจให้
เหมาะสมกับพฤติกรรมต่างๆ ของร่างกาย เช่น
การพูด การร้องเพลง การเล่นเครื่องดนตรี
ประเภทเป่า การว่ายน้า การดาน้าหรือการกลั้น
หายใจได้
การหายใจเข้าออก
 กำรหำยใจเข้ำ (Inspiration)
 1.กะบังลมหดตัว เป็นการช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกใน
แนวดิ่ง
 2. กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น เป็นการช่วยเพิ่มปริมาตรของ
ช่องอกในแนวรัศมี
 กำรหำยใจออก (Expiration)
 1. กะบังลมคลายตัว กลับเข้าตาแหน่งเดิม
 2. กระดูกซี่โครงลดระดับต่าลง
 กล้ามเนื้อยึดกระดูกชี่โครงแถบในคลายตัว กล้ามเนื้อยึดกระดูก
ซี่โครงแถบนอกหดตัว เกิดการยกตัวของกระดูกอกและกระดูก
ซี่โครง
 กล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงแถบในหดตัว กล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครง
แถบนอกหดตัว กระดูกอกและกระดุกซี่โครงลดต่าลง
สรุปการแลกเปลี่ยนแก๊ส
คาสั่งให้นักเรียนสรุปเกี่ยวกับความผิดปกติของปอด
ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย (Excretion)
 การขับถ่ายช่วยรักษาปริมาณ ของเสียในร่างกายให้อยู่ในสภาวะ
สมดุล หากระบบขับถ่ายของร่างกายเสียสมดุลย์จะมีผลอย่างมาก
ต่อการทางานของร่างกาย
การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอาศัยอยู่ในน้าส่วนใหญ่ของเสียที่เกิดจากเมทาบอลิ
ซึมจะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อมได้
 แต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อยู่ในแหล่งน้าจืดซึ่งมีสภาพเป็นไฮโพโทนิก
(Hypotonic)น้าจะแพร่เข้าสู่เซลล์ ดังนั้นจึงมีออร์กาแนลล์ที่ช่วย
ในการรักษาสมดุลของน้า คือ คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ซึ่งทาหน้าที่
กาจัดน้าส่วนเกินออกนอกเซลล์โดยขอเสียก็จะปนออกมากับน้าด้วย
****ไฮโพโทนิก(Hypotonic)คืออะไร***
สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic)
 ความเข้มข้นน้อยกว่าเซลล์
ไฮเพอร์โทนิก(Hypertonic)
 สารละลายมีความเข้มข้นมากกว่าเซลล์
ไอโซโทนิก(Isotonic)
 มีความเข้มข้นเท่าเซลล์
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล
การขับถ่ายของสัตว์
การกาจัดของเสียของไฮดรา, ฟองน้า
 ฟองน้าและไฮดรา แต่ละเซลล์สามารถสัมผัสกับน้าได้โดยตรง ของ
พวกก๊าซ และ แอมโมเนีย จึงถูกขับออกโดยการแพร่ออกสู่
สิ่งแวดล้อม
การขับถ่ายของหนอนตัวแบน
 ได้แก่ พลานาเรีย โดยใช้เฟลมเซลล์ (Flame cell) ซึ่งอยู่2ด้าน
ของร่างกาย มีท่อต่อกับผนังของลาตัว
การขับถ่ายของไส้เดือนดิน
มีอวัยวะขับถ่ายของเสียเรียกว่า เนฟริเดียม (
Nephridium) ซึ่งมีปล้องละ 1 คู่
ภาพที่ 5.7 แสดงลักษณะโครงสร้างเนฟริเดียมของไส้เดือนดิน
เนโฟรสโตม
เนโฟรสโตม (Nephrostome)
 ปลายหนึ่งรับของเหลวทางช่องภายในลาตัว ส่วนอีกปลายหนึ่งเปิด
ออก อยู่ภายนอกทางผิวหนัง ทาหน้าที่ขับของเสียพวกแอมโมเนีย
และยูเรีย ส่วนน้าและแร่ธาตุที่จาเป็นจะถูดกดูดกลับเข้าสู่กระแส
เลือด
**ดังนั้นเนฟริเดรียม จึงทาหน้าที่กรองและดูดกลับสาร***
แมลง
 อวัยวะขับถ่ายของแมลง คือ ท่อมัลพิเกียน (Malpighian
tubule)
