SlideShare a Scribd company logo
04/10/54




                                           Acids and Bases




                                              โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ
                                                     ั
                                              โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                           Acids and Bases

จากการทดลอง
สารละลายต่ อไปนีมสมบัตเิ ป็ นกรด หรือเป็ นเบส และนาไฟฟาได้ หรือไม่
                ้ ี                                   ้
• HCl CH3COOH NaCl KNO3 NaOH KOH NH3 CH3COONa NH4Cl
   C2H5OH C12H22O11




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                            1
04/10/54




                                           Acids and Bases

สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte)
สารอิเล็กโทรไลต์ คือสารทีนาไฟฟาได้ เมือหลอมเหลว หรือสารทีแตกตัวเป็ น
                         ่     ้      ่                  ่
   ไอออนได้ ในสารละลาย เรียกว่ าสารละลายอิเล็กโทรไลต์
                AxBy(s)                xA+(aq) + yB-(aq)




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                           Acids and Bases

สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte)
สารนอนอิเล็กโทรไลต์ คือสารทีไม่ แตกตัวเป็ นไอออนในสารละลาย
                            ่
  เรียกว่าสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์
                AxBy(s)




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                              2
04/10/54




                                              Acids and Bases

   สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte)




   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                              Acids and Bases

                        สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)

     สารประกอบไอออนิก                               สารโควาเลนต์ กรด-เบส

เกลือแตกตัวเป็ นไอออน (Dissociation)            กรดเกิดการไอออไนซ์ (Ionization)
            H2O
NaCl(s)               Na+(aq) + Cl-(aq)         เบสเกิดการแตกตัว (Dissociation)

                                   หมายเหตุ
                         กรดเป็ นสารประกอบโควาเลนต์
             เบสเป็ นสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                        3
04/10/54




                                                    Acids and Bases

                             สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)

         อิเล็กโทรไลต์ แก่                                     อิเล็กโทรไลต์ อ่อน
  สารที่แตกตัวเป็ นไอออนได้หมด นาไฟฟาได้ดี
                                    ้            สารที่แตกตัวเป็ นไอออนได้เล็กน้ อย นาไฟฟาได้น้อย
                                                                                         ้
    - เกลือที่ละลายนาได้
                     ้                            - กรดอ่อนและเบสอ่อน
               H2O
NaCl(s)                  Na+(aq) + Cl-(aq)       CH3COOH(aq)           CH3COO- (aq) + H+(aq)
    - กรดแก่                                      NH3(g)+ H2O(l)       NH4+ (aq) + OH-(aq)
HCI(aq)                  H+(aq) + Cl-(aq)
   - เบสแก่
NaOH(s) H2O              Na+(aq) + OH-(aq)
   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                    Acids and Bases

      สมบัติ          สารอิเล็กโทรไลต์ แก่   สารอิเล็กโทรไลต์ อ่อน    สารนอนอิเล็กโทรไลต์

     อนุภาคใน
                             ไอออน            โมเลกุลหรือไอออน                โมเลกุล
     สารละลาย

   ภาวะสมดุล                 ไม่ มี                    มี                     ไม่ มี
  ระหว่ างอนุภาค

  ร้ อยละการแตก
        ตัว            แตกตัวหมด 100 %       แตกตัวระหว่าง 0 -99 %              ไม่ มี


   การนาไฟฟา
           ้             นาไฟฟาได้ดี
                              ้                นาไฟฟาได้บ้าง
                                                    ้                       ไม่ นาไฟฟา
                                                                                     ้

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                          4
04/10/54




                                                  Acids and Bases

สมบัตของกรด-เบส
     ิ
กรด
- มีรสเปรี้ยวและมีฤทธิ์กดกร่ อน
                        ั
- เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากนาเงินเป็ นแดง
      ่                       ้
-ทาปฏิกริยากับโลหะได้แก๊สไฮโดรเจน ยกเว้นทองแดง เงิน ทองคา
        ิ
  Mg (s) + 2HCl (aq)            MgCl2 (aq) +H2(g)
-ทาปฏิกริยากับสารประกอบCO32- และ HCO3- ได้ CO2
       ิ
 CaCO3(s) + 2HCl (aq)          CaCl2 (aq) +H2O(l) + CO2 (g)
- เกิดปฏิกริยาสะเทินกับโลหะออกไซด์และไฮดรอกไซด์ได้เกลือกับนา
          ิ                                                ้
  Na2O(s) + 2HCl (aq)         2NaCl (aq) +H2O(l)
- สารละลายของกรดนาไฟฟาได้ มีpH น้ อยกว่า 7
                      ้

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                  Acids and Bases

สมบัตของกรด-เบส
     ิ
เบส
- มีรสฝาดและขม
-เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นนาเงิน
     ่                           ้
- ลืนเมื่อถูกกับมือ
    ่
- เกิดปฏิกริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับนา
          ิ                           ้
  NaOH(s) + HCl (aq)           NaCl (aq) +H2O(l)
- สารละลายของกรดนาไฟฟาได้ มีpH มากกว่า 7
                     ้




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                          5
04/10/54




                                             Acids and Bases

ไอออนในสารละลายกรดและสารละลายเบส
กรดแตกตัวให้ H+
HCl (aq)           H+ (aq) +Cl-(aq)
CH3COOH (aq)              H+ (aq) +CH3COO-(aq)

H+ ในสารละลายมีน้ าล้อมรอบเรี ยกว่า ไฮโดรเนียมไอออน
น้ าจะรับเอา H+มารวมตัว

 สรุ ปคือ ไอออนในสารละลายกรด จะมี H+ หรื อ
 H3O+ เป็ นองค์ประกอบหลัก

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

ไอออนในสารละลายกรดและสารละลายเบส
เบสแตกตัวให้ OH-
 NaOH(s)            Na+ (aq) +OH-(aq)
 NH3(g)+ H2O(l)    NH4+ (aq) + OH-(aq)

สรุ ปคือ ไอออนในสารละลายเบส จะมี OH- เป็ น
องค์ประกอบหลัก




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                     6
04/10/54




                                             Acids and Bases

ทฤษฎีกรด-เบส




    Lewis




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์ เรเนียส

                - กรด คือสารทีละลายนาแล้ วแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออน : H+(aq)
                              ่     ้
                - เบส คือสารทีละลายนาแล้ วแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ ไอออน : OH-(aq)
                                ่     ้
                                      สมการการแตกตัวของกรดและเบส
                                             HO
                  กรด                 HCl(l) 2       H+(aq) + Cl-(aq)
                                       HNO3(l) H2O    H+(aq) + NO3-
                  เบส               NaOH(s) H2O      Na+(aq) + OH-(aq)
                                   Ca(OH)2(s) H2O    Ca2+(aq) + 2OH-(aq)

 ข้อจากัด 1. สารต้องละลายน้ าได้       2. ต้องมี H+และOH-ในสารนั้น
เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                       7
04/10/54




                                                  Acids and Bases

  ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
                กรด คือสารทีสามารถให้ โปรตอนแก่ สารอืน(proton donor)
                              ่                      ่
                เบส คือสารทีสามารถรับโปรตอนจากสารอืน(proton acceptor)
                            ่                          ่
                โปรตอน หมายถึงไฮโดรเจนไอออนในภาวะแก๊ส : H+(g)




     ข้อจากัด 1. ไม่สารมารถอธิบายสารที่ไม่มีน้ าเป็ นตัวทาละลายได้
   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                  Acids and Bases

 คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs
กรดเมื่อเสี ย H+ ไป ส่วนที่เหลือจะเรี ยกว่า คู่เบสของกรด Conjugate base ซึ่งมีประจุลบ
 กรด                H+ + (คู่เบสของกรด)-
                                                          คู่เบสของกรดHNO3
  HNO3                  H+ + NO3-

เบสเมื่อรับ H+ ไป ส่วนที่เกิดขึ้นจะเรี ยกว่า คู่กรดของเบส Conjugate acid ซึ่งมีประจุบวก
 เบส + H+               (คู่กรดของเบส)+
                                                  คู่กรดของเบสNH3
 NH3 + H+                NH4+

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                8
04/10/54




                                             Acids and Bases

คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs




HA เป็ นคู่กรดของเบส A-            H2O เป็ นคู่เบส ของกรดH3O+

  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs




 NH3 เป็ นคู่เบส ของกรด HN4+       H2O เป็ นคู่กรด ของเบส OH-

  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                      9
04/10/54




                                             Acids and Bases

คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs




HS- เป็ นคู่เบส ของกรด H2S         HF เป็ นคู่กรด ของเบส F-

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs

สารที่เป็ นโมเลกุลและกลุ่มไอออนลบบางชนิดมีแนวโน้มให้และรับโปรตอนได้
ดังนั้นเป็ นได้ท้ งกรดและเบสในเวลาเดียวกัน จะเรี ยกว่า สารแอมฟิ โพรติก
                  ั
(Amphiprotic substance) หรื อ แอมฟิ โพรติกไอออน
       คู่กรด              แอมฟิ โพรติก                  คู่เบส
        H 2S                   HS-                        S2-
       H2CO3                  HCO3-                      CO32-
       H3 O+                   H2 O                      OH-
       NH4+                    NH3                       NH2-

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                              10
04/10/54




                                              Acids and Bases

ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอิส
           กรด คือสารทีรับอิเล็กตรอนคู่
                         ่
           เบส คือสารทีให้ อเิ ล็กตรอนคู่
                       ่

Lewis




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                              Acids and Bases

ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอิส
           กรด คือสารทีรับอิเล็กตรอนคู่ อาจเรียกว่ า อิเล็กโทรไฟล์ Eletrophile
                       ่
           แปลว่ า ชอบอิเล็กตรอน

Lewis
           เบส คือสารทีให้ อเิ ล็กตรอนคู่ อาจเรียกว่ า นิวคลีโอไฟล์ necleophile
                       ่
           แปลว่ า ชอบนิวเคลียส




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                       11
04/10/54




                                                             Acids and Bases

 การแตกตัวของกรดและเบส

  สารละลายกรดและเบสเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์
  - ถ้ากรดนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์แก่ เรี ยกว่ากรดแก่
                                 ่
  - ถ้ากรดนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์ออน เรี ยกว่ากรดอ่อน
  - ถ้าเบสนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์แก่ เรี ยกว่า เบสแก่
  - ถ้าเบสนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์อ่อนเรี ยกว่า เบสอ่อน
                  ความแก่ – อ่อนของกรดหรื อเบส ดูได้จากการแตกตัวของสาร
                  โดยดูจากค่าคงที่ของการแตกตัว
                  - ถ้าเป็ นกรด ดูจาก Ka
                  - ถ้าเป็ นเบส ดูจาก Kb
   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                             Acids and Bases

 การแตกตัวของกรดแก่
กรดแก่ คือ กรดที่สามารถแตกตัวได้หมด ในน้ า
โดยไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
 HA(aq)                   H+(aq) + A-(aq)
1 mol/dm3               1 mol/dm3 1 mol/dm3
              [H+] = [A-] = C
                                                                      แตกตัวได้ 100 %
HA(aq) + H2O(l)                     H3   O+(aq)   + A-(aq)
                 [H3O+] = [A- ] = C
            ค่าKa สู งมาก จนวัดไม่ ได้ เรียกว่ าแตกตัวอย่ างสมบูรณ์
  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                             12
04/10/54




                                                  Acids and Bases

 ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของกรดแก่

  1. กรดเกลือ HCl 3.65 กรัม ละลายน้ าจนเป็ นสารละลายที่มีปริ มาตร 2.0 dm3 ใน
  สารละลายจะมี H3O+ กี่ mol/dm3

  2. สารละลาย HNO3 0.1 mol/dm3ปริ มาตร 10 dm3 นามาเติมน้ าจนเป็ นสารละลาย 200
  dm3 จะมีH3O+ และ NO3-อย่างละกี่ mol/dm3

  3. สารละลาย HCl 0.2 mol/dm3ปริ มาตร 50 dm3 ผสมกับสารละลาย HNO3 0.1 mol/dm3
  ปริ มาตร 200 dm3 ในสารละลายจะมีH3O+ กี่ mol/dm3


  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                  Acids and Bases

 การแตกตัวของเบสแก่
                                                                                     B+   OH-
เบสแก่ คือ เบสที่สามารถแตกตัวได้หมด ในน้ า               BOH

โดยไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ                                       แตกตัวได้ 100 %

 BOH(aq)                B+(aq) + OH-(aq)
1 mol/dm3            1 mol/dm3 1 mol/dm3
             [B+] = [OH-] = C           ค่าKb สู งมาก จนวัดไม่ ได้ เรียกว่าแตกตัวอย่ างสมบูรณ์

