SlideShare a Scribd company logo
04/10/54




                                         อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                                   โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ
                                                          ั
                                                   โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม




      เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40223 ปี การศึกษา 2551




                                         อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                                    การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึงการที่สารตังต้ น
                                                                            ้
                                    (reactant)เปลี่ ยนไปเป็ นสารใหม่ หรือสารผลิตภัณฑ์
                                    (product)โดยปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสารตัง   ้
                                    ต้ นจะลดลง แต่ ปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสาร
                                    ผลิตภัณฑ์ จะเพิ่มขึน้




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  1
04/10/54




                                                   อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี


    อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี หมายถึงการเปลียนแปลงความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น
                     ิ                      ่
    หรือสารผลิตภัณฑ์ ต่อหน่ วยเวลา
                      A +B                           C +D
                     Mg(s) + 2HCl(aq)          MgCl2(aq) + H2(g)
                     สารตั้งต้ นลดลง           ผลิตภัณฑ์ เพิมขึน
                                                            ่ ้



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                   อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
     การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl
                  ิ                                     V (H2)     Time (s)
                                                          1-2         20
                                                          2-3         40
                                                          3-4         65
                                                          4-5         86
                                                          5-6        109
                                                          6-7        134
    Mg(s) + 2HCl(aq)           MgCl2(aq) + H2(g)
                                                           7-8       164
    Mg(s) + 2H+ (aq)           Mg2+ (aq) + H2(g)
                                                           8-9       204
                                                          9-10       256

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                   2
04/10/54




                                                       อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
     การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl
                  ิ                                          V (H2)            Time (s)
   Mg(s) + 2HCl(aq)              MgCl2(aq) + H2(g)             1-2                20
    Mg(s) + 2H+ (aq)             Mg2+ (aq) + H2(g)             2-3                40
                                                               3-4                65
    * การเก็บแก็ส แต่ ละช่ วงใช้ เวลาเท่ ากันหรือไม่           4-5                86
                                                               5-6               109
                                                               6-7               134
    * นอกจากดูปริมาตรH2 แล้วดูอะไรได้ อกที่
                                       ี
    เปลียนแปลงได้บ้าง
        ่                                                      7-8               164
                                                               8-9               204
                                                              9-10               256

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                       อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
     การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl
                  ิ
                                                                      V (H2)       Time (s)
                           Volume of Hydrogen gas
                                                                       1-2             20
             300                                                       2-3             40
             250
             200                                                       3-4             65
      Time




             150                                          Time (s)
             100                                                       4-5             86
              50                                                       5-6             109
               0
                                                                       6-7             134
                   1
                       2
                       3 cm
                       4
                       5
                       6 6 cm
                       7
                       8
                       9
                   -
                         -3 m
                         -
                         -
                         -
                         -
                         -
                         -
                         -




                                                                       7-8             164
                           2


                           4
                           5


                           7
                           8
                           9
                           10
                             c


                             cm
                             cm


                             cm
                             cm
                             cm
                               cm




                             Volume
                                                                       8-9             204
                                                                       9-10            256


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                               3
04/10/54




                              อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                        A +B                                C +D
                        Mg(s) + 2H+ (aq)           Mg2+ (aq) + H2(g)

                     อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ปริมาณสารตั้งต้ นที่ลดลง
                                     ิ                 เวลา
                                                     [A2]- [A1]         [A]
                     อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี =
                                     ิ                             =
                                                       t2 – t1           t
                                                     [B2]- [B1]         [B]
                     อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี =
                                     ิ                             =
                                                       t2 – t1             t

                                                         สูตรติดลบ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                              อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                        A +B                                   C +D
                        Mg(s) + 2H+ (aq)           Mg2+ (aq)   + H2(g)
                                                   ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึน
                                                                               ้
                     อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี =
                                     ิ                      เวลา

                                                      [C2]- [C1]           [C]
                      อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี =
                                      ิ                                =
                                                        t2 – t1             t
                                                     [D2]- [D1]            [D]
                     อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี =
                                     ิ                              =
                                                        t2 – t1             t

                                                           สูตรไม่ติดลบ

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 4
04/10/54




                                                 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                                  ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                         ิ




                                                           อัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                             ิ
               อัตราการเกิดปฏิกริยาเฉลีย
                               ิ       ่
                                                            ณ ขณะใดขณะหนึง     ่
                    (Average rate)
                                                            (Instantaneous rate)


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                [] อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate) หมายถึงปริ มาณของสาร
                ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด หรื อปริ มาณของสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมดต่อ
                เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา

                                                ปริ มาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด
                อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
                                                 เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา
                                                  ปริ มาณสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมด
                อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
                                                เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                              5
04/10/54