 ท่อมัลพิเกียนจะล่องลอยอยู่ในของเหลวในช่องภายในลาตัวของ
เสียจะลาเลียงเข้าสู่ท่อมัลพิเกียนแล้วกาจัดออกทางทวารหนัก
ภาพที่ 5.8 แสดงตาแหน่งและกระบวนการขับถ่ายสารของท่อมัลพิเกียน
กุ้ง
 อวัยวะขับถ่าย เรียกว่า ต่อมแอนเทนนัล (Antennal gland)
ต่อมเขียว( Green gland )
ภาพที่ 5.9 แสดงต่อมแอนเทนนัล (Antennal gland)
หรือต่อมเขียว ( Green gland ) ของกุ้ง
Antennal gland
หน้าที่กรองของเสียสารประกอบพวกไนโตรเจน โดย
ของเหลวจากฮีโมลิมฟ์ถูกกรองเข้าสู่ถุงในช่องลาตัว
(Coelomic sac) ของเสียผ่านไปตามท่อ ตอน
ปลายของท่อพองออกเป็นถุง (Bladder)เพื่อพัก
ของเหลวก่อนปล่อยออกนอกร่างกายทางรูขับถ่าย
(Excretory pore)
ปลา
 มีอวัยวะขับถ่ายประกอบด้วย ไต 1 คู่ อยู่ภายในช่องท้องติดกับ
กระดูกสันหลัง ไตทาหน้าที่กาจัด ของเสียยูเรียและของเสียอื่น ๆ
ออกจากเลือด ของเสียจะผ่านท่อไต (Ureter) ไปยังกระเพาะ
ปัสสาวะ (Uninary bladder)และเปิดออกทาง
Urogenital opening
ไตปลา
กบ
 อวัยวะขับถ่ายประกอบด้วย ไต 1 คู่ ไตแต่ละข้างจะมีท่อไต
(Urinary duct หรือ Ureter) นาน้าปัสสาวะไปเปิดเข้าโคล
เอกา (Cloaca)ทางด้านหลัง ทางด้านท้องของโคลเอกามีถุง
ผนังบางปลายหยักติดอยู่ คือ กระเพาะปัสสาวะ (Urinary
bladder) ของเสียที่เข้าสู่โคลเอกาจะถูกขับออกทันทีหรือนามา
เก็บที่กระเพาะปัสสาวะ
ภาพที่ 5.11 แสดงโครงสร้างภายในของกบ
สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ปีก
ภาพที่ 5.12 แสดงโครงสร้างภายในและเอ็มบริโอของไก่
ของสัตว์เลื้อยคลานและไก่
Kidney
Kidney
ระบบขับถ่ายของคน
ของเสียในร่างกายมีอะไรบ้าง
ของเสียในรูปแก๊ส คือ ลมหายใจ
ของเสียในรูปของแข็ง คือ อุจจาระ
ของเหลว คือ เหงื่อและปัสสาวะ
การขับถ่ายของเสียทางปอด
โดย CO2 ในเส้นเลือดจะแพร่เข้าสู่ปอด บริเวณถุงลม จากนั้นจะ
ถูกปลดปล่อยออกสู่ภายนอกโดยอาศัยการหายใจออก
การขับถ่ายของเสียทางผิวหนัง
 ในผิวหนังของคนเราสามารถขับถ่ายของเสียออกจาก
ร่างกายทางรูขุมขน ซึ่งสิ่งที่ถูกขับออกมาคือ เหงื่อโดยเหงื่อ
ที่ถูกขับออกมาทางต่อมเหงื่อ
ในเหงื่อประกอบด้วย
น้าประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์
สารอื่น ๆ อีก 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นพวก
 เกลือโซเดียมคลอไรด์
 สารอินทรีย์ พวกยูเรีย และมีน้าตาล แอมโมเนีย กรดแลคตริก
และกรดอะมิโนอีกเล็กน้อย
ประโยชน์ของการระเหยของเหงื่อ
เป็นการปรับระดับอุณหภูมิของร่างกาย โดยระบายความ
ร้อนไปกับเหงื่อที่ระเหย ปริมาณเหงื่อที่ถูกขับออกมาจะ
เกิดขึ้นได้ดีที่อุณหภูมิประมาณ 32 องศาเซลเซียส
การขับถ่ายผ่านลาไส้
โดยกากอาหารที่เคลื่อนเข้าสู่ลาไส้ใหญ่จะถูกดูดซึม น้า และ
วิตามิน ออกไปหากกากอาหารอยู่ในลาไส้นานอาจเป็น
สาเหตุของหลายโรค เช่น มะเร็ง ผิวหน้าไม่ผ่องใส และ เป็น
โรคริดสีดวงทวารหนักได้
การขับของเสียออกทางไต
 ไตของคนมี 1 คู่ อยู่ในช่องท้องสองข้างของกระดูกสันหลังบริเวณ
เอว ยาวประมาณ 10-13 เซนตริเมตร กว้าง 6 เซนตริเมตร และ
หนา 3 เซนตริเมตร ไตแต่ละข้างหนักประมาณ 150 กรัม
ต่อจากไตทั้งสองข้างมี
ไต (Kidney)
ท่อไต (ureter)
กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
โครงสร้างภายในของไต
 ถ้าผ่าตามยาวไตจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
 รีนัลแคปซูล (Renal capsule)
 เนื้อไต ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
• เนื้อไตชั้นนอก หรือรีนัลคอร์เทกซ์ (Renal Cortex)
• เนื้อไตชั้นใน หรือรีนัลเมดัลลา ( Renal medulla )
 กรวยไต (Renal pelvis)
รีนัลแคปซูล (Renal capsule)
 เป็นส่วนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยู่ด้านนอกสุดหุ้มรอบไต
เนื้อไต
 เนื้อไตชั้นนอก หรือรีนัลคอร์เทกซ์ (Renal Cortex)
 เนื้อไตชั้นใน หรือรีนัลเมดัลลา ( Renal medulla )
เนื้อไตชั้นนอก
หรือรีนัลคอร์เทกซ์ (Renal Cortex)
 ลักษณะ:: มีสีแดง ลักษณะเป็นจุดๆ จุดเหล่านี้คืออะไร???
 เรียกว่า โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
 ถุงโบว์แมนส์แคบซูล (Bowman's Capsule)
 ท่อหน่วยไตส่วนต้น ( Proximal tubule)
 ท่อหน่วยไตส่วนปลาย(Distal tubule)
เนื้อไตชั้นใน
หรือรีนัลเมดัลลา ( Renal medulla )
 ลักษณะ :: เป็นชั้นที่มีสีจางกว่าเนื้อไตชั้นนอก มีลักษณะเป็นเส้น ๆ
หรือหลอดเล็ก ๆ รวมกันเป็นกลุ่ม ๆ คล้ายสามเหลี่ยมคล้ายพีระมิด
เรียกว่า รีนัลพีระมิด (Renal pyramid) ซึ่งเกิดจาก
 ท่อรวม (Collecting tubule)
กรวยไต (Renal pelvis)
 ทาหน้าที่รองรับน้าปัสสาวะที่มาจากแคลิกซ์ และส่งต่อไปสู่ท่อไต
(Ureter) นาเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะและนาน้าปัสสาวะออกทาง
ท่อปัสสวะ
หน่วยไต (nephron)คืออะไร
 คือ หน่วยย่อยของไตที่ทาหน้าที่ในการสร้างน้าปัสสาวะ พบทั้งชั้น
คอร์เทกซ์และเมดัลลา
ไตแต่ละข้างจะประกอบด้วยหน่วยไต หรือเนฟรอน
(Nephron) ประมาณ 1 ล้านหน่วย เป็นหน่วยย่อยที่
ทาหน้าที่สร้างน้าปัสสาวะ (Functional unit) ของ
ไต
ส่วนประกอบของหน่วยไต
 ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆคือ
 รีนัลคอร์พัสเคิล (Renal corpuscle)
 ส่วนของท่อหน่วยไต (Renal tubule)
1. รีนัลคอร์พัสเคิล (Renal corpuscle)
เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกรอง ประกอบด้วย
 โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
 โบว์แมนส์แคปซูล (Bowman’s capsule)
โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
ลักษณะ และ หน้าที่
 เป็นกลุ่มหลอดเลือดฝอยที่ขดรวมกันอยู่ใน โบว์แมนส์แคปซูล
 ทาหน้าที่ :: กรองน้าและสารบางชนิดออกจากพลาสมาให้เข้ามาใน
ท่อหน่วยไต
โบว์แมนส์แคปซูล
(Bowman’s capsule)
ลักษณะและหน้าที่
 มีลักษณะ :: คล้ายถ้วยมีผนังบางๆ2 ชั้น ภายในมีกระจุกเส้นเลือด
ฝอยโกลเมอรูลัส
 หน้าที่ :: เป็นทางผ่านของของเหลวที่กรองได้จากโกลเมอรูลัสเพื่อ
เข้าสู่ท่อหน่วยไต
2.ส่วนของท่อหน่วยไต
ท่อหน่วยไตประกอบด้วย
 ท่อส่วนต้น (Proximal tubule)
 ท่อหน่วยไตภาพตัวยู หรือห่วงเฮนเล (Henle’s Loop)
 ท่อขดส่วนปลาย (Distal tubule)
 ท่อรวม (Collecting tubule)
หน้าที่ของหน่วยไต
1. กรองสารที่โกลเมอรูลัส
2. ดูดกลับสารที่ท่อหน่วยไต
3. การหลั่งสารโดยท่อหน่วยไต