  M(OH)n(aq)                Mn+(aq) + nOH-(aq)

            [Mn+] = n[OH-] = C หรือ [OH-] = nC

  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                      13
04/10/54




                                                 Acids and Bases

  ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของเบสแก่

  1. เมื่อนาเบสแก่ M(OH)n มา 6.8 กรัม ละลายน้ าจนได้ปริ มาตร 100 dm3 และวัด[OH-]
  ได้ 0.5 mol/dm3 ถ้ามวลอะตอมของM = 34 จงหา n

  2. น้ าปูนใส Ca(OH)2ละลายในน้ าได้ 0.165 กรัม ต่อน้ า 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศา
  เซลเซียส จงคานวณหาปริ มาณ [OH-]

  3. สารละลาย KOH เข้มข้น ร้อยละ 3 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.0242 g/cm3จง
  คานวณหาปริ มาณ [OH-]


   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                 Acids and Bases

  การแตกตัวของกรดอ่ อน
 กรดอ่อน คือ กรดที่แตกตัวได้ไม่หมดในน้ าโดย
 เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
             H2O
  HA(aq)              H+(aq) + A-(aq)
สามารถบอกปริ มาณการแตกตัวได้ 2 แบบคือ
ร้อยละการแตกตัวกับ ค่าคงที่ของการแตกตัว Ka
                H2O
 CH3COOH(aq)            H3O+(aq) + CH3COO-(aq)

            [ H 3O  ][CH 3COO  ]
     Ka 
                 [CH 3COO  ]

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                            14
04/10/54




                                                      Acids and Bases

 การแตกตัวของกรดอ่ อน
 กรดอ่อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว
                                               ่
              H2O
  HA(aq)                  H+(aq) + A-(aq)
                    H2O
  CH3COOH(aq)                H3O+(aq) + CH3COO-(aq)

           [ H 3O  ][CH 3COO  ]                 ถ้ากรดอ่อนคนละชนิดกันให้ดูค่าKa
   Ka 
                [CH 3COO  ]                      ถ้า Ka มาก แสดงว่าแตกตัวได้ดี
                                                  ปฏิกิริยาดาเนินไปข้างหน้ามาก มี
                                                  ความเป็ นกรดสูงกว่า

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                      Acids and Bases

 การแตกตัวของกรดอ่ อน
1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว
                                               ่
  การหาความเข้มข้น                                     โปรดใช้ ค่าประมาณ
              H2O                                                C
  HA(aq)                  H+(aq) + A-(aq)              กรณีที่ 1 K           100   จะได้   [H  ]    K aC
                                                                        a


i C                       0          0                          C
                                                      กรณีที่ 2 K            100   คานวณตามสมการปกติ
c -x                      +x        +x
                                                                    a


                                                               x 2  K a x  K aC  0
e C -x                     +x       +x
        [ x][ x] จะได้สมการกาลัง 2
Ka 
       [C  x] x 2  K a x  K aC  0

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                                   15
04/10/54




                                                                     Acids and Bases

   การแตกตัวของกรดอ่ อน
 1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว
                                                ่
    การหาร้อยละการแตกตัว                                              กรณีที่ 2
                                                                                  C
                                                                                      100
               H2O                                                                Ka
    HA(aq)          H+(aq) + A-(aq)
                                                                        ร้ อยละการแตกตัว   5

                     ความเข้ มข้ นของ H+ที่สมดุล                      กรดมอนอโพรติกชนิดเดียวกัน มีความ
ร้ อยละการแตกตัว =                                     X 100
                     ความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของกรดอ่ อน                เข้ มข้ นต่ างกัน C1 และ C2
 กรณีที่ 1
             C
             Ka
                 100       จะได้
                                                                         % การแตกตัวของC1       C2
 ร้ อยละการแตกตัว = [ H
                          
                              ]
                                  100 
                                           K aC
                                                100 
                                                        Ka
                                                              100                        =
                        C                  C           [H  ]            % การแตกตัวของC2       C1


  ร้ อยละการแตกตัว   5

     เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                                     Acids and Bases

   ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนมอนอโพรติก

    1. สารละลายHNO2 เข้มข้น0.0025mol/dm3 (Ka = 7.2 x 10-4) จงคานวณหาความเข้มข้น
    ของH3O+

    2. สารละลายCH3COOH เข้มข้น0.100mol/dm3 (Ka = 1.8 x 10-5) จงคานวณหาความ
    เข้มข้นของH3O+

    3. สารละลายเข้มข้น 0.0284 mol/dm3 ของกรดแล็กติก ซึ่งจัดเป็ นกรดอ่อน พบในเลือด
    และกล้ามเนื้อ เมื่อมีการออกกาลังกายนานๆ พบว่ามีร้อยละการแตกตัวเท่ากับ 6.7 จง
    คานวณหาค่า Ka


     เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                              16
04/10/54




                                                                             Acids and Bases

 ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนมอนอโพรติก

4. จงคานวณหาร้อยละการแตกตัวของกรดแอซิติก ทีมีความเข้มข้น 1.0 , 0.10 และ
0.010 mol/dm3 ตามลาดับ (Ka = 1.8 x 10-5)
 สารละลายกรดอ่อนชนิดเดียวกัน เมื่อความเข้มข้นเริ่ มต้นลดลง ร้อยละการแตกตัวของ
 กรดอ่อนจะเพิ่มขึ้น
                                                                                     กรดอ่อนชนิดมอนอโพรติก
                   ร้ อยละการแตกตัว




                                                                                     ต่างชนิดกัน แต่ความเข้มข้น
                                                                                     เท่ากัน กรดใดมีค่าKa ต่า
                                                                                     ร้อยละการแตกตัวต่าลงด้วย
                                                ความเข้ มข้ นของกรดอ่ อน

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                                             Acids and Bases

 การแตกตัวของกรดอ่ อน
กรดอ่อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
2. กรดโพลิโพรติก polyprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ มากกว่ า 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ หลาย
                                               ่
ครั้งครั้งเดียว
                             H2O                                                [ H  ][ HA ]
 H2A(aq)                                 H+(aq) + HA-(aq)              K a1 
                                                                                   [ H 2 A]
                             H2O                                                [ H  ][ A2 ]
 HA-(aq)                                 H+(aq) + A2-(aq).             K a2 
                                                                                   [ HA ]
 ** ส่ วนใหญ่ Ka1 จะสู งกว่ า Ka2 จึงมักใช้ ค่าKa1 ในการเปรียบเทียบความแรงของกรด
         K a1
  ถ้ า   Ka2
               10 4
                                  ถือว่า H+ เกิดจากขั้นตอนที่ 1   [H  ]    K a1C


   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                                       17
04/10/54




                                               Acids and Bases

ค่ าคงทีการแตกตัวของกรดพอลิโปรติก
        ่




  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                               Acids and Bases

ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนโพลิโพรติก

1. กรดแอสคอร์บิก H2C6H6O6 ในโจทย์น้ ีจะย่อเป็ น H2Asc เราทราบว่าเป็ นวิตามินซี
จัดเป็ นไดโพรติก Ka1 = 1 x 10-5 และ Ka2 = 5 x 10-12 จงคานวณ [H2Asc],[HAsc-],[Asc2-]
และ [H+]ของสารละลายH2Asc เข้มข้น0.05mol/dm3


                              ข้อเดียวก็พอแล้วครับ




  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                           18
04/10/54




                                               Acids and Bases

 การแตกตัวของเบสอ่ อน
 เบสอ่อน คือ เบสที่แตกตัวได้ไม่หมดในน้ าโดย
 เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
              H2O
 B(aq)               BH+(aq) + OH-(aq)
                       ถ้าเบสอ่อนคนละชนิดกันให้ดูค่าKb
       [ BH  ][OH  ]
  Kb                  ถ้า Kb มาก แสดงว่าแตกตัวได้ดี ปฏิกิริยาดาเนินไป
            [ B]
                       ข้างหน้ามาก มีความเป็ นเบสสูงกว่า




   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                               Acids and Bases

 การแตกตัวของเบสอ่ อน

  การหาความเข้มข้น                               โปรดใช้ ค่าประมาณ
         H2O
B(aq)           BH+(aq) + OH-(aq)                          C
                                                 กรณีที่ 1 K           100   จะได้ [OH   
                                                                                              ]   K bC
                                                                  b


i C                     0                 0     กรณีที่ 2 K
                                                           C
                                                                       100   คานวณตามสมการปกติ
c -x                    +x                +x
                                                              b



                                                      x 2  Kb x  KbC  0
e C -x                   +x               +x
          [ x][ x]   จะได้ สมการกาลัง 2
Kb 
         [C  x]      x 2  Kb x  KbC  0



   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                               19
04/10/54




                                                                 Acids and Bases

 การแตกตัวของเบสอ่ อน

     การหาร้อยละการแตกตัว                                              กรณีที่ 2
                                                                                   C
                                                                                       100
                                                                                   Ka
               H2O
 B(aq)                         BH+(aq) + OH-(aq)
                                                                         ร้ อยละการแตกตัว   5

                      ความเข้ มข้ นของ OH-ที่สมดุล                     เบสมอนอโพรติกชนิดเดียวกัน มีความ
ร้ อยละการแตกตัว =                                      X 100
                      ความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของเบสอ่ อน                เข้ มข้ นต่ างกัน C1 และ C2
  กรณีที่ 1
              C
              Kb
                  100         จะได้
                                                                          % การแตกตัวของC1       C2
ร้ อยละการแตกตัว = [OH
                           
                               ]
                                   100 
                                            K bC
                                                 100 
                                                          Kb
                                                                100                       =
                       C                    C           [OH  ]           % การแตกตัวของC2       C1


   ร้ อยละการแตกตัว   5



   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                                 Acids and Bases

 ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของเบสอ่ อน

 1. สารละลาย NH3 0.15 mol/dm3 ปริ มาตร 500 dm3 จะมีปริ มาณ [OH-] กี่ mol/dm3
 กาหนดให้ Kb ของNH3 เท่ากับ 1.76 x 10-5

 2. สารละลายยูเรี ย เข้มข้นร้อยละ 36 โดยมวลต่อปริ มาตร จะมีปริ มาณ [OH-] กี่ mol/dm3
 กาหนดให้ Kb เท่ากับ 1.5 x 10-14

 3. ความเข้มข้น OH- วัดได้จากสารละลาย NH3 เท่ากับ 1.5 x 10-3 mol/dm3 ( Kb เท่ากับ
 1.8 x 10-5 ) ความเข้มข้นเริ่ มต้นของNH3 กี่ mol/dm3



   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                               20
04/10/54




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดและเบส




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดและเบส




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                   21
04/10/54




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดไฮโดร




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดไฮโดร




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                   22
04/10/54




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดออกซี




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ความแรงของกรดออกซี




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                   23
04/10/54




                                                Acids and Bases

  การแตกตัวเป็ นไอออนของนา
                         ้




    การแตกตัวเป็ นไอออนเอง (Autoionization)

    เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                Acids and Bases

  ค่ าคงทีการแตกตัวของนา:Kw
          ่            ้

    H2O + H2O            H3O+ + OH-                 ค่ าKw ทีอุณหภูมต่างๆ
                                                             ่      ิ
                           
           K
                [ H 3O ][OH ]            อุณหภูมิ      Kw        อุณหภูมิ     Kw
                     [ H 2O]2              (C)                    (C)
      K.[H2O]2 = Kw = [H3O+][OH-]            0       1.5x10-15      30      1.5x10-14
                                           10        3.0x10-15     40       3.0x10-14
การแตกตัวของน้ าขึ้นกับอุณหภูมิ            20        6.8x10-15     50       5.5x10-14
- ถ้าอุณหภูมิสูง การแตกตัวมาก Kw มาก
                                           25        1.0x10-14     60       9.5x10-14
- ถ้าอุณหภูมิต่า การแตกตัวมาก Kw น้อย

    เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                             24
04/10/54




                                                      Acids and Bases

 ค่ าคงทีการแตกตัวของนา:Kw
         ่            ้

Kw = [H3O+][OH-]                                คาถาม
Kw = 1.0 x 10-14 ที่ 25C                       ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดที่ใช้ใน
[H3O+][OH-] = 1.0 x 10-14                       บ้านเรื อนชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของ
in a neutral solution : [H3O+] = [OH-]          OH- เท่ากับ 0.0025 M จงคานวณหา
                                                ความเข้มข้นของ H3O+
[H3O+] = [OH-] = 1.0 x 10-7 mol/dm3



  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                      Acids and Bases

 ความสัมพันธ์ ระหว่ างKa Kb และ Kw

                                            [ H 3O  ][ A ]
  HA+H2O                 H3O++A- ;   Ka                       ปฏิกริยาการแตกตัวของกรดอ่อน
                                                                   ิ
                                                 [ HA]


 A- + H 2 O             HA + OH-;           [ HA][OH  ]       ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                                                                   ิ
                                     Kb 
                                                [ A ]


                [ H 3O  ][ A ] [ HA][OH  ]
   K a xK b                    x              Kw
                     [ HA]           [ A ]




  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                  25
04/10/54




                                                   Acids and Bases

ความเข้ มข้ นของ H3O+และ OH- กับความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย




  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                   Acids and Bases

ตัวอย่ างการคานวณความสัมพันธ์ ระหว่ างKa Kb และ Kw

1. จงคานวณหาค่ าคงทีการแตกตัวของF- กาหนดให้ KaของกรดHF=6.6x10-4
                    ่

2. จากปฏิกริยาการแตกตัวของกรดแอซิตก(CH3COOH) ซึ่งมีค่า Ka =1.8x10-5
          ิ                        ิ
จงคานวณหาค่ าคงทีการแตกตัวของคู่เบส
                  ่
3. ถ้ าค่ า Ka ของกรดฟอร์ มก (HCOOH) เท่ ากับ 1.8 x 10-4 จงหาค่ า Kbของปฏิกริยา
                           ิ                                               ิ
สมดุลของฟอร์ เมตไอออน (HCOO      -)


4. CH3NH3+ + H2O                   CH3NH2 + H3O+
   จะมีค่าคงทีสมดุลเท่ าไร ถ้ าค่ าKb ของCH3NH2 เท่ ากับ 4.3 x 10-4
              ่

  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                       26
04/10/54




                                           Acids and Bases

pH ของสารละลาย

                                ปี ค.ศ.1909
                                ซอเรน ปี เตอร์ ลอริทซ์ ซอเรนเซน
                                (Soren Peter Lauritz Sorenson)
                                นักชีวเคมีชาวเดนมาร์ ก ได้ เสนอ
                                มาตรส่ วน pH (power 0f hydrogen)



เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                           Acids and Bases

การวัด pH ของสารละลาย




 • วิธเทียบส ี : การใชอินดิเคเตอร์
      ี               ้
 • วิธวดความต่างศักย์ : การใช ้ pH meter
        ี ั

เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                        27
04/10/54




                                           Acids and Bases

การวัด pH ของสารละลาย




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                           Acids and Bases

การวัด pH ของสารละลาย




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                  28
04/10/54




                                           Acids and Bases

pH ของสารละลาย




  มาตรส่ วน pH (pH scale) ใช้ บอกความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย
                          pH = - log[H3O+]
เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                           Acids and Bases

pH และpOHของสารละลาย




       pOH = -log[OH-]                 pH = - log[H3O+]

         [OH-] = 10-pOH                [H3O+] = 10-pH

                         pH + pOH = 14

เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                    29
04/10/54




                                            Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณหาค่ าpH และpOHของสารละลาย
 1. จงคานวณหา pH ของสารละลายต่ อไปนี้
        ก) HCl 0.0040 M
        ข) NaOH 0.020 M
        ค) CH3COOH 0.10 M (Ka=1.8x10-5)

 2. สารละลายกรดอ่อน HA เข้ มข้ น 0.20M มี pH = 4 จงคานวณหาค่ า
 Ka ของกรดอ่อนนี้
 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ความสั มพันธ์ ระหว่าง Ka,Kb,pH และpOH
              1                                            1
1. pH         
                  [OH  ]                   2. pOH         
                                                                [H  ]
            [H ]                                         [OH ]

                                          1
3. สาหรับกรดอ่อนใดๆ [ H  ]  K a 
                                         pH

                                          1
3. สาหรับเบสอ่อนใดๆ [OH ]  K b 
                                          pOH

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                               30
04/10/54




                                             Acids and Bases

สรุ ปความสั มพันธ์ ระหว่ าง Ka,Kb,pH และpOH

            pOH                                       [H  ]  Ka
   Kbมาก [OH-]มาก                                         Kaมาก [H+]มาก


 [H+]น้อย pOHต่า pH สูง                              [OH-]น้อย pH ต่า pOH สูง

    [OH  ]  Kb
                                                          pH


  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณความสั มพันธ์ ระหว่าง Ka,Kb,pH และpOH

1. จงคานวณความเข้มข้น H3O+ และ OH- ในสารละลาย HNO3 เข้มข้น 0.05 mol/dm3

2. จงคานวณ pH ของสารละลายที่มี H3O+ เข้มข้น 0.05 mol/dm3

3. สารละลายชนิดหนึ่งมี pH เท่ากับ3.301 จงคานวณความเข้มข้นของ H3O+ เข้มข้นใน
สารละลาย
4. จงคานวณความเข้มข้นของ H3O+ , OH- ,pH ,pOH ของสารละลายHNO3 เข้มข้น
0.015mol/dm3ในสารละลาย


  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                     31
04/10/54




                                                Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง
สารละลายกรดแก่
จานวนโมล H+ ก่อนเติมน้ า = จานวนโมล H+ หลังเติมน้ า
                  C1V1 C2V2
                         
                  1000 1000

Ex. เมื่อนาสารละลาย HCl ที่มี pH เท่ากับ 3 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้
100cm3สารละลายทีมีค่า pH เท่าไหร่


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง
สารละลายกรดอ่อน
            Ka ก่อนเติมน้ า = Ka หลังเติมน้ า
                                                               ใช้สูตรนี้
                    K a1  K a 2
                                                          [ H  ]  K aC

Ex. สารละลาย HF ที่มี pH เท่ากับ 4 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้สารละลาย
100cm3 ทีมีค่า pH เท่าไหร่ ( Kb ของ NH3 เท่ากับ 6.8 x 10-4 )


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                  32
04/10/54




                                                Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง
สารละลายเบสแก่
จานวนโมล OH- ก่อนเติมน้ า = จานวนโมล OH- หลังเติมน้ า
                  C1V1 C2V2
                        
                  1000 1000

Ex. เมื่อนาสารละลาย KOH ที่มี pH เท่ากับ 10 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้
100cm3สารละลายทีมีค่า pH เท่าไหร่


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง
สารละลายเบสอ่อน
            Kb ก่อนเติมน้ า = Kb หลังเติมน้ า
                                                               ใช้สูตรนี้
                    Kb1  Kb 2
                                                         [OH  ]  K bC

Ex. สารละลาย NH3 ที่มี pH เท่ากับ 10 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้
สารละลาย100 cm3 ทีมีค่า pH เท่าไหร่ ( Kb ของ NH3 เท่ากับ 1.8 x 10-5 )


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                   33
04/10/54




                                            Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน
สารละลายกรดแก่ผสมกับกรดแก่
            [H+]รวม = [H+]ของกรดแก่แต่ละชนิดบวกกัน
         C1V1 C2V2 CtotolVtotol
                           
         1000 1000              1000

Ex. สารละลายเกิดจากการผสม HCl เข้มข้น 12 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 cm3 กับ
HNO3 เข้มข้น 16 mol/dm3 ปริ มาตร 300 cm3 แล้วเติมน้ ากลันจนมีปริ มาตร
                                                        ่
500cm 3 จงคานวณหา [H+] [OH-] และ pH ของสารละลายผสมดังกล่าว


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน
สารละลายกรดแก่ผสมกับกรดอ่อน
ให้หาความเข้มข้นของH+ ของกรดแก่และกรดอ่อน แล้วมารวมกัน ถ้ารวมได้ก็รวม
ถ้ารวมไม่ได้กเ็ อาแค่ H+ ของกรดแก่

Ex. จงคานวณค่าpH สารละลายผสม HNO3 เข้มข้น 0.05 mol/dm3 และ
CH3COOH 0.5 mol/dm3 ( Ka ของ CH3COOH เท่ากับ 1.8 10-5 )




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                              34
04/10/54




                                             Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน
สารละลายกรดอ่อนผสมกับกรดอ่อน
ให้หาความเข้มข้นของH+ ของกรดอ่อนแตละชนิด แล้วมารวมกัน ถ้ารวมได้ก็รวม

 Ex. จงคานวณค่าpH ของสารละลายที่เกิดจากการผสม HCN เข้มข้น 1.0 mol/dm3
 ( Ka ของ HCN เท่ากับ 6.2 10-10 ) กับ HNO2 5.0 mol/dm3 ( Ka ของ HNO2 เท่ากับ
 4.0 10-4 ) จงคานวณ NO2- และ CN- ในสารละลายผสมดังกล่าว

                       กรณีเบส คิดเหมือนกันครับ
 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                             Acids and Bases

ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย
 กรณีเบส คิดเหมือนกันครับ
Ex. สารละลายผสมที่ประกอบด้วยKOH 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 dm3 กับ
Mg(OH)2 0.05 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 dm3 จงหาpHของสารละลาย

Ex. สารละลายผสมที่ประกอบด้วยNaOH 0.2 mol/dm3 ปริ มาตร 40.0 dm3 กับ
NH3 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 60.0 dm3 ( Kb ของNH3 เท่ากับ 1.8 x 10-5 )จงหาpH
ของสารละลาย



 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                    35
04/10/54




                                                               Acids and Bases

ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส
กรดอ่อน HA ให้โปรตอนแก่น้ า จะได้คู่เบสของกรดอ่อนซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากับน้ า
เรี ยกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส Hydrolysis
 HA(l) + H2O(l)             H3O+(aq) + A-(aq)                              [ H 3O  ][ A ]   ปฏิกริยาการแตกตัว
                                                                                                  ิ
                                                                    Ka 
                                                                                [ HA]         ของกรดอ่อน
                                                                           [ HA][OH  ]
A-(aq) + H2O(l)             HA(aq) + OH-(aq)                       Kb 
                                                                               [ A ]
                                                                                              ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                                                                                                  ิ


                ่
(1) + (2) จะได้วา   K a  Kb 
                                 [ H 3O  ][ A ] [ HA][OH  ]
                                      [ HA]
                                                 
                                                      [ A ]
                                                                [ H 3O  ][OH  ]


                    K w  11014              สรุ ปว่า      K w  K a ( HA)  Kb( A )


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                               Acids and Bases

ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส
กรดอ่อน HA ให้โปรตอนแก่น้ า จะได้คู่เบสของกรดอ่อนซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากับน้ า
เรี ยกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส Hydrolysis
 B(l) + H2O(l)            BH+(aq) + OH-(aq)                                [ BH  ][OH  ]    ปฏิกริยาการแตกตัว
                                                                                                  ิ
                                                                   Kb 
                                                                                [ B]          ของเบสอ่อน
                                                                           [ B][ H 3O  ]
BH+(aq) + H2O(l)                 B(aq) + H3O+(aq)                  Ka 
                                                                              [ BH  ]
                                                                                              ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                                                                                                  ิ


                ่
(1) + (2) จะได้วา   K a  Kb 
                                 [ BH  ][OH  ] [ B][ H 3O  ]
                                      [ B]
                                                
                                                    [ BH  ]
                                                                 [ H 3O  ][OH  ]


                    K w  11014              สรุ ปว่า    K w  K a ( BH  )  Kb ( B )  1014


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                                        36
04/10/54




                                                 Acids and Bases

ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส
   K w  K a ( BH  )  Kb ( B )  1014

    ใส่ log เข้าไปครับจะได้วา pK a   log K a
                            ่                            pKb   log Kb

       pK w  pK a  pKb  14

 ตัวอย่ าง : ถ้าค่าKa ของกรดฟอร์มิก (HCOOH)เท่ากับ 1.8 x 10-4 จงหาค่าKb ของ
 ปฏิกิริยาสมดุลของฟอร์เมตไอออน(HCOO-)
 HCOO- + H2O                 HCOOH + H3O+

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                 Acids and Bases

อินดิเคเตอร์ สาหรับกรด-เบส
 1. เป็ นสารอินทรี ยที่มีสี จัดเป็ นสารประเภทสี ยอม
                    ์                            ้
 2. มีสมบัติเป็ นกรดอ่อน แทนด้วย HIn หรื อมีสมบัติเป็ นเบสอ่อน แทนด้วย In
 3. เป็ นสารอินทรี ยที่มีโมเลกุลสลับซับซ้อน ไม่ละลายน้ า แต่ละลายในแอลกอฮอล์
                    ์




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                    37
04/10/54




                                              Acids and Bases

ช่ วงpHการเปลียนสี ของอินดิเคเตอร์
              ่
     อินดิเคเตอร์                  ่
                                  ชวง pH             ี ี่
                                                    สทเปลียน
                                                          ่
                                ของอินดิเคเตอร์

  Methyl orange                  3.1 – 4.4         แดง – เหลือง

   Bromothymol                   6.0 – 7.6        เหลือง – นำเงิน
                                                            ้
       blue
  Phenolphthalei                8.3 – 10.0         ไม่มส ี – ชมพู
                                                       ี
        n

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                              Acids and Bases

ตัวอย่ างอินดิเคเตอร์ บางชนิด

                                                         ยูนิเวอร์ ซัล อินดิเคเตอร์




 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                           38
04/10/54




                                                      Acids and Bases

สมดุลของอินดิเคเตอร์

 HIn(aq) + H2O(l)                H3O+(aq) + In-(aq)
                [ H 3O  ][ In  ]                                 [ HIn]
           Ka                                [ H 3O  ]  K a
                     [ HIn]                                        [ In  ]
 ในสารละลายกรด(H3O+) เป็ นสี ของ HIn
 ในสารละลายเบส(OH-) เป็ นสี ของ In-



  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                      Acids and Bases

การหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์
 รู ปกรด                                   รู ปเบส
 HIn(aq) + H2O(l)                H3O+(aq) + In-(aq)        โดยทัวไปตาของมนุษย์ จะสามารถ
                                                                   ่
                     [ HIn]                                มองเห็นและบอกความแตกต่ างของ
    [ H 3O  ]  K a             ใส่ -log ทั้ง 2 ข้าง สีของรูปกรดและรูปเบสได้ เมือความ
                     [ In  ]                                                            ่
                                          [ HIn]           เข้ มข้ นของรูปทังสองต่ างกันอย่ าง
                                                                            ้
 log[ H 3O  ]   log K a  ( log                )
                                                
                                           [ In ]          น้ อยประมาณ 10 เท่ า ดังนั้น
                         [ HIn]                  จะเห็นสี ของรู ปกรด เมื่อ [HIn]/[In-] ≥ 10/1
     pH  pK a  log                             จะเห็นสี ของรู ปเบส เมื่อ [HIn]/[In-] ≤ 1/10
                          [ In  ]
                                                 1/10 ≤ [HIn]/[In-] ≤ 10/1 จะเห็นเป็ นสี ผสม
                                                 ระหว่างรู ปกรดและเบส
  เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                      39
04/10/54




                                                          Acids and Bases

   การหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์
    รู ปกรด                                    รู ปเบส
    HIn(aq) + H2O(l)                 H3O+(aq) + In-(aq)
จะเห็นสีของรูปกรด เมื่อ [HIn]/[In-] ≥ 10/1           จะเห็นสีของรู ปเบส เมื่อ [HIn]/[In-] ≤ 1/10
                       [ HIn]
  pH  pK a  log                                         pH  pK a  log
                                                                                [ HIn]
                       [ In  ]                                                 [ In  ]
                       10
  pH  pK a  log                                                               1
                        1                                 pH  pK a  log
                                                                               10
  pH  pK a  1
                                                          pH  pK a  1

                         นั่นคือช่ วงpH ทีเ่ ปลียนสี = pKa 1
                                                ่
     เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                          Acids and Bases

   ประโยชน์ ของอินดิเคเตอร์
    - ใช้ วด pH ของสารละลาย
           ั
    - ใช้ บอกจุดยุตในการไทเทรตกรด-เบส
                   ิ




     เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                        40
04/10/54




                                                          Acids and Bases

ตัวอย่างการหาค่ าอินดิเคเตอร์

A เป็ นอินดิเคเตอร์ ชนิดหนึ่งมี pKa=7.1 รู ปกรดมีสีเหลืองส่ วนรู ปเบสมีสีนาเงิน
                                                                           ้
เมือนาอินดิเคเตอร์ A มาหยดลงในสารละลายทีมี pH=6.5, 5.2 และ 9.1 จะมีสีอะไร
   ่                                    ่
ตามลาดับ

HIn เป็ นอินดิเคเตอร์ กรดอ่ อน ถ้ า HIn เข้ มข้ น 0.20M แตกตัวได้ 10%
จงคานวณหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์ ชนิดนี้



 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                          Acids and Bases

ตัวอย่างการหาค่ าอินดิเคเตอร์
• กาหนดช่ วง pH และการเปลียนสีของอินดิเคเตอร์ ต่างๆ ให้ ดงตาราง
                          ่                              ั
         อินดิเคเตอร์                        ช่ วง pH                    การเปลี่ยนสี
              A                              3.1 – 4.4                   แดง – เหลือง
              B                              4.4 – 6.0                   แดง – เหลือง
              C                              6.0 – 7.6                  เหลือง – น้าเงิน
              D                             8.3 – 10.0                   ไม่ มีสี - ชมพู
 เมื่อนาสารละลายชนิดหนึ่งมาเติมอินดิเคเตอร์ A,B,C        อินดิเคเตอร์                สี ของสารละลาย
 และ D ได้ ผลดังนี้
                                                              A                            เหลือง
                  สารละลายนีอยู่ในช่ วง
                            ้                                 B                            เหลือง
                       pH ใด ?                                C                            น้าเงิน
                                                              D                            ไม่ มีสี
 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                           41
04/10/54




                                            Acids and Bases

ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบส
    ิ

• ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบสจะได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นเกลือกับนา
      ิ                                                 ้
HCl(aq)+NaOH(aq)           NaCl(aq)+H2O(l)
H2SO4(aq)+Ba(OH)2         BaSO4(s)+H2O(l)

• แต่ บางปฏิกริยาได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นเกลือเพียงอย่างเดียว ไม่ มีนา
             ิ                                                  ้
NH3(g)+HCl(g)             NH4Cl(s)


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบส
    ิ

ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสเรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน(Neutralization
reaction) คือปฏิกิริยาที่ H3O+ จากสารละลายกรดทาพอดีกบ OH- จาก
                                                       ั
สารละลายเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นน้ า
 H3O+(aq) + OH-(aq)              2H2O(l)
• จุดสะเทิน หรื อจุดสมมูล(Equivalence point) คือจุดที่กรดและเบสทา
ปฏิกิริยาพอดีกน ั
• จุดยุติ(End point) คือจุดที่อินดิเคเตอร์ เปลี่ยนสี

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                          42
04/10/54




                                            Acids and Bases

จงเขียนปฏิกริยาระหว่างกรด-เบสต่ อไปนี้
           ิ
 1. H2SO4 + Ca(OH)2
 2. BaO + HBr
 3. CH3COOH + NaOH
 4. NH4OH + H2SO4
 5. HNO3 + KOH
 6. H2CO3 + Sr(OH)2

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                            Acids and Bases

การเตรียมเกลือต่ างๆ

1. โลหะ + กรด (โลหะจะแทนที่ H ในกรด
    Zn + 2HCl          ZnCl2 + H2
2. โลหะออกไซด์ + กรด (โลหะในโลหะออกไซด์ จะแทนที่ H ในกรด
    BaO + 2HCl          BaCl2 + H2O
3. เกลือ + กรด (โลหะในเกลือจะแทนที่ H ในกรด       คาถาม
    3NaHSO4 + H3PO4           Na3PO4 + 3H2SO4     ก้าเป็ นเกลือของ CO32-
4. เกลือ + เกลือ (โลหะในเกลือทั้ง 2 ชนิดจะแลกทีกน
                                               ่ั และ HCO3-ทาปฏิกริ ยา
    2NaCl + K SO            Na SO + 2KCl          กับกรดจะได้..............
               2   4            2   4


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                   43
04/10/54




                                              Acids and Bases

จงเขียนสมการแสดงปฏิกริยาการเกิดในแต่ ละข้ อต่ อไปนี้
                    ิ
 1. CaCO3 + HCl
 2. KNO3 + Na3PO4
 3. Mg + H2SO4
 4. CH3COONa + H2SO4
 5. Ca(HCO3)2 + HCl
 6. AgNO3 + NaCl

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                              Acids and Bases
การแบ่ งประเภทของเกลือโดยอาศัยการละลายนา
                                       ้
1. เกลือที่ไม่ละลายน้ า มีดงต่อไปนี้
                           ั
   - เกลือซัลไฟด์ S2- ซัลเฟต SO42- คาร์บอเนต CO32- ไฮโดรเจนฟอสเฟต
   HPO42- และ ฟอสเฟต PO43- ของโลหะไอออนหมู่2A จะไม่ละลายน้ า ยกเว้น
   MaSO4
   - เกลือคลอไรด์ Cl- โบรไมด์ Br- และไอโอไดด์ I- ของ Ag+ Pb2+ และ Hg22+
   เมอร์คิวรี (I) ไอออน ไม่ละลายน้ า
2. เกลือที่ละลายน้ า
      เมือนาเกลือดังกล่าวมาละลายน้ า สารละลายเกลือที่ได้อาจมีสมบัติเป็ นกรด เบส
                         ่ ั                                              ่
      กลาง ก็ได้ ขึ้นอยูกบไอออนบวกหรื อไอออนลบของเกลือที่ละลายน้ าได้วาจะให้
      หรื อรับ H + กับนา
                       ้
 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                       44
04/10/54




                                                 Acids and Bases
เกลือทีละลายนา
       ่     ้

                                1. สารละลายมีสมบัติเป็ นกรด

  เกลือ + น้ า                   2. สารละลายมีสมบัติเป็ นเบส

                                3. สารละลายมีสมบัติเป็ นกลาง
            เรี ยกปฏิกิริยาที่เกิดในข้อ 1 และ 2 ว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
                  ส่วนปฏิกิริยาที่ 3 ไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส


 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                 Acids and Bases
เกลือทีละลายนา
       ่     ้

1. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นกลาง คือไม่แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า ได้แก่
โลหะไอออนหมู่ IA และ IIA SO42- ,ClO4-, NO3-, Cl- ,Br- และ I-
2. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นกรด คือ แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า โดยไอออน
จะให้H+กับ H2O ในสารละลายจะมี H3O+ ได้แก่ โลหะไอออนแทรนซิชน Al3+, ั
NH4+ และ HSO4-
3. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นเบส คือ แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า โดยไอออน
จะรับ H+จาก H2O ในสารละลายจะมี OH- ได้แก่ ไอออนลบเกือบทั้งหมด ยกเว้น
Cl-, Br-,I- ,SO42-,ClO4-,NO3- และ HSO4-

 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                45
04/10/54




                                                     Acids and Bases

ตัวอย่ างการพิจารณา

1. KCl (aq)     KCl (aq)                       K+ (aq) + Cl- (aq)
  ทั้งK+ และ Cl- ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ดังนั้นสารละลาย KCl จึงมีสมบัติเป็ นกลาง
                             ิ

2. NH4Cl (aq) NH4Cl (aq)                         NH4+ (aq) + Cl- (aq)
 ทั้งNH4+ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส แต่ Cl- ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                  ิ                                  ิ
 NH4  + + HO               NH3 + H3O      +
              2
 แสดงว่าสารละลายNH4Cl เป็ นกรด
3. KCN (aq) KCN (aq)                             K+ (aq) + CN- (aq)
  ทั้งK+ ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส แต่ CN- เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                     ิ                              ิ
  CN- + H2O                  HCN + OH- แสดงว่า สารละลาย KCN เป็ นเบส

เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                     Acids and Bases

คาถาม
1. เมื่อเกลือต่ อไปนีละลายนา สารละลายที่จะมีสมบัติเป็ นกรด เบส หรือ กลาง พร้ อมเขียนสมการ
                     ้     ้
แสดงปฏิกริยา ิ
 1. KHSO4 2. K2S 3. (NH4)2SO4
 4. K2HPO4 5. CH3COOLi 6. CuSO4




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                 46
04/10/54




                                               Acids and Bases

สาคัญอย่ างแรงๆๆๆ
กรณีทเี่ กลือนั้นมีไอออนทีเ่ ป็ นได้ ท้งกรดและเบส คือ สามารถทาปฏิกริยาไฮโดรไลซิส
                                       ั                             ิ
ทั้ง 2 ไอออน เช่ น NH4F, NH4CN เป็ นต้ น จึงยากทีจะบอกได้ ว่าเป็ นกรดหรือเบส หรือ
                                                    ่
กลาง หลักง่ ายๆคือพิจารณาค่ า Ka ของคู่กรด และ Kb ของคู่เบส
                                     Kw
Kaของคู่กรดแทนด้วย Ka* =
                                 Kb(คู่เบส) Ka* > Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกรด
                                          Ka* < Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นเบส
                            Kw
Kbของคู่กรดแทนด้วย Kb* =                  Ka* = Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกลาง
                         Ka(คู่กรด)



เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                               Acids and Bases

โจทย์ ตวอย่ าง
       ั

เกลือต่ อไปนีเ้ มือละลายนา มีสมบัตเิ ป็ นกรด เบส หรือกลาง NH4CN , NH4NO2
                  ่      ้
กาหนดให้ Ka ของ HCN เท่ ากับ 10-10
กาหนดให้ Ka ของ HNO2 เท่ ากับ 10-4
กาหนดให้ Kb ของ NH3 เท่ ากับ 10-5




เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                           47
04/10/54




                                                          Acids and Bases

   บทสรุป
                                        ละลายน้ า
เกลือที่เกิดจากกรดแก่ - เบสแก่                         ได้สารละลายที่เป็ นกลาง

เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน - เบสแก่
                                    ละลายน้ า           ได้สารละลายที่เป็ นเบส

เกลือที่เกิดจากกรดแก่ - เบสอ่อน
                                    ละลายน้ า           ได้สารละลายที่เป็ นกรด

เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน - เบสอ่อน ละลายน้ า          Ka* > Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกรด
                                                    Ka* < Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นเบส
                                                    Ka* = Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกลาง


   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551




                                                          Acids and Bases

   การคานวณปริมาณ H3O+ OH- และ pH ของเกลือทีเ่ กิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับนา
                                                      ิ                 ้
   1. สารละลายเกลือที่เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับน้าที่มีสมบัติเป็ นกรด (เกลือของกรดแก่ – เบสอ่อน)
                              ิ
     BH+X-                   BH+ + X-
                                   เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับนา
                                           ิ                 ้
                                                         [B][H3O+] [OH-]
        BH+ + H2O                 B + H3O+         Kh = [BH+] * [OH-]
                                                           [BH+][OH-]      1 = [B]
      B + H2O                  BH+ + OH-            Kb =
                                                              [B]          Kb [BH+][OH-]
       สรุ ป ได้ ว่า Kh =
                               Kw
                            Kb(เบส,B)

   เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551



                                                                                                        48
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011
กรดเบส011

More Related Content

What's hot

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
Saipanya school
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
พัน พัน
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
oraneehussem
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
Oui Nuchanart
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
 

Viewers also liked

กรด เบส 2
กรด เบส 2กรด เบส 2
กรด เบส 2
Saipanya school
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
Santi Panthchai
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
Saipanya school
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
Supaluk Juntap
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 
Acid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdfAcid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdf
Faris Singhasena
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
BELL N JOYE
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 

Viewers also liked (13)

กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
กรด เบส 2
กรด เบส 2กรด เบส 2
กรด เบส 2
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 
Acid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdfAcid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdf
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
T soda4(thai)
T soda4(thai)T soda4(thai)
T soda4(thai)
 

Similar to กรดเบส011

สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
ChewJa
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
Saipanya school
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
Atom
AtomAtom
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
NamRinNamRin
 

Similar to กรดเบส011 (14)

สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 

More from jirat266

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบjirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydratejirat266
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมjirat266
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนjirat266
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
jirat266
 

More from jirat266 (16)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Dna
DnaDna
Dna
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
lipid
lipidlipid
lipid
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
 

กรดเบส011

  • 1. 04/10/54 Acids and Bases โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ ั โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases จากการทดลอง สารละลายต่ อไปนีมสมบัตเิ ป็ นกรด หรือเป็ นเบส และนาไฟฟาได้ หรือไม่ ้ ี ้ • HCl CH3COOH NaCl KNO3 NaOH KOH NH3 CH3COONa NH4Cl C2H5OH C12H22O11 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 1
  • 2. 04/10/54 Acids and Bases สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) สารอิเล็กโทรไลต์ คือสารทีนาไฟฟาได้ เมือหลอมเหลว หรือสารทีแตกตัวเป็ น ่ ้ ่ ่ ไอออนได้ ในสารละลาย เรียกว่ าสารละลายอิเล็กโทรไลต์ AxBy(s) xA+(aq) + yB-(aq) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) สารนอนอิเล็กโทรไลต์ คือสารทีไม่ แตกตัวเป็ นไอออนในสารละลาย ่ เรียกว่าสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ AxBy(s) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 2
  • 3. 04/10/54 Acids and Bases สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) และ นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) สารประกอบไอออนิก สารโควาเลนต์ กรด-เบส เกลือแตกตัวเป็ นไอออน (Dissociation) กรดเกิดการไอออไนซ์ (Ionization) H2O NaCl(s) Na+(aq) + Cl-(aq) เบสเกิดการแตกตัว (Dissociation) หมายเหตุ กรดเป็ นสารประกอบโควาเลนต์ เบสเป็ นสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 3
  • 4. 04/10/54 Acids and Bases สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) อิเล็กโทรไลต์ แก่ อิเล็กโทรไลต์ อ่อน สารที่แตกตัวเป็ นไอออนได้หมด นาไฟฟาได้ดี ้ สารที่แตกตัวเป็ นไอออนได้เล็กน้ อย นาไฟฟาได้น้อย ้ - เกลือที่ละลายนาได้ ้ - กรดอ่อนและเบสอ่อน H2O NaCl(s) Na+(aq) + Cl-(aq) CH3COOH(aq) CH3COO- (aq) + H+(aq) - กรดแก่ NH3(g)+ H2O(l) NH4+ (aq) + OH-(aq) HCI(aq) H+(aq) + Cl-(aq) - เบสแก่ NaOH(s) H2O Na+(aq) + OH-(aq) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases สมบัติ สารอิเล็กโทรไลต์ แก่ สารอิเล็กโทรไลต์ อ่อน สารนอนอิเล็กโทรไลต์ อนุภาคใน ไอออน โมเลกุลหรือไอออน โมเลกุล สารละลาย ภาวะสมดุล ไม่ มี มี ไม่ มี ระหว่ างอนุภาค ร้ อยละการแตก ตัว แตกตัวหมด 100 % แตกตัวระหว่าง 0 -99 % ไม่ มี การนาไฟฟา ้ นาไฟฟาได้ดี ้ นาไฟฟาได้บ้าง ้ ไม่ นาไฟฟา ้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 4
  • 5. 04/10/54 Acids and Bases สมบัตของกรด-เบส ิ กรด - มีรสเปรี้ยวและมีฤทธิ์กดกร่ อน ั - เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากนาเงินเป็ นแดง ่ ้ -ทาปฏิกริยากับโลหะได้แก๊สไฮโดรเจน ยกเว้นทองแดง เงิน ทองคา ิ Mg (s) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) +H2(g) -ทาปฏิกริยากับสารประกอบCO32- และ HCO3- ได้ CO2 ิ CaCO3(s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) +H2O(l) + CO2 (g) - เกิดปฏิกริยาสะเทินกับโลหะออกไซด์และไฮดรอกไซด์ได้เกลือกับนา ิ ้ Na2O(s) + 2HCl (aq) 2NaCl (aq) +H2O(l) - สารละลายของกรดนาไฟฟาได้ มีpH น้ อยกว่า 7 ้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases สมบัตของกรด-เบส ิ เบส - มีรสฝาดและขม -เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นนาเงิน ่ ้ - ลืนเมื่อถูกกับมือ ่ - เกิดปฏิกริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับนา ิ ้ NaOH(s) + HCl (aq) NaCl (aq) +H2O(l) - สารละลายของกรดนาไฟฟาได้ มีpH มากกว่า 7 ้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 5
  • 6. 04/10/54 Acids and Bases ไอออนในสารละลายกรดและสารละลายเบส กรดแตกตัวให้ H+ HCl (aq) H+ (aq) +Cl-(aq) CH3COOH (aq) H+ (aq) +CH3COO-(aq) H+ ในสารละลายมีน้ าล้อมรอบเรี ยกว่า ไฮโดรเนียมไอออน น้ าจะรับเอา H+มารวมตัว สรุ ปคือ ไอออนในสารละลายกรด จะมี H+ หรื อ H3O+ เป็ นองค์ประกอบหลัก เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ไอออนในสารละลายกรดและสารละลายเบส เบสแตกตัวให้ OH- NaOH(s) Na+ (aq) +OH-(aq) NH3(g)+ H2O(l) NH4+ (aq) + OH-(aq) สรุ ปคือ ไอออนในสารละลายเบส จะมี OH- เป็ น องค์ประกอบหลัก เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 6
  • 7. 04/10/54 Acids and Bases ทฤษฎีกรด-เบส Lewis เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์ เรเนียส - กรด คือสารทีละลายนาแล้ วแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออน : H+(aq) ่ ้ - เบส คือสารทีละลายนาแล้ วแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ ไอออน : OH-(aq) ่ ้ สมการการแตกตัวของกรดและเบส HO กรด HCl(l) 2 H+(aq) + Cl-(aq) HNO3(l) H2O H+(aq) + NO3- เบส NaOH(s) H2O Na+(aq) + OH-(aq) Ca(OH)2(s) H2O Ca2+(aq) + 2OH-(aq) ข้อจากัด 1. สารต้องละลายน้ าได้ 2. ต้องมี H+และOH-ในสารนั้น เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 7
  • 8. 04/10/54 Acids and Bases ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี กรด คือสารทีสามารถให้ โปรตอนแก่ สารอืน(proton donor) ่ ่ เบส คือสารทีสามารถรับโปรตอนจากสารอืน(proton acceptor) ่ ่ โปรตอน หมายถึงไฮโดรเจนไอออนในภาวะแก๊ส : H+(g) ข้อจากัด 1. ไม่สารมารถอธิบายสารที่ไม่มีน้ าเป็ นตัวทาละลายได้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs กรดเมื่อเสี ย H+ ไป ส่วนที่เหลือจะเรี ยกว่า คู่เบสของกรด Conjugate base ซึ่งมีประจุลบ กรด H+ + (คู่เบสของกรด)- คู่เบสของกรดHNO3 HNO3 H+ + NO3- เบสเมื่อรับ H+ ไป ส่วนที่เกิดขึ้นจะเรี ยกว่า คู่กรดของเบส Conjugate acid ซึ่งมีประจุบวก เบส + H+ (คู่กรดของเบส)+ คู่กรดของเบสNH3 NH3 + H+ NH4+ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 8
  • 9. 04/10/54 Acids and Bases คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs HA เป็ นคู่กรดของเบส A- H2O เป็ นคู่เบส ของกรดH3O+ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs NH3 เป็ นคู่เบส ของกรด HN4+ H2O เป็ นคู่กรด ของเบส OH- เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 9
  • 10. 04/10/54 Acids and Bases คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs HS- เป็ นคู่เบส ของกรด H2S HF เป็ นคู่กรด ของเบส F- เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases คู่กรด-เบส Conjugate acid-base pairs สารที่เป็ นโมเลกุลและกลุ่มไอออนลบบางชนิดมีแนวโน้มให้และรับโปรตอนได้ ดังนั้นเป็ นได้ท้ งกรดและเบสในเวลาเดียวกัน จะเรี ยกว่า สารแอมฟิ โพรติก ั (Amphiprotic substance) หรื อ แอมฟิ โพรติกไอออน คู่กรด แอมฟิ โพรติก คู่เบส H 2S HS- S2- H2CO3 HCO3- CO32- H3 O+ H2 O OH- NH4+ NH3 NH2- เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 10
  • 11. 04/10/54 Acids and Bases ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอิส กรด คือสารทีรับอิเล็กตรอนคู่ ่ เบส คือสารทีให้ อเิ ล็กตรอนคู่ ่ Lewis เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอิส กรด คือสารทีรับอิเล็กตรอนคู่ อาจเรียกว่ า อิเล็กโทรไฟล์ Eletrophile ่ แปลว่ า ชอบอิเล็กตรอน Lewis เบส คือสารทีให้ อเิ ล็กตรอนคู่ อาจเรียกว่ า นิวคลีโอไฟล์ necleophile ่ แปลว่ า ชอบนิวเคลียส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 11
  • 12. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวของกรดและเบส สารละลายกรดและเบสเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ - ถ้ากรดนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์แก่ เรี ยกว่ากรดแก่ ่ - ถ้ากรดนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์ออน เรี ยกว่ากรดอ่อน - ถ้าเบสนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์แก่ เรี ยกว่า เบสแก่ - ถ้าเบสนั้นเป็ นอิเล็กโทรไลต์อ่อนเรี ยกว่า เบสอ่อน ความแก่ – อ่อนของกรดหรื อเบส ดูได้จากการแตกตัวของสาร โดยดูจากค่าคงที่ของการแตกตัว - ถ้าเป็ นกรด ดูจาก Ka - ถ้าเป็ นเบส ดูจาก Kb เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของกรดแก่ กรดแก่ คือ กรดที่สามารถแตกตัวได้หมด ในน้ า โดยไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ HA(aq) H+(aq) + A-(aq) 1 mol/dm3 1 mol/dm3 1 mol/dm3 [H+] = [A-] = C แตกตัวได้ 100 % HA(aq) + H2O(l) H3 O+(aq) + A-(aq) [H3O+] = [A- ] = C ค่าKa สู งมาก จนวัดไม่ ได้ เรียกว่ าแตกตัวอย่ างสมบูรณ์ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 12
  • 13. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของกรดแก่ 1. กรดเกลือ HCl 3.65 กรัม ละลายน้ าจนเป็ นสารละลายที่มีปริ มาตร 2.0 dm3 ใน สารละลายจะมี H3O+ กี่ mol/dm3 2. สารละลาย HNO3 0.1 mol/dm3ปริ มาตร 10 dm3 นามาเติมน้ าจนเป็ นสารละลาย 200 dm3 จะมีH3O+ และ NO3-อย่างละกี่ mol/dm3 3. สารละลาย HCl 0.2 mol/dm3ปริ มาตร 50 dm3 ผสมกับสารละลาย HNO3 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 200 dm3 ในสารละลายจะมีH3O+ กี่ mol/dm3 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของเบสแก่ B+ OH- เบสแก่ คือ เบสที่สามารถแตกตัวได้หมด ในน้ า BOH โดยไม่เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ แตกตัวได้ 100 % BOH(aq) B+(aq) + OH-(aq) 1 mol/dm3 1 mol/dm3 1 mol/dm3 [B+] = [OH-] = C ค่าKb สู งมาก จนวัดไม่ ได้ เรียกว่าแตกตัวอย่ างสมบูรณ์ M(OH)n(aq) Mn+(aq) + nOH-(aq) [Mn+] = n[OH-] = C หรือ [OH-] = nC เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 13
  • 14. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของเบสแก่ 1. เมื่อนาเบสแก่ M(OH)n มา 6.8 กรัม ละลายน้ าจนได้ปริ มาตร 100 dm3 และวัด[OH-] ได้ 0.5 mol/dm3 ถ้ามวลอะตอมของM = 34 จงหา n 2. น้ าปูนใส Ca(OH)2ละลายในน้ าได้ 0.165 กรัม ต่อน้ า 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศา เซลเซียส จงคานวณหาปริ มาณ [OH-] 3. สารละลาย KOH เข้มข้น ร้อยละ 3 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.0242 g/cm3จง คานวณหาปริ มาณ [OH-] เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของกรดอ่ อน กรดอ่อน คือ กรดที่แตกตัวได้ไม่หมดในน้ าโดย เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ H2O HA(aq) H+(aq) + A-(aq) สามารถบอกปริ มาณการแตกตัวได้ 2 แบบคือ ร้อยละการแตกตัวกับ ค่าคงที่ของการแตกตัว Ka H2O CH3COOH(aq) H3O+(aq) + CH3COO-(aq) [ H 3O  ][CH 3COO  ] Ka  [CH 3COO  ] เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 14
  • 15. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวของกรดอ่ อน กรดอ่อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว ่ H2O HA(aq) H+(aq) + A-(aq) H2O CH3COOH(aq) H3O+(aq) + CH3COO-(aq) [ H 3O  ][CH 3COO  ] ถ้ากรดอ่อนคนละชนิดกันให้ดูค่าKa Ka  [CH 3COO  ] ถ้า Ka มาก แสดงว่าแตกตัวได้ดี ปฏิกิริยาดาเนินไปข้างหน้ามาก มี ความเป็ นกรดสูงกว่า เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของกรดอ่ อน 1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว ่ การหาความเข้มข้น โปรดใช้ ค่าประมาณ H2O C HA(aq) H+(aq) + A-(aq) กรณีที่ 1 K  100 จะได้ [H  ]  K aC a i C 0 0 C กรณีที่ 2 K  100 คานวณตามสมการปกติ c -x +x +x a x 2  K a x  K aC  0 e C -x +x +x [ x][ x] จะได้สมการกาลัง 2 Ka  [C  x] x 2  K a x  K aC  0 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 15
  • 16. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวของกรดอ่ อน 1. กรดมอนอโพรติก Monoprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ ครั้งเดียว ่ การหาร้อยละการแตกตัว กรณีที่ 2 C  100 H2O Ka HA(aq) H+(aq) + A-(aq) ร้ อยละการแตกตัว 5 ความเข้ มข้ นของ H+ที่สมดุล กรดมอนอโพรติกชนิดเดียวกัน มีความ ร้ อยละการแตกตัว = X 100 ความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของกรดอ่ อน เข้ มข้ นต่ างกัน C1 และ C2 กรณีที่ 1 C Ka  100 จะได้ % การแตกตัวของC1 C2 ร้ อยละการแตกตัว = [ H  ] 100  K aC 100  Ka 100 = C C [H  ] % การแตกตัวของC2 C1 ร้ อยละการแตกตัว 5 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนมอนอโพรติก 1. สารละลายHNO2 เข้มข้น0.0025mol/dm3 (Ka = 7.2 x 10-4) จงคานวณหาความเข้มข้น ของH3O+ 2. สารละลายCH3COOH เข้มข้น0.100mol/dm3 (Ka = 1.8 x 10-5) จงคานวณหาความ เข้มข้นของH3O+ 3. สารละลายเข้มข้น 0.0284 mol/dm3 ของกรดแล็กติก ซึ่งจัดเป็ นกรดอ่อน พบในเลือด และกล้ามเนื้อ เมื่อมีการออกกาลังกายนานๆ พบว่ามีร้อยละการแตกตัวเท่ากับ 6.7 จง คานวณหาค่า Ka เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 16