                                                       อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
      อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี ณ ขณะใดขณะหนึง
                      ิ                     ่

                                                                     • อัตราการเกิดปฏิกริยา ณ ขณะใด
                                                                                           ิ
                                                                       ขณะหนึ่ง(Instantaneous rate)
                                                                       หมายถึงปริมาณสารตั้งต้ นที่เกิดขึน ณ
                                                                                                         ้
                                                                       ขณะใดขณะหนึ่ง หรือปริมาณสาร
                                                                       ผลิตภัณฑ์ ที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
                                                                       ต่ อเวลาที่ใช้ ในการเกิดปฏิกริยาในช่ วง
                                                                                                    ิ
                                                                       นั้น ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกริยาชนิดนีหา
                                                                                                  ิ          ้
                                                                       ได้จากค่าความชัน(slope)ของกราฟ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                       อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
     ตัวอย่าง        2N2O5(g)          4NO2 (g) + O2(g)
                                                                                       • ในช่วงเวลา 0 -100
         Time (s)                         ความเข้ มข้ น ( mol/dm3)
                                                                                       และ 500 – 600 วินาที
                                N2O5               NO2                     O2
                                                                                       อัตราการสลายตัว
             0              0.0200                0.0000                 0.0000
            100             0.0169                0.0063                 0.0016
                                                                                       ของแก๊ส N2O5 มีค่า
            200             0.0142                0.0115                 0.0029        เท่าใด
            300             0.0120                0.0160                 0.0040
            400             0.0101                0.0197                 0.0049        • ในช่วงเวลา 0 -100
            500             0.0086                0.0229                 0.0057        และ 500 – 600 วินาที
            600             0.0072                0.0256                 0.0064        อัตราการเกิดของแก๊ส
                                                                                       NO2 มีค่าเท่าใด

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                            6
04/10/54




                     อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                     อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                    7
04/10/54




                                                                         อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                                             ั
                                กราฟแสดงความสมพ ันธ์ระหว่างความเข้มข ัน
                                             ก ับเวลา

                              0.03
       ความเข้มข ัน โมลาร์




                             0.025
                              0.02                                                    N2O5
                             0.015                                                    NO2      สารตั้งต้นลดลง
                              0.01                                                    O2
                             0.005                                                             ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
                                0
                                     0   100   200      300        400   500    600
                                                     เวาล วินาที




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                         อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                                             ั
                                กราฟแสดงความสมพ ันธ์ระหว่างความเข้มข ัน                      •ความชัน(slope)ของกราฟ
                                             ก ับเวลา
                                                                                                           y
                                                                                               Slope =     x
                              0.03
       ความเข้มข ัน โมลาร์




                             0.025
                                                                               y                       0.0087
                              0.02                                                    N2O5   Slope =      250
                             0.015                                       x           NO2
                              0.01
                             0.005
                                                                                      O2
                                                                                             Slope = 3. 5 x 10-5 mol/dm3.s
                                0
                                     0   100   200      300        400   500    600
                                                     เวาล วินาที




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                                    8
04/10/54




                                                อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                     aA + bB            cC + dD
                                                                        1 [A]
                     อัตราการเกิดปฏิกริยา(r) = อัตราการลดลงของสารA = - -
                                     ิ
                                                                        a t
                                                                       1 [B]
                                             = อัตราการลดลงของสารB = - -
                                                                       b t
                                                                    1 [C]
                                             = อัตราการเกิดสารC = + -
                                                                    c t
                                                                    1 [D]
                                              = อัตราการเกิดสารD = + -
                                                                     d t


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
     ตัวอย่าง ปฏิกริยาการเกิดแอมโมเนีย (Ammonia)
                  ิ
                N2(g) + 3H2(g)                 2NH3(g)
     (a) ถ้าความเข้ มข้ นของ ammonia เพิมขึนด้ วยอัตราการเกิดเท่ากับ 0.024 mol L-1s-1 จงหา
                                        ่ ้
     อัตราการหายไปของ H2
                        1        [H2]          1           [NH3]
     r               =-                       =
                        3          t           2            t
                       [H2]             3          [NH3]
                                       =
                        t               2            t
                       3
                     =   X 0.024 mol L-1s-1                       = 0.036 mol L-1s-1
                       2
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                               9
04/10/54




                                                            ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เป็ นทฤษฎีทใช้ อธิบายการเกิดปฏิกริยาเคมีของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึนไป
                            ี่                   ิ                             ้

                                      ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี



                       ทฤษฎีการชน                    ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์
                     (Collision theory)             (Activated-complex theory)




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                            ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     ทฤษฎีการชน(Collision theory)

