SlideShare a Scribd company logo
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)
การลาเลียงแก๊ส O2 ในเลือด มี 2 วิธี
การลาเลียงก๊าซ O2 ด้วยฮีโมโกลบิน
Deoxyhemoglobin
(เลือดดา) (เลือดแดง)
Oxyhemoglobin
การลาเลียงก๊าซ O2
- ก๊าซ O2 จะถูกลาเลียงด้วย
การจับกับโมเลกุลฮีโมโกลบิน
ในเซลล์เม็ดเลือดแดงด้วย
อัตราส่วน 4 : 1
การแลกเปลี่ยนแก๊สกับการลาเลียงแก๊ส
การลาเลียงแก๊ส CO2 จากเซลล์และเนื้อเยื่อไปยังปอด แบ่งเป็น 4 ทาง คือ
1. การขนส่งแก๊ส CO2ในน้าเลือด วิธีนี้เกิดขึ้นประมาณ 5%ของ CO2ทั้งหมด
2. การขนส่งแก๊ส CO2 ในรูปกรดคาร์บอนิก (H2CO3) วิธีนี้เกิดน้อยมาก
เพราะ H2CO3 จะแตกตัวเป็น H+ และ HCO3
- ตลอดเวลา
3. การขนส่งแก๊ส CO2 ในรูปของไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3
-)
วิธีนี้เกิดขึ้นประมาณ 60% ของ CO2ทั้งหมด
4. การขนส่งแก๊ส CO2 ในรูปคาร์บามิโนฮีโมโกลบิน(HbCO2)
วิธีนี้เกิดขึ้นประมาณ 10% ของ CO2ทั้งหมด
การลาเลียงก๊าซ CO2
1. ก๊าซ CO2 จากเซลล์ต่างๆ
ของร่างกายจะถูกลาเลียงเข้าไป
ในเซลล์เม็ดเลือดแดงโดยทา
ปฏิกิริยากับน้ากลายเป็นกรด
คาร์บอนิก (H2CO3 ) โดยมี
เอนไซม์ในเม็ดเลือดแดงคือ
carbonic anhydrase ช่วย
เร่งปฏิกิริยา
2. กรดคาร์บอนิกก็จะสลาย
กลายเป็น H+ และไฮโดรเจน
คาร์บอเนตไอออน(HCO3
-) เข้า
สู่พลาสมา
H+ ถูกกาจัดโดยระบบบัฟเฟอร์
ของฮีโมโกลบิน HCO3
- จะทาให้
พลาสมามีประจุลบเพิ่มขึ้น จึง
ต้องมีการปรับประจุไฟฟ้า โดย
Cl-จากน้าเลือดเคลื่อนผ่านเยื่อ
หุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงเข้าสู่ภายใน
จนประจุสมดุล และ HCO3
- ก็
จะถูกขนส่งไปยังปอดต่อไป
การลาเลียงก๊าซ CO2
การลาเลียงก๊าซ CO2
3. เมื่อเลือดถูกสูบฉีดมาถึง
หลอดเลือดฝอยรอบถุงลม H+
และ HCO3
- จะรวมตัว
กลายเป็นกรดคาร์บอนิกอีกครั้ง
4. กรดคาร์บอนิกสลายตัวเป็น
น้าและก๊าซ CO2 โดยก๊าซนี้จะ
แพร่เข้าไปยังถุงลมภายในปอด
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซ O2 จากถุงลมเข้าสู่โลหิต และก๊าซ CO2 จากโลหิตเข้าสู่ถุงลม
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion)
คือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อเลือกผ่านจาก
บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารต่า โดยอาศัยโมเลกุลของโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของเยื่อ
หุ้มเซลล์เป็นตัวพา (carrier protein)
ตัวพาจะจับกับสารที่ถูกลาเลียงแล้วพาผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เมื่อ
ผ่านไปแล้วจึงสลายตัวปล่อยสารที่ลาเลียงไว้ แล้วตัวพาก็กลับมา
ทาหน้าที่ลาเลียงสารใหม่ การลาเลียงวิธีนี้ไม่ต้องใช้พลังงาน
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion)
คาถาม
การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นที่ส่วนใดบ้าง
เกิดขึ้น 2 แห่ง แห่งแรกเกิดที่ถุงลมกับหลอดเลือดฝอย อีกแห่งหนึ่ง
เกิดขึ้นที่หลอดเลือดฝอยกับเซลล์ทั่วไปของร่างกาย
ตอบ
คาถาม