  • 17. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนมอนอโพรติก 4. จงคานวณหาร้อยละการแตกตัวของกรดแอซิติก ทีมีความเข้มข้น 1.0 , 0.10 และ 0.010 mol/dm3 ตามลาดับ (Ka = 1.8 x 10-5) สารละลายกรดอ่อนชนิดเดียวกัน เมื่อความเข้มข้นเริ่ มต้นลดลง ร้อยละการแตกตัวของ กรดอ่อนจะเพิ่มขึ้น กรดอ่อนชนิดมอนอโพรติก ร้ อยละการแตกตัว ต่างชนิดกัน แต่ความเข้มข้น เท่ากัน กรดใดมีค่าKa ต่า ร้อยละการแตกตัวต่าลงด้วย ความเข้ มข้ นของกรดอ่ อน เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของกรดอ่ อน กรดอ่อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 2. กรดโพลิโพรติก polyprotic acid คือ กรดอ่ อนทีแตกัวได้ มากกว่ า 1 ครั้ง ให้ H+ ได้ หลาย ่ ครั้งครั้งเดียว H2O [ H  ][ HA ] H2A(aq) H+(aq) + HA-(aq) K a1  [ H 2 A] H2O [ H  ][ A2 ] HA-(aq) H+(aq) + A2-(aq). K a2  [ HA ] ** ส่ วนใหญ่ Ka1 จะสู งกว่ า Ka2 จึงมักใช้ ค่าKa1 ในการเปรียบเทียบความแรงของกรด K a1 ถ้ า Ka2  10 4 ถือว่า H+ เกิดจากขั้นตอนที่ 1 [H  ]  K a1C เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 17
  • 18. 04/10/54 Acids and Bases ค่ าคงทีการแตกตัวของกรดพอลิโปรติก ่ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่ างการแตกตัวของกรดอ่ อนโพลิโพรติก 1. กรดแอสคอร์บิก H2C6H6O6 ในโจทย์น้ ีจะย่อเป็ น H2Asc เราทราบว่าเป็ นวิตามินซี จัดเป็ นไดโพรติก Ka1 = 1 x 10-5 และ Ka2 = 5 x 10-12 จงคานวณ [H2Asc],[HAsc-],[Asc2-] และ [H+]ของสารละลายH2Asc เข้มข้น0.05mol/dm3 ข้อเดียวก็พอแล้วครับ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 18
  • 19. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวของเบสอ่ อน เบสอ่อน คือ เบสที่แตกตัวได้ไม่หมดในน้ าโดย เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ H2O B(aq) BH+(aq) + OH-(aq) ถ้าเบสอ่อนคนละชนิดกันให้ดูค่าKb [ BH  ][OH  ] Kb  ถ้า Kb มาก แสดงว่าแตกตัวได้ดี ปฏิกิริยาดาเนินไป [ B] ข้างหน้ามาก มีความเป็ นเบสสูงกว่า เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแตกตัวของเบสอ่ อน การหาความเข้มข้น โปรดใช้ ค่าประมาณ H2O B(aq) BH+(aq) + OH-(aq) C กรณีที่ 1 K  100 จะได้ [OH  ] K bC b i C 0 0 กรณีที่ 2 K C  100 คานวณตามสมการปกติ c -x +x +x b x 2  Kb x  KbC  0 e C -x +x +x [ x][ x] จะได้ สมการกาลัง 2 Kb  [C  x] x 2  Kb x  KbC  0 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 19
  • 20. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวของเบสอ่ อน การหาร้อยละการแตกตัว กรณีที่ 2 C  100 Ka H2O B(aq) BH+(aq) + OH-(aq) ร้ อยละการแตกตัว 5 ความเข้ มข้ นของ OH-ที่สมดุล เบสมอนอโพรติกชนิดเดียวกัน มีความ ร้ อยละการแตกตัว = X 100 ความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของเบสอ่ อน เข้ มข้ นต่ างกัน C1 และ C2 กรณีที่ 1 C Kb  100 จะได้ % การแตกตัวของC1 C2 ร้ อยละการแตกตัว = [OH  ] 100  K bC 100  Kb 100 = C C [OH  ] % การแตกตัวของC2 C1 ร้ อยละการแตกตัว 5 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่ างการคานวณการแตกตัวของเบสอ่ อน 1. สารละลาย NH3 0.15 mol/dm3 ปริ มาตร 500 dm3 จะมีปริ มาณ [OH-] กี่ mol/dm3 กาหนดให้ Kb ของNH3 เท่ากับ 1.76 x 10-5 2. สารละลายยูเรี ย เข้มข้นร้อยละ 36 โดยมวลต่อปริ มาตร จะมีปริ มาณ [OH-] กี่ mol/dm3 กาหนดให้ Kb เท่ากับ 1.5 x 10-14 3. ความเข้มข้น OH- วัดได้จากสารละลาย NH3 เท่ากับ 1.5 x 10-3 mol/dm3 ( Kb เท่ากับ 1.8 x 10-5 ) ความเข้มข้นเริ่ มต้นของNH3 กี่ mol/dm3 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 20
  • 21. 04/10/54 Acids and Bases ความแรงของกรดและเบส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความแรงของกรดและเบส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 21
  • 22. 04/10/54 Acids and Bases ความแรงของกรดไฮโดร เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความแรงของกรดไฮโดร เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 22
  • 23. 04/10/54 Acids and Bases ความแรงของกรดออกซี เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความแรงของกรดออกซี เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 23
  • 24. 04/10/54 Acids and Bases การแตกตัวเป็ นไอออนของนา ้ การแตกตัวเป็ นไอออนเอง (Autoionization) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ค่ าคงทีการแตกตัวของนา:Kw ่ ้ H2O + H2O H3O+ + OH- ค่ าKw ทีอุณหภูมต่างๆ ่ ิ   K [ H 3O ][OH ] อุณหภูมิ Kw อุณหภูมิ Kw [ H 2O]2 (C) (C) K.[H2O]2 = Kw = [H3O+][OH-] 0 1.5x10-15 30 1.5x10-14 10 3.0x10-15 40 3.0x10-14 การแตกตัวของน้ าขึ้นกับอุณหภูมิ 20 6.8x10-15 50 5.5x10-14 - ถ้าอุณหภูมิสูง การแตกตัวมาก Kw มาก 25 1.0x10-14 60 9.5x10-14 - ถ้าอุณหภูมิต่า การแตกตัวมาก Kw น้อย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 24
  • 25. 04/10/54 Acids and Bases ค่ าคงทีการแตกตัวของนา:Kw ่ ้ Kw = [H3O+][OH-] คาถาม Kw = 1.0 x 10-14 ที่ 25C ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดที่ใช้ใน [H3O+][OH-] = 1.0 x 10-14 บ้านเรื อนชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของ in a neutral solution : [H3O+] = [OH-] OH- เท่ากับ 0.0025 M จงคานวณหา ความเข้มข้นของ H3O+ [H3O+] = [OH-] = 1.0 x 10-7 mol/dm3 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความสัมพันธ์ ระหว่ างKa Kb และ Kw [ H 3O  ][ A ] HA+H2O H3O++A- ; Ka  ปฏิกริยาการแตกตัวของกรดอ่อน ิ [ HA] A- + H 2 O HA + OH-; [ HA][OH  ] ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ิ Kb  [ A ] [ H 3O  ][ A ] [ HA][OH  ] K a xK b  x  Kw [ HA] [ A ] เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 25
  • 26. 04/10/54 Acids and Bases ความเข้ มข้ นของ H3O+และ OH- กับความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่ างการคานวณความสัมพันธ์ ระหว่ างKa Kb และ Kw 1. จงคานวณหาค่ าคงทีการแตกตัวของF- กาหนดให้ KaของกรดHF=6.6x10-4 ่ 2. จากปฏิกริยาการแตกตัวของกรดแอซิตก(CH3COOH) ซึ่งมีค่า Ka =1.8x10-5 ิ ิ จงคานวณหาค่ าคงทีการแตกตัวของคู่เบส ่ 3. ถ้ าค่ า Ka ของกรดฟอร์ มก (HCOOH) เท่ ากับ 1.8 x 10-4 จงหาค่ า Kbของปฏิกริยา ิ ิ สมดุลของฟอร์ เมตไอออน (HCOO -) 4. CH3NH3+ + H2O CH3NH2 + H3O+ จะมีค่าคงทีสมดุลเท่ าไร ถ้ าค่ าKb ของCH3NH2 เท่ ากับ 4.3 x 10-4 ่ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 26
  • 27. 04/10/54 Acids and Bases pH ของสารละลาย ปี ค.ศ.1909 ซอเรน ปี เตอร์ ลอริทซ์ ซอเรนเซน (Soren Peter Lauritz Sorenson) นักชีวเคมีชาวเดนมาร์ ก ได้ เสนอ มาตรส่ วน pH (power 0f hydrogen) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การวัด pH ของสารละลาย • วิธเทียบส ี : การใชอินดิเคเตอร์ ี ้ • วิธวดความต่างศักย์ : การใช ้ pH meter ี ั เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 27
  • 28. 04/10/54 Acids and Bases การวัด pH ของสารละลาย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การวัด pH ของสารละลาย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 28
  • 29. 04/10/54 Acids and Bases pH ของสารละลาย มาตรส่ วน pH (pH scale) ใช้ บอกความเป็ นกรด-เบสของสารละลาย pH = - log[H3O+] เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases pH และpOHของสารละลาย pOH = -log[OH-] pH = - log[H3O+] [OH-] = 10-pOH [H3O+] = 10-pH pH + pOH = 14 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 29
  • 30. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณหาค่ าpH และpOHของสารละลาย 1. จงคานวณหา pH ของสารละลายต่ อไปนี้ ก) HCl 0.0040 M ข) NaOH 0.020 M ค) CH3COOH 0.10 M (Ka=1.8x10-5) 2. สารละลายกรดอ่อน HA เข้ มข้ น 0.20M มี pH = 4 จงคานวณหาค่ า Ka ของกรดอ่อนนี้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความสั มพันธ์ ระหว่าง Ka,Kb,pH และpOH 1 1 1. pH    [OH  ] 2. pOH    [H  ] [H ] [OH ] 1 3. สาหรับกรดอ่อนใดๆ [ H  ]  K a  pH  1 3. สาหรับเบสอ่อนใดๆ [OH ]  K b  pOH เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 30
  • 31. 04/10/54 Acids and Bases สรุ ปความสั มพันธ์ ระหว่ าง Ka,Kb,pH และpOH pOH [H  ]  Ka Kbมาก [OH-]มาก Kaมาก [H+]มาก [H+]น้อย pOHต่า pH สูง [OH-]น้อย pH ต่า pOH สูง [OH  ]  Kb pH เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณความสั มพันธ์ ระหว่าง Ka,Kb,pH และpOH 1. จงคานวณความเข้มข้น H3O+ และ OH- ในสารละลาย HNO3 เข้มข้น 0.05 mol/dm3 2. จงคานวณ pH ของสารละลายที่มี H3O+ เข้มข้น 0.05 mol/dm3 3. สารละลายชนิดหนึ่งมี pH เท่ากับ3.301 จงคานวณความเข้มข้นของ H3O+ เข้มข้นใน สารละลาย 4. จงคานวณความเข้มข้นของ H3O+ , OH- ,pH ,pOH ของสารละลายHNO3 เข้มข้น 0.015mol/dm3ในสารละลาย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 31
  • 32. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง สารละลายกรดแก่ จานวนโมล H+ ก่อนเติมน้ า = จานวนโมล H+ หลังเติมน้ า C1V1 C2V2  1000 1000 Ex. เมื่อนาสารละลาย HCl ที่มี pH เท่ากับ 3 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้ 100cm3สารละลายทีมีค่า pH เท่าไหร่ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง สารละลายกรดอ่อน Ka ก่อนเติมน้ า = Ka หลังเติมน้ า ใช้สูตรนี้ K a1  K a 2 [ H  ]  K aC Ex. สารละลาย HF ที่มี pH เท่ากับ 4 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้สารละลาย 100cm3 ทีมีค่า pH เท่าไหร่ ( Kb ของ NH3 เท่ากับ 6.8 x 10-4 ) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 32
  • 33. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง สารละลายเบสแก่ จานวนโมล OH- ก่อนเติมน้ า = จานวนโมล OH- หลังเติมน้ า C1V1 C2V2  1000 1000 Ex. เมื่อนาสารละลาย KOH ที่มี pH เท่ากับ 10 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้ 100cm3สารละลายทีมีค่า pH เท่าไหร่ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดและเบสเจือจาง สารละลายเบสอ่อน Kb ก่อนเติมน้ า = Kb หลังเติมน้ า ใช้สูตรนี้ Kb1  Kb 2 [OH  ]  K bC Ex. สารละลาย NH3 ที่มี pH เท่ากับ 10 ปริ มาตร 10 dm3 มาผสมน้ าให้ได้ สารละลาย100 cm3 ทีมีค่า pH เท่าไหร่ ( Kb ของ NH3 เท่ากับ 1.8 x 10-5 ) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 33
  • 34. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน สารละลายกรดแก่ผสมกับกรดแก่ [H+]รวม = [H+]ของกรดแก่แต่ละชนิดบวกกัน C1V1 C2V2 CtotolVtotol   1000 1000 1000 Ex. สารละลายเกิดจากการผสม HCl เข้มข้น 12 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 cm3 กับ HNO3 เข้มข้น 16 mol/dm3 ปริ มาตร 300 cm3 แล้วเติมน้ ากลันจนมีปริ มาตร ่ 500cm 3 จงคานวณหา [H+] [OH-] และ pH ของสารละลายผสมดังกล่าว เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน สารละลายกรดแก่ผสมกับกรดอ่อน ให้หาความเข้มข้นของH+ ของกรดแก่และกรดอ่อน แล้วมารวมกัน ถ้ารวมได้ก็รวม ถ้ารวมไม่ได้กเ็ อาแค่ H+ ของกรดแก่ Ex. จงคานวณค่าpH สารละลายผสม HNO3 เข้มข้น 0.05 mol/dm3 และ CH3COOH 0.5 mol/dm3 ( Ka ของ CH3COOH เท่ากับ 1.8 10-5 ) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 34
  • 35. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย สารละลายที่เกิดจากกรดผสมกันและเบสผสมกัน สารละลายกรดอ่อนผสมกับกรดอ่อน ให้หาความเข้มข้นของH+ ของกรดอ่อนแตละชนิด แล้วมารวมกัน ถ้ารวมได้ก็รวม Ex. จงคานวณค่าpH ของสารละลายที่เกิดจากการผสม HCN เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ( Ka ของ HCN เท่ากับ 6.2 10-10 ) กับ HNO2 5.0 mol/dm3 ( Ka ของ HNO2 เท่ากับ 4.0 10-4 ) จงคานวณ NO2- และ CN- ในสารละลายผสมดังกล่าว กรณีเบส คิดเหมือนกันครับ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการคานวณ pH ของสารละลาย กรณีเบส คิดเหมือนกันครับ Ex. สารละลายผสมที่ประกอบด้วยKOH 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 dm3 กับ Mg(OH)2 0.05 mol/dm3 ปริ มาตร 50.0 dm3 จงหาpHของสารละลาย Ex. สารละลายผสมที่ประกอบด้วยNaOH 0.2 mol/dm3 ปริ มาตร 40.0 dm3 กับ NH3 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 60.0 dm3 ( Kb ของNH3 เท่ากับ 1.8 x 10-5 )จงหาpH ของสารละลาย เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 35
