SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
สารละลายอิเล็กโตรไลต
สารละลายอิเล็กโตรไลต คือ สารที่ละลายน้ํา
หรือสารที่หลอมเหลวแลว สามารถนําไฟฟา
ได เชน NaCl, KNO3 และ HCl
    ดังนั้น สารที่ไมนําไฟฟา จึงไมเปน
อเิ ล็กโตรไลต เชน น้ําตาล และ ยูเรีย
ตัวอยางสารละลายอิเล็กโตรไลต
1) อิเล็กโตรไลตแก
 กรด       HCl HBrO3 HIO3 HClO4 HNO3 H2SO4
 เบส       LiOH NaOH Ba(OH)2 Ca(OH)2 Sr(OH)2
 เกลือ     เกลือสวนมาก
2) อิเล็กโตรไลตออน
กรด       HClO H2S HF H3PO4 H2CO3 HNO2
          H2SO3
เบส      NH3 และเบสอินทรีย

เกลือ    เกลือเฮไลด ไซยาไนด และไทโอไซยาเนต
         ของ Zn Cd และ Hg(II)
1. นิยามของกรดและเบส
 1.1   นิยามของอารเรเนียส
 1.2   นิยามของบรอนสเตด-เสารี
 1.3   นิยามของลิวอิส
 1.4   นิยามระบบตัวทําละลาย
1.1 นิยามของอารเรเนียส
 กรด คือ สารที่ละลายน้ํา แลว แตก
 ตัวให H + เชน

     HCl          H+ + Cl-

     H2SO4        H+ + HSO -
                                 4
     HCO3   -     H+ + CO 2-
                               3
เบส คือ สารที่ ละลายน้ํา แลวแตกตัวให
OH - เชน

   NaOH            Na  + + OH-

   Ba(OH)2         Ba  2+ + 2OH-

   Ca(OH)2         Ca  2+ + 2OH-
ความแรงของกรดและเบส
กรดแก  คือ กรดที่แตกตัวให H + มาก

กรดออน คือ กรดที่แตกตัวให H + นอย

เบสแก คือ เบสที่แตกตัวให OH - มาก

เบสออน คือ เบสที่แตกตัวให OH  - นอย
ปฏิกิริยาสะเทินของกรดและเบส
จะเปนปฏิกิริยาระหวาง H + และ

OH - เกิดเปน น้ํา
H ++  OH -   H2O(l)
HCl + NaOH   NaCl + H2O
กรด + เบส    เกลือ + น้ํา
ขอจํากัดของนิยามอารเรเนียส
 สารที่จะเปนกรดหรือเบสตองละลายน้ําเทานั้น
 สารที่ไมมี H+ หรือ OH- ในโมเลกุลไมจัดวาเปนกรด
  หรือเบส เชน NH4Cl NH3 CH3COONa
 H+ จะอยูในรูป hydrate ion เสมอ เขียนแทนดวย H3O+
  เรียกวา ไฮโดรเนียมไอออน หรือ ไฮดรอกโซเนียมไอออน
1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี

    กรด คือ สารที่ ให H +


    เบส คือ สารที่ รับ H +
ปฏิกิริยาระหวางกรดและเบส
เปนการเคลื่อนยายโปรตอนจาก
กรดไปยังเบส
HCl(aq)+H2O(l)      H3O+(aq) +Cl-(aq)
 กรด1 เบส2      กรด2        เบส1
 โดย
HCl และ Cl- เปน คูกรด-เบส คูที่ 1(conjugate acid-base)
H3O+ และ H2O เปน คูกรด-เบส คูที่ 2 (conjugate acid-base)
 และ
Cl- เปนคูเบส (conjugate base) ของกรด HCl
HCl เปนคูกรด (conjugate acid) ของ Cl-
CO32- + H2O    OH- + HCO3-
เบส1    กรด2   กรด2 เบส2