**หน่วยไตทาหน้าที่ดูดกลับสารที่จาเป็นกลับคืนเข้าสู่กระแสเลือด***
การกรองสารที่โกลเมอรูลัส
 การกรองอาศัยแรงดันของของเหลวในเส้นเลือดฝอยโกลเมอรูลัส
เส้นเลือดที่นาเลือดเข้าสู่โกลเมอรูลัส
 เส้นเลือดที่นาเลือดเข้าไต คือ เส้นเลือดรีนัลอาร์เตอรี(Renal artery)
 เส้นเลือดที่นาเลือดออกจากไต คือ เส้นเลือดรีนัลเวน(Renal vein)
เส้นเลือดรีนัลจะแตกแขนงเล็กลงเรื่อยๆจนเป็นเส้นเลือดฝอยที่ที่แยกเข้าสู่หน่วยไต
บริเวณโกลเมอรูลัส
- เส้นเลื่อดฝอยที่แยกเข้าสู่หน่วยไต เรียก Afferent arteriole
- เส้นเลือดฝอยที่ออกจากโกลเมอรูลัส เรียก Efferent arteriole
ของเหลวที่ได้จากการกรอง
 แรงดันในโกลเมอรูลัส จะทาให้ น้า และสารโมเลกุลเล็กกว่ารู
เช่น ยูเรีย โซเดียม กลูโคส ผ่านออกมาได้ แต่ไม่ยอมให้
สารขนาดใหญ่ผ่าน เช่น เซลล์เม็ดเลือด โปรตีน ไขมัน
สังเกตุว่าของเหลวที่กรองได้จากโกลเมอรูลัส
ยังมีสารที่จาเป็นกับร่างกายหรือไม่
ทาอย่างไรจึงจะไม่ให้สิ่งที่ร่างกายต้องการสูญเสีย
ไปกับการกาจัดของเสีย
การดูดสารกลับที่ท่อหน่วยไต
การดูดสารกลับที่ท่อหน่วยไตส่วนต้น
 มีการดูดกลับสารมากที่สุด
 การดูดกลับแบบใช้พลังงาน ได้แก่ กลูโคส โปรตีนโมเลกุลเล็ก
กรดอะมิโน วิตามิน Na+ K+
 การดูดแบบไม่ใช้พลังงาน ได้แก่ ยูเรีย น้า Cl- , HCo3
-
การดูดสารกลับที่ห่วงเฮนเล
 ห่วงเฮนเลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
 ท่อขาลง (Discending): มีการเคลื่อนย้ายสารออกจาก
ห่วงเฮนเลโดยกระบวนการออสโมซีส
 ท่อขาขึ้น (Ascending) : มีการดูด NaCl กลับทั้งแบบ
ใช้พลังงานและ แบบไม่ใช้พลังงาน ส่วนน้าเคลื่อนออกไม่ได้
เนื่องจากเยื่อไม่ยอมให้น้าผ่าน
การดูดสารกลับที่ท่อหน่วยไตส่วนปลาย
 แบบไม่ใช้พลังงาน ได้แก่ น้า
 แบบใช้พลังงาน ได้แก่ ดูดกลับโซเดียมคลอไรด์ และ โซเดียม
คาร์บอเนตไออน
** การดูดกลับน้าบริเวณนี้ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก
(ADH)
** การดูดกลับ Na+ ขึ้นอยู่กับฮอร์โมนอัลโดสเตอดรน
(Aldosterone)
การดูดสารกลับที่ท่อรวม
 แบบใช้พลังงาน :Na+
 แบบไม่ใช้พลังงาน : เช่นดูดกลับน้า
 ยอมให้ยูเรียแพร่ออก
**การดูดกลับน้าขึ้นกับอิทธิพลของฮอร์โมน ADH
การหลั่งสารโดยท่อหน่วยไต
ท่อขดส่วนต้น : มีการหลั่งสารเช่น H+, K+, NH3
+
ท่อขดส่วนท้าย : หลั่ง H+ , K+ ยาและสารพิษบางชนิด
ไตกับการรักษาสมดุลของน้าและสารต่างๆ
ไตควบคุมน้าในสภาพการขับปัสสาวะโดยมีกลไกดังนี้ **
แรงดันออสโมติกในเลือดสูงน้าใน
เลือดน้อย
สมองส่วนไฮโพทาลามัส
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย
หลั่ง ADH
ทาให้มีการดูดกลับน้าที่ท่อหน่วย
ไตเข้าสู่เส้นเลือด
กระหายน้า
ดื่มน้า
แรงดันออสโมติกในเลือดปกติน้า
ในเลือดสมดุล
การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุ
โดยอาศัยการทางานของฮอร์โมนแอลโดสเตอโรน
(Aldosterone) โดยทาหน้าที่
 ควบคุมสมดุลของโซเดียม โพแทสเซียม และฟอสฟอรัส กระตุ้น
การดูดกลับสารดังกล่าวเข้าสู่กระแสเลือด
 ช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด เบสในร่างกายโดยกระตุ้นการ
ขับ H+ และดูดกลับ HCO3
- จากท่อไตส่วนต้นและส่วน
ปลาย

More Related Content

What's hot

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 

Viewers also liked

ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
ZING Club Offer
ZING Club OfferZING Club Offer
ZING Club OfferUsha KL
 
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...Stanislav Ignatiev
 
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...Matt Wu
 
Cuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroCuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroMaria Moguel Herrera
 
Cuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroCuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroMaria Moguel Herrera
 
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆ
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆ
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆพัน พัน
 
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิต
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิตPrifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิต
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิตพัน พัน
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1พัน พัน
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
ZING Club Offer
ZING Club OfferZING Club Offer
ZING Club Offer
 
Grafica del seno
Grafica del senoGrafica del seno
Grafica del seno
 
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...
Щодо шляхів вдосконалення міжнародного співробітництва Харківського національ...
 
Training_Ansys
Training_AnsysTraining_Ansys
Training_Ansys
 
Test
TestTest
Test
 
arabic
arabicarabic
arabic
 
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...
(EOR/MEOR/BERO/oil recovery) Bero™ biosurfactant:laboratory experiment report...
 
Cuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroCuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustro
 
Cuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustroCuadro de la temporalidad de un lustro
Cuadro de la temporalidad de un lustro
 
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆ
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆ
ใบความรู้เรื่องการกระจัดในหนึ่งวินาทีใดๆ
 
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิต
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิตPrifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิต
Prifixs กับ สิ่งรอบกายในชีวิต
 
Panoramic photography
Panoramic photographyPanoramic photography
Panoramic photography
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Hotel conversation
Hotel conversationHotel conversation
Hotel conversation
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
 
The Simple Future: will
The Simple Future: willThe Simple Future: will
The Simple Future: will
 

Similar to การรักษาดุลยภาพของร่างกาย

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831CUPress
 

Similar to การรักษาดุลยภาพของร่างกาย (20)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
G2
G2G2
G2
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การรักษาดุลยภาพของร่างกาย