  • 36. 04/10/54 Acids and Bases ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส กรดอ่อน HA ให้โปรตอนแก่น้ า จะได้คู่เบสของกรดอ่อนซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากับน้ า เรี ยกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส Hydrolysis HA(l) + H2O(l) H3O+(aq) + A-(aq) [ H 3O  ][ A ] ปฏิกริยาการแตกตัว ิ Ka  [ HA] ของกรดอ่อน [ HA][OH  ] A-(aq) + H2O(l) HA(aq) + OH-(aq) Kb  [ A ] ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ิ ่ (1) + (2) จะได้วา K a  Kb  [ H 3O  ][ A ] [ HA][OH  ] [ HA]  [ A ]  [ H 3O  ][OH  ] K w  11014 สรุ ปว่า K w  K a ( HA)  Kb( A ) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส กรดอ่อน HA ให้โปรตอนแก่น้ า จะได้คู่เบสของกรดอ่อนซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากับน้ า เรี ยกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส Hydrolysis B(l) + H2O(l) BH+(aq) + OH-(aq) [ BH  ][OH  ] ปฏิกริยาการแตกตัว ิ Kb  [ B] ของเบสอ่อน [ B][ H 3O  ] BH+(aq) + H2O(l) B(aq) + H3O+(aq) Ka  [ BH  ] ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ิ ่ (1) + (2) จะได้วา K a  Kb  [ BH  ][OH  ] [ B][ H 3O  ] [ B]  [ BH  ]  [ H 3O  ][OH  ] K w  11014 สรุ ปว่า K w  K a ( BH  )  Kb ( B )  1014 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 36
  • 37. 04/10/54 Acids and Bases ความสั มพันธ์ ระหว่างค่ า Ka และ Kb ของคู่กรด-เบส K w  K a ( BH  )  Kb ( B )  1014 ใส่ log เข้าไปครับจะได้วา pK a   log K a ่ pKb   log Kb pK w  pK a  pKb  14 ตัวอย่ าง : ถ้าค่าKa ของกรดฟอร์มิก (HCOOH)เท่ากับ 1.8 x 10-4 จงหาค่าKb ของ ปฏิกิริยาสมดุลของฟอร์เมตไอออน(HCOO-) HCOO- + H2O HCOOH + H3O+ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases อินดิเคเตอร์ สาหรับกรด-เบส 1. เป็ นสารอินทรี ยที่มีสี จัดเป็ นสารประเภทสี ยอม ์ ้ 2. มีสมบัติเป็ นกรดอ่อน แทนด้วย HIn หรื อมีสมบัติเป็ นเบสอ่อน แทนด้วย In 3. เป็ นสารอินทรี ยที่มีโมเลกุลสลับซับซ้อน ไม่ละลายน้ า แต่ละลายในแอลกอฮอล์ ์ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 37
  • 38. 04/10/54 Acids and Bases ช่ วงpHการเปลียนสี ของอินดิเคเตอร์ ่ อินดิเคเตอร์ ่ ชวง pH ี ี่ สทเปลียน ่ ของอินดิเคเตอร์ Methyl orange 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง Bromothymol 6.0 – 7.6 เหลือง – นำเงิน ้ blue Phenolphthalei 8.3 – 10.0 ไม่มส ี – ชมพู ี n เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่ างอินดิเคเตอร์ บางชนิด ยูนิเวอร์ ซัล อินดิเคเตอร์ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 38
  • 39. 04/10/54 Acids and Bases สมดุลของอินดิเคเตอร์ HIn(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + In-(aq) [ H 3O  ][ In  ] [ HIn] Ka  [ H 3O  ]  K a [ HIn] [ In  ] ในสารละลายกรด(H3O+) เป็ นสี ของ HIn ในสารละลายเบส(OH-) เป็ นสี ของ In- เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์ รู ปกรด รู ปเบส HIn(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + In-(aq) โดยทัวไปตาของมนุษย์ จะสามารถ ่ [ HIn] มองเห็นและบอกความแตกต่ างของ [ H 3O  ]  K a ใส่ -log ทั้ง 2 ข้าง สีของรูปกรดและรูปเบสได้ เมือความ [ In  ] ่ [ HIn] เข้ มข้ นของรูปทังสองต่ างกันอย่ าง ้  log[ H 3O  ]   log K a  ( log )  [ In ] น้ อยประมาณ 10 เท่ า ดังนั้น [ HIn] จะเห็นสี ของรู ปกรด เมื่อ [HIn]/[In-] ≥ 10/1 pH  pK a  log จะเห็นสี ของรู ปเบส เมื่อ [HIn]/[In-] ≤ 1/10 [ In  ] 1/10 ≤ [HIn]/[In-] ≤ 10/1 จะเห็นเป็ นสี ผสม ระหว่างรู ปกรดและเบส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 39
  • 40. 04/10/54 Acids and Bases การหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์ รู ปกรด รู ปเบส HIn(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + In-(aq) จะเห็นสีของรูปกรด เมื่อ [HIn]/[In-] ≥ 10/1 จะเห็นสีของรู ปเบส เมื่อ [HIn]/[In-] ≤ 1/10 [ HIn] pH  pK a  log pH  pK a  log [ HIn] [ In  ] [ In  ] 10 pH  pK a  log 1 1 pH  pK a  log 10 pH  pK a  1 pH  pK a  1 นั่นคือช่ วงpH ทีเ่ ปลียนสี = pKa 1 ่ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ประโยชน์ ของอินดิเคเตอร์ - ใช้ วด pH ของสารละลาย ั - ใช้ บอกจุดยุตในการไทเทรตกรด-เบส ิ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 40
  • 41. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่างการหาค่ าอินดิเคเตอร์ A เป็ นอินดิเคเตอร์ ชนิดหนึ่งมี pKa=7.1 รู ปกรดมีสีเหลืองส่ วนรู ปเบสมีสีนาเงิน ้ เมือนาอินดิเคเตอร์ A มาหยดลงในสารละลายทีมี pH=6.5, 5.2 และ 9.1 จะมีสีอะไร ่ ่ ตามลาดับ HIn เป็ นอินดิเคเตอร์ กรดอ่ อน ถ้ า HIn เข้ มข้ น 0.20M แตกตัวได้ 10% จงคานวณหาช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์ ชนิดนี้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ตัวอย่างการหาค่ าอินดิเคเตอร์ • กาหนดช่ วง pH และการเปลียนสีของอินดิเคเตอร์ ต่างๆ ให้ ดงตาราง ่ ั อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH การเปลี่ยนสี A 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง B 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง C 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน D 8.3 – 10.0 ไม่ มีสี - ชมพู เมื่อนาสารละลายชนิดหนึ่งมาเติมอินดิเคเตอร์ A,B,C อินดิเคเตอร์ สี ของสารละลาย และ D ได้ ผลดังนี้ A เหลือง สารละลายนีอยู่ในช่ วง ้ B เหลือง pH ใด ? C น้าเงิน D ไม่ มีสี เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 41
  • 42. 04/10/54 Acids and Bases ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบส ิ • ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบสจะได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นเกลือกับนา ิ ้ HCl(aq)+NaOH(aq) NaCl(aq)+H2O(l) H2SO4(aq)+Ba(OH)2 BaSO4(s)+H2O(l) • แต่ บางปฏิกริยาได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นเกลือเพียงอย่างเดียว ไม่ มีนา ิ ้ NH3(g)+HCl(g) NH4Cl(s) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases ปฏิกริยาระหว่างกรดกับเบส ิ ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสเรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน(Neutralization reaction) คือปฏิกิริยาที่ H3O+ จากสารละลายกรดทาพอดีกบ OH- จาก ั สารละลายเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นน้ า H3O+(aq) + OH-(aq) 2H2O(l) • จุดสะเทิน หรื อจุดสมมูล(Equivalence point) คือจุดที่กรดและเบสทา ปฏิกิริยาพอดีกน ั • จุดยุติ(End point) คือจุดที่อินดิเคเตอร์ เปลี่ยนสี เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 42
  • 43. 04/10/54 Acids and Bases จงเขียนปฏิกริยาระหว่างกรด-เบสต่ อไปนี้ ิ 1. H2SO4 + Ca(OH)2 2. BaO + HBr 3. CH3COOH + NaOH 4. NH4OH + H2SO4 5. HNO3 + KOH 6. H2CO3 + Sr(OH)2 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การเตรียมเกลือต่ างๆ 1. โลหะ + กรด (โลหะจะแทนที่ H ในกรด Zn + 2HCl ZnCl2 + H2 2. โลหะออกไซด์ + กรด (โลหะในโลหะออกไซด์ จะแทนที่ H ในกรด BaO + 2HCl BaCl2 + H2O 3. เกลือ + กรด (โลหะในเกลือจะแทนที่ H ในกรด คาถาม 3NaHSO4 + H3PO4 Na3PO4 + 3H2SO4 ก้าเป็ นเกลือของ CO32- 4. เกลือ + เกลือ (โลหะในเกลือทั้ง 2 ชนิดจะแลกทีกน ่ั และ HCO3-ทาปฏิกริ ยา 2NaCl + K SO Na SO + 2KCl กับกรดจะได้.............. 2 4 2 4 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 43
  • 44. 04/10/54 Acids and Bases จงเขียนสมการแสดงปฏิกริยาการเกิดในแต่ ละข้ อต่ อไปนี้ ิ 1. CaCO3 + HCl 2. KNO3 + Na3PO4 3. Mg + H2SO4 4. CH3COONa + H2SO4 5. Ca(HCO3)2 + HCl 6. AgNO3 + NaCl เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การแบ่ งประเภทของเกลือโดยอาศัยการละลายนา ้ 1. เกลือที่ไม่ละลายน้ า มีดงต่อไปนี้ ั - เกลือซัลไฟด์ S2- ซัลเฟต SO42- คาร์บอเนต CO32- ไฮโดรเจนฟอสเฟต HPO42- และ ฟอสเฟต PO43- ของโลหะไอออนหมู่2A จะไม่ละลายน้ า ยกเว้น MaSO4 - เกลือคลอไรด์ Cl- โบรไมด์ Br- และไอโอไดด์ I- ของ Ag+ Pb2+ และ Hg22+ เมอร์คิวรี (I) ไอออน ไม่ละลายน้ า 2. เกลือที่ละลายน้ า เมือนาเกลือดังกล่าวมาละลายน้ า สารละลายเกลือที่ได้อาจมีสมบัติเป็ นกรด เบส ่ ั ่ กลาง ก็ได้ ขึ้นอยูกบไอออนบวกหรื อไอออนลบของเกลือที่ละลายน้ าได้วาจะให้ หรื อรับ H + กับนา ้ เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 44
  • 45. 04/10/54 Acids and Bases เกลือทีละลายนา ่ ้ 1. สารละลายมีสมบัติเป็ นกรด เกลือ + น้ า 2. สารละลายมีสมบัติเป็ นเบส 3. สารละลายมีสมบัติเป็ นกลาง เรี ยกปฏิกิริยาที่เกิดในข้อ 1 และ 2 ว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ส่วนปฏิกิริยาที่ 3 ไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases เกลือทีละลายนา ่ ้ 1. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นกลาง คือไม่แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า ได้แก่ โลหะไอออนหมู่ IA และ IIA SO42- ,ClO4-, NO3-, Cl- ,Br- และ I- 2. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นกรด คือ แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า โดยไอออน จะให้H+กับ H2O ในสารละลายจะมี H3O+ ได้แก่ โลหะไอออนแทรนซิชน Al3+, ั NH4+ และ HSO4- 3. ไอออนที่มีสมบัติเป็ นเบส คือ แสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ า โดยไอออน จะรับ H+จาก H2O ในสารละลายจะมี OH- ได้แก่ ไอออนลบเกือบทั้งหมด ยกเว้น Cl-, Br-,I- ,SO42-,ClO4-,NO3- และ HSO4- เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 45
  • 46. 04/10/54 Acids and Bases ตัวอย่ างการพิจารณา 1. KCl (aq) KCl (aq) K+ (aq) + Cl- (aq) ทั้งK+ และ Cl- ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ดังนั้นสารละลาย KCl จึงมีสมบัติเป็ นกลาง ิ 2. NH4Cl (aq) NH4Cl (aq) NH4+ (aq) + Cl- (aq) ทั้งNH4+ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส แต่ Cl- ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ิ ิ NH4 + + HO NH3 + H3O + 2 แสดงว่าสารละลายNH4Cl เป็ นกรด 3. KCN (aq) KCN (aq) K+ (aq) + CN- (aq) ทั้งK+ ไม่ เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส แต่ CN- เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ิ ิ CN- + H2O HCN + OH- แสดงว่า สารละลาย KCN เป็ นเบส เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases คาถาม 1. เมื่อเกลือต่ อไปนีละลายนา สารละลายที่จะมีสมบัติเป็ นกรด เบส หรือ กลาง พร้ อมเขียนสมการ ้ ้ แสดงปฏิกริยา ิ 1. KHSO4 2. K2S 3. (NH4)2SO4 4. K2HPO4 5. CH3COOLi 6. CuSO4 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 46
  • 47. 04/10/54 Acids and Bases สาคัญอย่ างแรงๆๆๆ กรณีทเี่ กลือนั้นมีไอออนทีเ่ ป็ นได้ ท้งกรดและเบส คือ สามารถทาปฏิกริยาไฮโดรไลซิส ั ิ ทั้ง 2 ไอออน เช่ น NH4F, NH4CN เป็ นต้ น จึงยากทีจะบอกได้ ว่าเป็ นกรดหรือเบส หรือ ่ กลาง หลักง่ ายๆคือพิจารณาค่ า Ka ของคู่กรด และ Kb ของคู่เบส Kw Kaของคู่กรดแทนด้วย Ka* = Kb(คู่เบส) Ka* > Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกรด Ka* < Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นเบส Kw Kbของคู่กรดแทนด้วย Kb* = Ka* = Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกลาง Ka(คู่กรด) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases โจทย์ ตวอย่ าง ั เกลือต่ อไปนีเ้ มือละลายนา มีสมบัตเิ ป็ นกรด เบส หรือกลาง NH4CN , NH4NO2 ่ ้ กาหนดให้ Ka ของ HCN เท่ ากับ 10-10 กาหนดให้ Ka ของ HNO2 เท่ ากับ 10-4 กาหนดให้ Kb ของ NH3 เท่ ากับ 10-5 เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 47
  • 48. 04/10/54 Acids and Bases บทสรุป ละลายน้ า เกลือที่เกิดจากกรดแก่ - เบสแก่ ได้สารละลายที่เป็ นกลาง เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน - เบสแก่ ละลายน้ า ได้สารละลายที่เป็ นเบส เกลือที่เกิดจากกรดแก่ - เบสอ่อน ละลายน้ า ได้สารละลายที่เป็ นกรด เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน - เบสอ่อน ละลายน้ า Ka* > Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกรด Ka* < Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นเบส Ka* = Kb* สารละลายเกลือมีสมบัติเป็ นกลาง เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 Acids and Bases การคานวณปริมาณ H3O+ OH- และ pH ของเกลือทีเ่ กิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับนา ิ ้ 1. สารละลายเกลือที่เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับน้าที่มีสมบัติเป็ นกรด (เกลือของกรดแก่ – เบสอ่อน) ิ BH+X- BH+ + X- เกิดปฏิกริยาไฮโดรไลซิสกับนา ิ ้ [B][H3O+] [OH-] BH+ + H2O B + H3O+ Kh = [BH+] * [OH-] [BH+][OH-] 1 = [B] B + H2O BH+ + OH- Kb = [B] Kb [BH+][OH-] สรุ ป ได้ ว่า Kh = Kw Kb(เบส,B) เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40224 ปี การศึกษา 2551 48