เซลล์ของเนื้อเยื่อปอดต้องการออกซิเจนหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ
ต้องการ เพราะเนื้อเยื่อของปอดต้องใช้พลังงานในการทากิจกรรมใน
เซลล์ เช่นเดียวกับเซลล์อื่นๆ ของร่างกาย
คาถาม
เนื้อเยื่อของปอดได้รับออกซิเจนโดยวิธีใด
ตอบ
แพร่จากหลอดเลือดฝอยที่มาหล่อเลี้ยงเนื้อเยื่อของปอด
คาถาม
ฮีโมโกลบินรวมตัวกับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ได้ดีกว่าออกซิเจน และ
ไม่ยอมปล่อยแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ออกมาง่ายๆ นักเรียนคิดว่าจะ
เกิดผลอย่างไร ถ้าร่างกายได้รับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นปริมาณ
มาก
ตอบ
แก๊สนี้จะไปรวมตัวกับฮีโมโกลบินของเซลล์เม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าแก๊สออกซิเจน
ทาให้หลอดเลือดลาเลียงออกซิเจนได้น้อยลง หัวใจจึงต้องบีบตัวเร็วขึ้น
เพื่อให้มีการลาเลียงออกซิเจนได้มากขึ้น หัวใจจึงต้องบีบตัวเร็วขึ้น เพื่อให้มี
การลาเลียงออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายได้เพียงพอ
คาถาม
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่างๆ ที่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ตอบ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะทาปฏิกิริยากับน้าในเซลล์เม็ดเลือดแดง
ได้เป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งจะแตกตัวเป็นไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและ
ไฮโดรเจนไอออนและแพร่ออกสู่พลาสมา
คาถาม
สารใดมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่า pH ของพลาสมา
ตอบ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
คาถาม
นักเรียนทราบหรือไม่ว่า บริเวณใดในร่างกายมีโมเลกุลของออกซิเจน
หนาแน่นมากที่สุดและน้อยที่สุด
ตอบ มากที่สุดคือที่ปอดหรือในถุงลม และน้อยที่สุดคือที่เนื้อเยื่อ
ต่างๆ ของร่างกาย
คาถาม
บริเวณใดมีโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์หนาแน่นมากที่สุด และน้อย
ที่สุด เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ตอบ
หนาแน่นมากที่สุดคือที่เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เพราะเซลล์ต่างๆ ของ
เนื้อเยื่อมีการสลายสารอาหารโดยใช้แก๊สออกซิเจน และปล่อยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนบริเวณน้อยที่สุดคือที่ปอดหรือในถุงลม เพราะ
เป็นอากาศที่หายใจเข้ามามีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนประกอบประมาณ
ร้อยละ 0.03
คาถาม
แก๊สออกซิเจนที่ผ่านเข้าไปในปอดจะแพร่เข้าสู่เลือดได้ทั้งหมดหรือไม่
เพราะเหตุใด
ตอบ
แก๊สออกซิเจนที่ผ่านเข้าไปในปอดจะแพร่เข้าสู่เลือดได้ไม่ทั้งหมด เพราะในลม
หายใจออกยังมีปริมาณออกซิเจนจานวนหนึ่งออกมา
The End

More Related Content

What's hot

Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

More from Wan Ngamwongwan

รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
Wan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส