SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
1. บอกความหมายการไทเทรต  สารละลายมาตรฐาน   (standard    solution)   จุดสมมูล ( equivalence point)  และ   จุดยุติ ( end point) 2.  อธิบายวิธีหาจุดยุติของปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรด -  เบส โดย   ใช้อินดิเคเตอร์สำหรับกรด - เบสได้  1
จุดประสงค์การเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2
การไทเทรตกรด  -  เบส เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณหาความเข้มข้นกรดหรือเบส โดยทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลายมาตรฐานกรดหรือเบสที่ทราบความเข้มข้น วัดปริมาตรสารละลายที่ทำปฏิกิริยากันพอดีแล้วนำไปคำนวณหาความเข้มข้นตามปริมาณสัมพันธ์จากสมการเคมี 3
อุปกรณ์ในการไทเทรต บิวเร็ต แคลมป์หนีบบิวเร็ต + ขาตั้ง ปิเปตต์ ลูกยางปิเปตต์ 4
การเตรียมการไทเทรต บรรจุสารละลายมาตรฐาน บรรจุสารที่ต้องการวิเคราะห์ + อินดิเคเตอร์ กรดแก่หรือเบสแก่ แก่   , อ่อน 5
คือ การเติมสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอนหรือเรียกว่า  สารละลายมาตรฐาน   ( Standard solution ) จากบิวเรตต์ ลงในสารละลายตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ จนเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ ภาวะที่กรดและเบสทำปฏิกิริยาพอดีกัน  เรียกว่า  จุดสมมูล ( Equivalence point ) 6
การสังเกตุภาวะที่จุดสมมูลไม่สามารถทำได้โดยง่าย ดังนั้นการไทเทรตจึงติดตามภาวะที่ใกล้เคียงกับ จุดสมมูล  เรียกว่า  จุดยุติ   (  End point  )  โดยอาจติดตามด้วยวิธีการตรวจการนำไฟฟ้า  หรือ การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ 7
เทคนิคการไทเทรต 8
จุดยุติ  ( End point) 9 เกินจุดยุติ
ก่อนการไทเทรต การอ่านปริมาตรสารละลายมาตรฐาน ที่มา  http://www.wwnorton.com/college/chemistry ปริมาตรเริ่มต้น  10 เริ่มต้น   3.5 cm 3
การอ่านปริมาตรสารละลายมาตรฐาน หลังการไทเทรต ปริมาตรสารละลายที่ใช้ = 16.5 – 3.5 = 13.0 cm 3 ที่มา  http://www.wwnorton.com/college/chemistry ปริมาตรเริ่มต้น  3.5  cm 3 ปริมาตรจุดยุติ 11 จุดยุติ  16.5 cm 3
ตัวอย่างการคำนวณการไทเทรตกรด - เบส ในการไทเทรตสารละลายกรด   HCl   ปริมาตร  25 cm 3   ด้วยสารละลายมาตรฐาน  NaOH 0.1 M   เมื่อถึงจุดยุติปรากฏว่าใช้สารละลายมาตรฐานปริมาตร  13 cm 3   จงหาความเข้มข้นของสารละลาย  HCl   NaOH(aq) + HCl(aq)     NaCl(aq)  +  H 2 O(l) การคำนวณ  สารทำปฏิกิริยาพอดีกันโมลสารย่อมเท่ากัน เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่ดุลแล้ว 12
HCl(aq) +  NaOH(aq)   NaCl(aq) +  H 2 O(aq) โมล  1  1  1  1 [C]  a mol/dm 3  0.1 mol/dm 3   V  25.0 cm 3  13.0 cm 3   C (HCl)   =  0.052 M สารละลายกรด   HCl   เข้มข้น  0.052 mol / dm 3 = 13 C 1 V 1 1000 C 2 V 2 1000 1000 0.1M .13 cm 3 C HCl  .25 cm 3 1000
เป็นกราฟที่เขียนจากปริมาตรของ สารละลายมาตรฐาน กับค่า   pH   ที่เปลี่ยนไปของ สารตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ (Acid – Base Titration curve) 14
ข้อมูลการเปลี่ยนค่า  pH   การไทเทรตกรดแก่ ด้วยเบสแก่ ที่มา  http://www.wwnorton.com/college/chemistry 15
HCl (aq) +  NaOH (aq)  กราฟการไทเทรตกรดแก่ ด้วยเบสแก่ เติม  0.1 M NaOH  ลงใน   25  cm 3  HCl 0.1 M จุดสมมูล 25 pH ปริมาตร ( NaOH) pH   จุดสมมูล ปริมาตรจุดสมมูล ที่มา   :   หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม  3  สสวท 16 ปริมาตร  NaOH pH   สารละลาย 0 5 10 15 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 35 40 45 50   1.0 1.18 1.37 1.60 1.95 2.06 2.20 2.38 2.69 7.00 11.29 11.59 11.75 11.87 11.96 12.22 12.36 12.46 12.52
เมื่อพิจารณารูปกราฟจะแบ่งออกเป็น   3   ส่วน pH ปริมาตรเบสที่เติม 17 ช่วงก่อนถึงจุดสมมูล ช่วงหลังจุดสมมูล
CH 3 COOH (aq) +  NaOH (aq)   การไทเทรตกรดอ่อน ด้วยเบสแก่ เติม  0.1 M NaOH  ลงใน   25 cm 3 CH 3 COOH 8.87 จุดสมมูล pH   จุดสมมูล ปริมาตรจุดสมมูล 25 ปริมาตรเบสที่เติม ที่มา   :   หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม  3  สสวท pH 18 ปริมาตร  NaOH pH   สารละลาย 0 1 2 3 4 5 10 15 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 35 40 45 50   2.92 3.47 3.79 3.98 4.13 4.25 4.67 5.03 5.45 5.57 5.72 5.91 6.23 8.87 11.29 11.59 11.75 11.87 11.96 12.22 12.36 12.46 12.52
เปรียบเทียบกราฟของการไทเทรต 10 20 30 40 50 1 9 5 7 3 13 11 ปริมาตรเบสแก่   (cm 3 ) pH กรดแก่ - เบสแก่ กรดอ่อน - เบสแก่ กรดอ่อน กรดแก่ กราฟของการไทเทรตกรดอ่อนจะมี   pH   จุดเริ่มต้นที่สูงกว่า กรดแก่  และมีช่วงความชันสั้นกว่า กราฟการไทเทรตของกรดแก่ 19 pH  ที่จุดเริ่มต้น
การหาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรต 10 20 30 40 50 1 9 5 7 3 13 11 pH จุดสมมูล pH   ที่จุดสมมูล ปริมาตรที่จุดสมมูล ปริมาตรเบสที่เติม แบ่งครึ่งส่วนที่ชันที่สุดของกราฟ 20
การเลือกใช้อินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตกรด  -  เบส Ø Ø  8.3 -10.0 BB  6.0 -7.6 B ØB  3.0 -4.6 เลือกอินดิเคเตอร์ ที่เปลี่ยนสีในช่วงกราฟที่มีความชันมาก pH   จุดสมมูล ปริมาตรจุดสมมูล ปริมาตรเบสที่เติม Ø Ø  ฟีนอล์ฟทาลีน BB  โบรโมไทมอลบลู B ØB  โบรโมฟีนอลมอลบลู 21 จุดยุติ 10 20 30 40 50 1 9 5 7 3 13 11 pH จุดสมมูล ปริมาตรจุดยุติ    ปริมาตรจุดสมมูล
ปริมาตรจุดยุติจริง ปริมาตรจุดยุติที่ได้ pH   จุดยุติ การเลือกอินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตกรด  -  เบส ที่ไม่ถูกต้อง Ø Ø  8.3 -10.0 BB  6.0 -7.6 B ØB  3.0 -4.6 จุดสมมูล ปริมาตรเบสที่เติม 22 10 20 30 40 50 1 9 5 7 3 13 11 pH อินดิเคเตอร์ที่ใช้แล้ว ได้ผลไม่ถูกต้อง
http://www.chemtopics.com/aplab/diprotic.pdf การไทเทรตกรดไดโปรติก การไทเทรตกรด  H 2 SO 3   0.1  M  ปริมาตร  20  mL  ด้วยสารละลาย  0.1 M NaOH  สารละลายเบสจะทำปฏิกิริยากับกรดที่แตกตัวที่แตกตัว  2  ขั้น ดังนี้  H 2 SO 3   +  H 2 O ⇋  HSO 3 -   +  H 3 O +  K a1 HSO 3 -   +  H 2 O ⇋  SO 3 2-   +  H 3 O +  K a2 H 2 SO 3   +  2OH -  ⇋  SO 3 2 -   +  2H 2 O 23 ช่วงความชันที่กราฟเปลี่ยนแปลงค่า  pH  มาก จึงมี  2  ช่วง
กราฟการไทเทรตกรดไดโปรติก จุดสมมูล  1 จุดสมมูล  2 ปริมาตร  NaOH pH 4 6 8 10 12 2 5 10 15 20 25 pH = pK a2 pH = pK a1 H 2 SO 3   +  2OH -  ⇋  SO 3 -   +  2H 2 O ปริมาตรที่จุดสมมูล  1 ปริมาตรที่จุดสมมูล  2 24

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
Mole
MoleMole
Mole
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 

Similar to กรด เบส 7

Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสTutor Ferry
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบสporpia
 
กรด
กรดกรด
กรดporpia
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 

Similar to กรด เบส 7 (20)

Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
กรด
กรดกรด
กรด
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
6 colligative
6 colligative6 colligative
6 colligative
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 

กรด เบส 7

Editor's Notes

  1. กรด - เบส #7
  2. กรด - เบส #7