NH3 + H2O      NH4+ + OH-
เบส1 กรด2      กรด2 เบส2
H2O เปนไดทั้งกรดและเบส

  สารที่เปนฝายใหและรับ H+ เรียกวา
    แอมฟโปรตก (amphiprotic)
             ิ
ความแรงของกรดและเบส
ขึ้นอยูกับความสามารถในการใหและรับ H+
กรดแก คือ กรดที่ให H+ มาก
กรดออน คือ กรดที่ให H+ นอย
เบสแก คือ เบสที่รับ H+ มาก
เบสออน คือ เบสที่รับ H+ นอย
ขอสังเกต
1. สําหรับคูกรด-เบสคูหนึ่ง ถากรดเปนกรดแก คูเบสจะเปน
เบสออน เชน HCl เปน กรดแก Cl- เปน เบสออน
               NH3 เปน เบสออน NH4+ เปน กรดแก
 2. กรดหรือเบสอาจเปนโมเลกุลหรือไอออนก็ได
 3. โมเลกุลของน้ําอาจเปนฝายใหหรือรับ H+ ก็ได
 นั่นคือ น้ําเปนแอมฟโปรติกหรือแอมโฟเทอริก
คาคงที่ของสมดุล
 สมดุลของกรด
  ถามี กรด HA ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ
  HA(aq)+H2O(l)         H3O+(aq)+ A-(aq)
  จะมีคาสมดุลดังนี้
                Ka = [H3O+][A-]
                       [HA]
   เมื่อ Ka เปนคาคงทีของการแตกตัวของกรด
                       ่
 สมดุลของเบส
 ถามีเบส B ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการแตกตัวดังสมการ
   B(aq) + H2O(l)          BH+(aq) + OH-(aq)
 จะมีคาสมดุลดังนี้
           Kb = [BH+][OH-]
                   [B]
  เมื่อ Kb เปนคาคงที่ของการแตกตัวของเบส
ตัวอยางที่ 1 จงแสดงวาจากปฏิกิริยาตอไปนี้ สารใดเปนเบส
และกรดตามทฤษฎีบรอนสเตด-เลารี
 KNH2+NH4Cl               KCl+2NH3

จากสมการขางตนสามารถเขียนใหมในรูปสมการไอออนิก :
            NH2- + NH4+               2NH3
           เบส       กรด
ตัวอยางที่ 2 สารตอไปนี้ สารใดเปน กรดหรือเบสตามนิยาม
บรอนสเตด-เลารี
 ก. HI          ข. HNO2 ค. NH4+ ง. NH2- จ. HCO3-

  ก.   HI      เปน กรด
  ข.   HNO2    เปน กรด
  ค.   NH4+    เปน กรด
  ง.   NH2-    เปน เบส
  จ.   HCO3-   เปน กรดและเบส
1.3 นิยามของลิวอิส
กรด คือ สารที่รับคู e- จากเบสได แลวเกิดพันธะโคเวเลนต
เบส คือ สารที่ใหคู e- ในการเกิดพันธะโคเวเลนต
H ..   ..
  + + :O-H -                   ..
                            H-O-H
                               ..
  H       F                  H F
H-N: + B-F               H-N B-F
  H      F                H F
 เบส กรด
ส.ป.ก. ที่ธาตุมี V. e- < 8 หรือมีออรบิตอลวาง เชน BF3
AlCl3 จัดเปน กรดลิวอิส และเรียกธาตุนั้น วา อิเล็กโตรไฟล
(Electrophile)
ส.ป.ก.หรือไอออนที่มีคู e- โดดเดยว จัดเปน เบสลิวอิส
                                ี่
และเรียกอะตอมนั้นวา donor atom หรือนิวคลีโอไฟล
(Nucleophile) เชน O ใน OH-
                        N ใน NH3
ในปฏิกิริยาสะเทินระหวางโลหะออกไซด เชน
            ..              ..
      ..    O:              O:
                               .. 2-
   :O:2- + S-O:
      ..               :O S-O:
                               ..
           :O:
            ..             :O:
                            ..
ตัวอยางที่ 3
สารตอไปนี้สารใดเปนกรดตามนิยามของลิวอิส
NH4+ CH3+ BCl3 Fe2+ H2S

ตอบ       CH3+     BCl3       Fe2+
1.4 นิยามระบบตวทําละลาย
              ั
กรด คือ สารที่ใหไอออนบวกของตัวทําละลาย (ไอออนกรด)
เบส คือ สารที่ใหไอออนลบของตัวทําละลาย (ไอออนเบส)

กรด HCl ในตัวทําละลาย HC2H3O2:
HCl + HC2H3O2                H2C2H3O2+ + Cl-
กรด ตัวทําละลาย             ไอออนกรดของ
                            ตัวทําละลาย
NaC2H3O2 ในตัวทําละลาย HC2H3O2 :

NaC2H3O2+ HC2H3O2           C2H3O2-+ Na+ + HC2H3O2

เมื่อกรดและเบสทําปฏิกิริยากันใน HC2H3O2 :
 H2C2H3O2+ + C2H3O2-           2 HC2H3O2
ตัวอยางตัวทําละลายที่ใชในระบบตัว
ทําละลาย เชน H2O NH3 HC2H3O2
SO2 เปนตน
2. ปจจัยที่มีผลตอความแรงของกรดและเบส
  กรดไฮโดร
     - คาบเดียวกัน
       ความแรง            Z      EN
                   เชน NH3> H2O> HF
      - หมูเดียวกัน
        ความแรง           Z
         เชน HF<HCl<HBr<HI
                 H2O<H2S<H2Se<H2Te
กรดออกซี (H-O-Z)
    ความแรง         ENZ

ถาเปนกรดออกซีของอโลหะตัวเดียวกัน :
 ความแรง จํานวน O-atom            Oxidation number

        HClO<HClO2<HClO3<HClO4
เบส
- คาบเดียวกัน
  ความแรง         EN
    เชน NH3 > H2O > HF
          NH2- > OH-> F-
  ความแรง         จํานวนประจุ
    เชน N3- > O2- > F-
         N3- > NH2- > NH2- > NH3
Leveling effect
เปนปรากฏการณที่ตัวทําละลายบดบังความแรงของ
กรดและเบสตางๆ
 กรดในน้ํา :
  HCl + H2O               H3O+ + Cl-
 HNO3 + H2O               H3O+ + NO3-
 HClO4 + H2O            H3O+ + ClO4-
นั่นคือ เกิด leveling effect ของ น้ํา
      น้ํา เปน leveling solvent

More Related Content

What's hot

สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบสporpia
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
เบส
เบสเบส
เบสkruruty
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสTutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 

What's hot (19)

สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
เบส
เบสเบส
เบส
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 

Viewers also liked

Non-aqueous acid base titrimetry
Non-aqueous acid base titrimetryNon-aqueous acid base titrimetry
Non-aqueous acid base titrimetryObydulla (Al Mamun)
 
10 non aqueous-titrations
10 non aqueous-titrations10 non aqueous-titrations
10 non aqueous-titrationsmohamed_elkayal
 
Non Aqueous Acid Base Titration
Non Aqueous Acid Base TitrationNon Aqueous Acid Base Titration
Non Aqueous Acid Base TitrationZahir Khan
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminar
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminarnon aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminar
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminarSharath Hns
 
Non-aqueous Titration
Non-aqueous TitrationNon-aqueous Titration
Non-aqueous Titrationshubhambossu
 

Viewers also liked (7)

Non-aqueous acid base titrimetry
Non-aqueous acid base titrimetryNon-aqueous acid base titrimetry
Non-aqueous acid base titrimetry
 
10 non aqueous-titrations
10 non aqueous-titrations10 non aqueous-titrations
10 non aqueous-titrations
 
Non Aqueous Acid Base Titration
Non Aqueous Acid Base TitrationNon Aqueous Acid Base Titration
Non Aqueous Acid Base Titration
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminar
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminarnon aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminar
non aqueous titration, pharmaceutical and cosmetic analysis,Pca seminar
 
Non-aqueous Titration
Non-aqueous TitrationNon-aqueous Titration
Non-aqueous Titration
 
Non aqueous titration
Non aqueous titrationNon aqueous titration
Non aqueous titration
 

Similar to Acid base1

กรด
กรดกรด
กรดporpia
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptxJoySarocha
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.pptChewJa
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to Acid base1 (20)

Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
กรด
กรดกรด
กรด
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
Brands chemistry
Brands chemistryBrands chemistry
Brands chemistry
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 

Acid base1