    ปฏิกริยาเคมีเกิดขึนได้ เมื่อ
         ิ            ้
    •อนุภาคของสารตั้งต้ นจะต้ องชนกัน
    •ทิศทางในการชนต้ องเหมาะสม
    •พลังงานรวมในการชนต้ องเท่ากับ
    พลังงานก่อกัมมันต์




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                       10
04/10/54




                                                    ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     ทฤษฎีการชน(Collision theory)

     • ทิศทางในการชนทีเ่ หมาะสม
          NO2+CO        NO+CO2                  NO+NO3       2NO2




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                    ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     พลังงานก่ อกัมมันต์ (Activation energy)

                                                     พลังงานก่ อกัมมันต์ หมายถึง
                                                     พลังงานตาทีสุดทีทาให้
                                                               ่ ่ ่
                               EA                    เกิดปฏิกริยาเคมีได้
                                                             ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  11
04/10/54




                                                        ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์ (Activated-complex theory)

                                                        • ทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์
                                                          เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎี
                                                          สภาวะแทรนซิชน(Transition
                                                                             ั
                                                          state theory) เมื่ออนุภาคของ
                                                          สารตั้งต้นชนกันจะเกิดสารที่
                                                          ไม่เสถียรและมีพลังงานสูง
                                                          เรี ยกว่าสารเชิงซ้อนกัมมันต์
                                                          (Activated complex)


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกริยาเคมี
                                  ิ

                                                             ปฏิกริยาคายพลังงาน
                                                                 ิ
                                                             ปฏิกิริยาที่ผลิตภัณฑ์มี
                                                             พลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น
                                                                 E1 + E2 = EA

                                                               E3 – E1 = -  E

              ผลิตภัณฑ์ จะมีพลังงานตากว่ าสารตั้งต้ น
                                    ่
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                       12
04/10/54




                                                          ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกริยาเคมี
                                  ิ

                                                            ปฏิกริยาดูดพลังงาน
                                                                ิ
                                                            ปฏิกิริยาที่ผลิตภัณฑ์มี
                                                            พลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น
                                                                E1 + E2 = EA

                                                              E3 – E1 =  E

              ผลิตภัณฑ์ จะมีพลังงานสู งกว่ าสารตั้งต้ น
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                          ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     กลไกของปฏิกริยา(Reaction mechanism)
                 ิ
     • กลไกของปฏิกิริยา หมายถึงลาดับขั้นย่อยของปฏิกิริยา และเรี ยกสมการ
     ย่อยแต่ละสมการที่แทนปฏิกิริยาว่า กระบวนการปฐม(Elementary process)
     หรื อปฏิกิริยาปฐม(Elementary reaction)
     •ขั้นกาหนดอัตรา(Rate determining step) หมายถึงกระบวนการปฐมที่เกิดช้า
     ที่สุดของกลไกปฏิกิริยา
     •สารมัธยันตร์ (Intermediate) หมายถึงสารที่เกิดขึ้นระหว่างที่ปฏิกิริยาดาเนิน
     ไป แต่ไม่ปรากฎสารนี้ในสมการรวมของปฏิกิริยา


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      13
04/10/54




                                                                           ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
     กลไกของปฏิกริยา(Reaction mechanism)
                 ิ
                                   NO2 + CO          CO2 + NO
                                    มีข้ นตอนการเกิดดังนี้
                                         ั
                      ขั้นที่1 NO2 + NO2       NO3 + NO …..เกิดช้า
                      ขั้นที่2 NO3 + CO       NO2 + CO2 …..เกิดเร็ว
                               Rate determining step คือ ขั้นที่1
                                    Intermediate คือ NO3

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                           ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
      พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน
                     ิ
                       E4




             พลังงา    E3
                                                      Ea2
             น (E)                         Ea3                   Ea4
                       E2
                                           X
                                Ea1
                       E1                                              B
                            A              E
                       E5


                                  การดาเนินไปของปฏิกริยา A
                                                    ิ        B




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                  14
04/10/54




                                           ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
      พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน
                     ิ
                                             ปฏิกริยาคายพลังงาน
                                                 ิ

                                                   -H

                                            NOH3 เป็ น Intermediate




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                           ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
      พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน
                     ิ
                                             ปฏิกริยาคายพลังงาน
                                                 ิ

                                                   -H

                                            N2O2 เป็ น Intermediate




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                        15
04/10/54




                                                ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี
      พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน
                     ิ
                                                  ปฏิกริยาคายพลังงาน
                                                      ิ

                                                         -H

                                                Cl และ COCl เป็ น Intermediate




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ

           •   ธรรมชาติของสารตั้งต้ น
           •   ความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น
           •   พืนทีผวของสารตั้งต้ น
                 ้ ่ ิ
           •   ความดัน
           •   อุณหภูมิ
           •   ตัวเร่ งปฏิกริยา
                           ิ


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                             16
04/10/54




                                      ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                       ิ
      • ธรรมชาติของสารตั้งต้ น




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                      ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                       ิ
      •พืนทีผวของสารตั้งต้ น
         ้ ่ ิ




            ตะปูเหล็กในแก๊สออกซิเจน           ฝอยเหล็กในแก๊สออกซิเจน

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                               17
04/10/54




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
      •อุณหภูมิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
     •สมการอาร์ เรเนียส
     • ค่ าคงทีอตรา(k) แปรผันตามอุณหภูมิ
               ่ั
     • k = Ae-Ea/RT

           A = frequency factor
           Ea = activation energy
           R = gas constant
            = 8.314 J/mol.K
           T = อุณหภูมเิ คลวิน (K)
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                            18
04/10/54




                                 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                  ิ
     •สมการอาร์ เรเนียส
   เขียนสมการอาร์เรเนียสในรู ปลอกการิ ทึม จะได้
  Ln k = ln A – Ea/RT
  log k = log A – Ea/2.303RT………(1)
  ถ้าให้ k1 และ k2 เป็ นค่าคงที่อตราที่อุณหภูมิ T1 และ T2
                                 ั
  log k1 = log A – Ea/2.303 RT1 ……...(2)
  log k2 = log A – Ea/2.303 RT2 ………(3)
  (2)-(3): log k1/k2 = Ea/2.303 R(1/T2-1/T1)

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                  ิ
     •สมการอาร์ เรเนียส
        log k = log A – Ea/2.303 RT
        จากสมการหมายความว่า ถ้ าเขียนกราฟระหว่าง log k กับ 1/T
        จะได้ กราฟเส้ นตรงทีมีความชัน = - Ea/2.303 R
                            ่




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                         19
04/10/54




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
     ตัวอย่างโจทย์

          กาหนดปฏิกริยาCH4(g) + 2S2(g)
                     ิ                               CS2(g) + H2(g) ที่
            อุณหภูมิ 550 0C มีค่าคงทีอตราการเกิดปฏิกริยาเป็ น 1.1 mol/dm3.s
                                      ่ั             ิ
            และทีอุณหภูมิ 625
                 ่             0C ค่ าคงทีอตราการเกิดปฏิกริยาเป็ น 6.4
                                          ่ั             ิ
            mol/dm 3.s จงหาพลังงานก่ อกัมมันต์ Ea

                          กาหนด log5.81 = 0.764



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ
     ตัวเร่ งปฏิกริยา หมายถึงสารที่เปลียนความเร็วของปฏิกริยา โดยตัวเร่ ง
                  ิ                      ่                   ิ
     ปฏิกริยาจะไม่ เกิดการเปลียนแปลงทางเคมีอย่ างถาวรในปฏิกริยาเมือ
            ิ                    ่                                ิ      ่
     สิ้นสุ ดปฏิกริยาจะได้ ตวเร่ งปฏิกริยากลับคืนมา
                    ิ         ั        ิ
     ตัวเร่ งปฏิกิริยาเอกพันธ์(Homogeneous catalyst) หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏ ั
     ภาคเดียวกันกับสารตั้งต้น
     ตัวเร่ งปฏิกิริยาวิวิธภัณฑ์(Heterogeneous catalyst) หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏ
                                                                                       ั
     ภาคต่างจากสารตั้งต้น

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        20
04/10/54




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          21
04/10/54




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ
     ปฏิกริยาการสลาย HCOOH เป็ น CO และ H2O โดยใช้ H2SO4 เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา
         ิ                                                                ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  22
04/10/54




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ




                                        Ni
                     C2H4 + H2                C2H6

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                   ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                    ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ




                     E+S           ES             E +P


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          23
04/10/54




                                                         ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                                          ิ
     •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst)
                  ิ

           E1
                                                                            ปฏิกริยาที่ไม่มตวเร่ ง
                                                                                ิ          ี ั
           E2                  พลั                              Ea1
                               งงา
                               น             พลั
                                                                            ปฏิกริยาที่มตวเร่ ง
                                                                                ิ       ี ั
                               จล            งงา
                               น์            น           Ea2

                                                                 E
                จานวนโมเลกุล

                                                           การดาเนินไปของปฏิกริยา
                                                                             ิ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                         ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                                          ิ
     •ตัวหน่ วงปฏิกริยา(Inhibitor)
                   ิ

                                                           ปฏิกริยาที่มตวหน่ วงปฏิกริยา
                                                               ิ       ี ั         ิ
                                              Ea2
                        พลัง
                        งาน                                    ปฏิกริยาที่ไม่มตวหน่ วงปฏิกริยา
                                                                   ิ          ี ั         ิ
                                     Ea1


                                                    E




                                           การดาเนินไปของปฏิกริยา
                                                             ิ

      • ตัวหน่วงปฏิกิริยา หมายถึงสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้ว
        ทาให้ปฏิกิริยาเคมีน้ นเกิดช้าลง
                             ั
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                                                  24
04/10/54




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
     •กฎอัตรา(Rate law)
      กฎอัตรา คือสมการที่แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความ
      เข้มข้นของสารตั้งต้นแต่ละชนิดอย่างไร ซึ่ งเขียนความสัมพันธ์
      นี้ได้ตาม Law of mass action “อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็ น
      สัดส่ วนโดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทาปฏิกิริยากัน”
                        aA + bB          cC + dD
                         จากสมการเขียนกฎอัตราได้ดงนี้  ั
                              r  [A]x[B]y
                               r = k [A]x[B]y
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                     ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                      ิ
     •อันดับปฏิกริยา(Order of reaction)
                ิ
      • อันดับปฏิกิริยาเป็ นค่าตัวเลขใดๆ (x, y) อาจเป็ นเลขจานวนเต็ม หรื อเศษส่วนก็ได้
        ซึ่งตัวเลขอันดับปฏิกิริยานี้ได้จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเปลี่ยน
        ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่านั้น
                   ปฏิกริยาเคมี
                        ิ                         กฎอัตรา         อันดับปฏิกริยา
                                                                             ิ
          2HI         H2 + I2              r = k[HI]0                    0
          CH3CHO          CH4+CO           r = k[CH3CHO]2                2
          2NO + Br2        2NOBr           r = k[NO]2[Br2]               3


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                      25
04/10/54




                           ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                            ิ
     •กราฟอันดับปฏิกริยา
                    ิ
     อันดับ 0




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                           ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                            ิ
     •กราฟอันดับปฏิกริยา
                    ิ
     อันดับ 1




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                  26
04/10/54




                                          ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                           ิ
     •กราฟอันดับปฏิกริยา
                    ิ
     อันดับ 2




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                          ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                           ิ
     •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา
                 ่
      • จากปฏิกิริยา 2NO+O2 2NO2 ที่ 25C ได้ผลการทดลองดังตาราง จง
        คานวณหากฎอัตรา อันดับปฏิกิริยา และค่าคงที่อตรา
                                                   ั
            การทดลองที่ ความเข้ มข้ นเริ่มต้ น (mol.dm-3)   อัตราเริ่มต้ นการเกิดNO2
                                 NO                   O2         (mol.dm-3.s-1)
                     1           0.01                0.01            0.007
                     2           0.01                0.02            0.014
                     3           0.01                0.03            0.021
                     4           0.02                0.03            0.084

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                          27
04/10/54




                                           ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                            ิ
     •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา
                 ่

                            จากสมการเคมี 2NO + O2           2NO2
                       เขียนกฎอัตราได้ดงนี้ r = k[NO]x[O2]y …..(1)
                                        ั
                     จากการทดลองที่3 และ 4 แทนค่าในสมการ(1) ไดดังนี้
                                            0.021 = k[0.01]x[0.03]y …..(2)
                                            0.084 = k[0.02]x[0.03]y …..(3)
                                   (3)/(2),         4 = 2x
                                                    x=2
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                           ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา
                                                                            ิ
     •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา
                 ่

                       จากการทดลองที่1 และ 2 แทนค่าในสมการ(1)
                                          0.007 = k[0.01]x[0.01]y     …..(4)
                                          0.014 = k[0.01]x[0.02]y     …..(5)
                        (5)/(4),    2 = 2y ,                   y=1
                        กฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ r = k[NO]2[O2]
                        อันดับของปฏิกิริยานี้คือ ปฏิกิริยาอันดับสาม
                     แทนค่า x,y ลงในสมการ(4), 0.007 = k[0.01]2[0.01]
                                                    k = 7.00x103 dm6.mol-2.s-1

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                              28

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
Pat Jitta
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
oraneehussem
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 

More from jirat266

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบjirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydratejirat266
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมjirat266
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนjirat266
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
jirat266
 

More from jirat266 (16)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Dna
DnaDna
Dna
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
lipid
lipidlipid
lipid
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
 

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ ั โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40223 ปี การศึกษา 2551 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึงการที่สารตังต้ น ้ (reactant)เปลี่ ยนไปเป็ นสารใหม่ หรือสารผลิตภัณฑ์ (product)โดยปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสารตัง ้ ต้ นจะลดลง แต่ ปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสาร ผลิตภัณฑ์ จะเพิ่มขึน้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 1
  • 2. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี หมายถึงการเปลียนแปลงความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น ิ ่ หรือสารผลิตภัณฑ์ ต่อหน่ วยเวลา A +B C +D Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) สารตั้งต้ นลดลง ผลิตภัณฑ์ เพิมขึน ่ ้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl ิ V (H2) Time (s) 1-2 20 2-3 40 3-4 65 4-5 86 5-6 109 6-7 134 Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) 7-8 164 Mg(s) + 2H+ (aq) Mg2+ (aq) + H2(g) 8-9 204 9-10 256 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 2
  • 3. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl ิ V (H2) Time (s) Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) 1-2 20 Mg(s) + 2H+ (aq) Mg2+ (aq) + H2(g) 2-3 40 3-4 65 * การเก็บแก็ส แต่ ละช่ วงใช้ เวลาเท่ ากันหรือไม่ 4-5 86 5-6 109 6-7 134 * นอกจากดูปริมาตรH2 แล้วดูอะไรได้ อกที่ ี เปลียนแปลงได้บ้าง ่ 7-8 164 8-9 204 9-10 256 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การทดลอง ปฏิกริยา Mg กับ HCl ิ V (H2) Time (s) Volume of Hydrogen gas 1-2 20 300 2-3 40 250 200 3-4 65 Time 150 Time (s) 100 4-5 86 50 5-6 109 0 6-7 134 1 2 3 cm 4 5 6 6 cm 7 8 9 - -3 m - - - - - - - 7-8 164 2 4 5 7 8 9 10 c cm cm cm cm cm cm Volume 8-9 204 9-10 256 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 3
  • 4. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี A +B C +D Mg(s) + 2H+ (aq) Mg2+ (aq) + H2(g) อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ปริมาณสารตั้งต้ นที่ลดลง ิ เวลา [A2]- [A1] [A] อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ิ = t2 – t1 t [B2]- [B1] [B] อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ิ = t2 – t1 t สูตรติดลบ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี A +B C +D Mg(s) + 2H+ (aq) Mg2+ (aq) + H2(g) ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึน ้ อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ิ เวลา [C2]- [C1] [C] อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ิ = t2 – t1 t [D2]- [D1] [D] อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี = ิ = t2 – t1 t สูตรไม่ติดลบ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 4
  • 5. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกริยา ิ อัตราการเกิดปฏิกริยา ิ อัตราการเกิดปฏิกริยาเฉลีย ิ ่ ณ ขณะใดขณะหนึง ่ (Average rate) (Instantaneous rate) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี [] อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate) หมายถึงปริ มาณของสาร ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด หรื อปริ มาณของสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมดต่อ เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา ปริ มาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย = เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา ปริ มาณสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย = เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 5
  • 6. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี ณ ขณะใดขณะหนึง ิ ่ • อัตราการเกิดปฏิกริยา ณ ขณะใด ิ ขณะหนึ่ง(Instantaneous rate) หมายถึงปริมาณสารตั้งต้ นที่เกิดขึน ณ ้ ขณะใดขณะหนึ่ง หรือปริมาณสาร ผลิตภัณฑ์ ที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ต่ อเวลาที่ใช้ ในการเกิดปฏิกริยาในช่ วง ิ นั้น ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกริยาชนิดนีหา ิ ้ ได้จากค่าความชัน(slope)ของกราฟ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่าง 2N2O5(g) 4NO2 (g) + O2(g) • ในช่วงเวลา 0 -100 Time (s) ความเข้ มข้ น ( mol/dm3) และ 500 – 600 วินาที N2O5 NO2 O2 อัตราการสลายตัว 0 0.0200 0.0000 0.0000 100 0.0169 0.0063 0.0016 ของแก๊ส N2O5 มีค่า 200 0.0142 0.0115 0.0029 เท่าใด 300 0.0120 0.0160 0.0040 400 0.0101 0.0197 0.0049 • ในช่วงเวลา 0 -100 500 0.0086 0.0229 0.0057 และ 500 – 600 วินาที 600 0.0072 0.0256 0.0064 อัตราการเกิดของแก๊ส NO2 มีค่าเท่าใด จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 6
  • 7. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 7
  • 8. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ั กราฟแสดงความสมพ ันธ์ระหว่างความเข้มข ัน ก ับเวลา 0.03 ความเข้มข ัน โมลาร์ 0.025 0.02 N2O5 0.015 NO2 สารตั้งต้นลดลง 0.01 O2 0.005 ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น 0 0 100 200 300 400 500 600 เวาล วินาที จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ั กราฟแสดงความสมพ ันธ์ระหว่างความเข้มข ัน •ความชัน(slope)ของกราฟ ก ับเวลา y Slope = x 0.03 ความเข้มข ัน โมลาร์ 0.025 y 0.0087 0.02 N2O5 Slope = 250 0.015 x NO2 0.01 0.005 O2 Slope = 3. 5 x 10-5 mol/dm3.s 0 0 100 200 300 400 500 600 เวาล วินาที จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 8
  • 9. 04/10/54 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี aA + bB cC + dD 1 [A] อัตราการเกิดปฏิกริยา(r) = อัตราการลดลงของสารA = - - ิ a t 1 [B] = อัตราการลดลงของสารB = - - b t 1 [C] = อัตราการเกิดสารC = + - c t 1 [D] = อัตราการเกิดสารD = + - d t จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่าง ปฏิกริยาการเกิดแอมโมเนีย (Ammonia) ิ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) (a) ถ้าความเข้ มข้ นของ ammonia เพิมขึนด้ วยอัตราการเกิดเท่ากับ 0.024 mol L-1s-1 จงหา ่ ้ อัตราการหายไปของ H2 1 [H2] 1 [NH3] r =- = 3 t 2 t [H2] 3 [NH3] = t 2 t 3 = X 0.024 mol L-1s-1 = 0.036 mol L-1s-1 2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 9
  • 10. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี ทฤษฎีจลนศาสตร์ เป็ นทฤษฎีทใช้ อธิบายการเกิดปฏิกริยาเคมีของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึนไป ี่ ิ ้ ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี ทฤษฎีการชน ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์ (Collision theory) (Activated-complex theory) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี ทฤษฎีการชน(Collision theory) ปฏิกริยาเคมีเกิดขึนได้ เมื่อ ิ ้ •อนุภาคของสารตั้งต้ นจะต้ องชนกัน •ทิศทางในการชนต้ องเหมาะสม •พลังงานรวมในการชนต้ องเท่ากับ พลังงานก่อกัมมันต์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 10
  • 11. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี ทฤษฎีการชน(Collision theory) • ทิศทางในการชนทีเ่ หมาะสม NO2+CO NO+CO2 NO+NO3 2NO2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี พลังงานก่ อกัมมันต์ (Activation energy) พลังงานก่ อกัมมันต์ หมายถึง พลังงานตาทีสุดทีทาให้ ่ ่ ่ EA เกิดปฏิกริยาเคมีได้ ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 11
  • 12. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี ทฤษฎีสารเชิงซ้ อนกัมมันต์ (Activated-complex theory) • ทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎี สภาวะแทรนซิชน(Transition ั state theory) เมื่ออนุภาคของ สารตั้งต้นชนกันจะเกิดสารที่ ไม่เสถียรและมีพลังงานสูง เรี ยกว่าสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (Activated complex) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกริยาเคมี ิ ปฏิกริยาคายพลังงาน ิ ปฏิกิริยาที่ผลิตภัณฑ์มี พลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น E1 + E2 = EA E3 – E1 = -  E ผลิตภัณฑ์ จะมีพลังงานตากว่ าสารตั้งต้ น ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 12
  • 13. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกริยาเคมี ิ ปฏิกริยาดูดพลังงาน ิ ปฏิกิริยาที่ผลิตภัณฑ์มี พลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น E1 + E2 = EA E3 – E1 =  E ผลิตภัณฑ์ จะมีพลังงานสู งกว่ าสารตั้งต้ น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี กลไกของปฏิกริยา(Reaction mechanism) ิ • กลไกของปฏิกิริยา หมายถึงลาดับขั้นย่อยของปฏิกิริยา และเรี ยกสมการ ย่อยแต่ละสมการที่แทนปฏิกิริยาว่า กระบวนการปฐม(Elementary process) หรื อปฏิกิริยาปฐม(Elementary reaction) •ขั้นกาหนดอัตรา(Rate determining step) หมายถึงกระบวนการปฐมที่เกิดช้า ที่สุดของกลไกปฏิกิริยา •สารมัธยันตร์ (Intermediate) หมายถึงสารที่เกิดขึ้นระหว่างที่ปฏิกิริยาดาเนิน ไป แต่ไม่ปรากฎสารนี้ในสมการรวมของปฏิกิริยา จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 13
  • 14. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี กลไกของปฏิกริยา(Reaction mechanism) ิ NO2 + CO CO2 + NO มีข้ นตอนการเกิดดังนี้ ั ขั้นที่1 NO2 + NO2 NO3 + NO …..เกิดช้า ขั้นที่2 NO3 + CO NO2 + CO2 …..เกิดเร็ว Rate determining step คือ ขั้นที่1 Intermediate คือ NO3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี  พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน ิ E4 พลังงา E3 Ea2 น (E) Ea3 Ea4 E2 X Ea1 E1 B A E E5 การดาเนินไปของปฏิกริยา A ิ B จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 14
  • 15. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี  พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน ิ ปฏิกริยาคายพลังงาน ิ -H NOH3 เป็ น Intermediate จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี  พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน ิ ปฏิกริยาคายพลังงาน ิ -H N2O2 เป็ น Intermediate จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 15
  • 16. 04/10/54 ทฤษฎีจลนศาสตร์ เคมี  พลังงานกับปฏิกริยาเคมีหลายขั้นตอน ิ ปฏิกริยาคายพลังงาน ิ -H Cl และ COCl เป็ น Intermediate จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ • ธรรมชาติของสารตั้งต้ น • ความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น • พืนทีผวของสารตั้งต้ น ้ ่ ิ • ความดัน • อุณหภูมิ • ตัวเร่ งปฏิกริยา ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 16
  • 17. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ • ธรรมชาติของสารตั้งต้ น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •พืนทีผวของสารตั้งต้ น ้ ่ ิ ตะปูเหล็กในแก๊สออกซิเจน ฝอยเหล็กในแก๊สออกซิเจน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 17
  • 18. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •อุณหภูมิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •สมการอาร์ เรเนียส • ค่ าคงทีอตรา(k) แปรผันตามอุณหภูมิ ่ั • k = Ae-Ea/RT A = frequency factor Ea = activation energy R = gas constant = 8.314 J/mol.K T = อุณหภูมเิ คลวิน (K) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 18
  • 19. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •สมการอาร์ เรเนียส เขียนสมการอาร์เรเนียสในรู ปลอกการิ ทึม จะได้ Ln k = ln A – Ea/RT log k = log A – Ea/2.303RT………(1) ถ้าให้ k1 และ k2 เป็ นค่าคงที่อตราที่อุณหภูมิ T1 และ T2 ั log k1 = log A – Ea/2.303 RT1 ……...(2) log k2 = log A – Ea/2.303 RT2 ………(3) (2)-(3): log k1/k2 = Ea/2.303 R(1/T2-1/T1) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •สมการอาร์ เรเนียส log k = log A – Ea/2.303 RT จากสมการหมายความว่า ถ้ าเขียนกราฟระหว่าง log k กับ 1/T จะได้ กราฟเส้ นตรงทีมีความชัน = - Ea/2.303 R ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 19
  • 20. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ ตัวอย่างโจทย์ กาหนดปฏิกริยาCH4(g) + 2S2(g) ิ CS2(g) + H2(g) ที่ อุณหภูมิ 550 0C มีค่าคงทีอตราการเกิดปฏิกริยาเป็ น 1.1 mol/dm3.s ่ั ิ และทีอุณหภูมิ 625 ่ 0C ค่ าคงทีอตราการเกิดปฏิกริยาเป็ น 6.4 ่ั ิ mol/dm 3.s จงหาพลังงานก่ อกัมมันต์ Ea กาหนด log5.81 = 0.764 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ ตัวเร่ งปฏิกริยา หมายถึงสารที่เปลียนความเร็วของปฏิกริยา โดยตัวเร่ ง ิ ่ ิ ปฏิกริยาจะไม่ เกิดการเปลียนแปลงทางเคมีอย่ างถาวรในปฏิกริยาเมือ ิ ่ ิ ่ สิ้นสุ ดปฏิกริยาจะได้ ตวเร่ งปฏิกริยากลับคืนมา ิ ั ิ ตัวเร่ งปฏิกิริยาเอกพันธ์(Homogeneous catalyst) หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏ ั ภาคเดียวกันกับสารตั้งต้น ตัวเร่ งปฏิกิริยาวิวิธภัณฑ์(Heterogeneous catalyst) หมายถึงตัวเร่ งปฏิกิริยาที่มีวฏ ั ภาคต่างจากสารตั้งต้น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 20
  • 21. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 21
  • 22. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ ปฏิกริยาการสลาย HCOOH เป็ น CO และ H2O โดยใช้ H2SO4 เป็ นตัวเร่ งปฏิกริยา ิ ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 22
  • 23. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ Ni C2H4 + H2 C2H6 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ E+S ES E +P จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 23
  • 24. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวเร่ งปฏิกริยา(Catalyst) ิ E1 ปฏิกริยาที่ไม่มตวเร่ ง ิ ี ั E2 พลั Ea1 งงา น พลั ปฏิกริยาที่มตวเร่ ง ิ ี ั จล งงา น์ น Ea2 E จานวนโมเลกุล การดาเนินไปของปฏิกริยา ิ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •ตัวหน่ วงปฏิกริยา(Inhibitor) ิ ปฏิกริยาที่มตวหน่ วงปฏิกริยา ิ ี ั ิ Ea2 พลัง งาน ปฏิกริยาที่ไม่มตวหน่ วงปฏิกริยา ิ ี ั ิ Ea1 E การดาเนินไปของปฏิกริยา ิ • ตัวหน่วงปฏิกิริยา หมายถึงสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้ว ทาให้ปฏิกิริยาเคมีน้ นเกิดช้าลง ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 24
  • 25. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •กฎอัตรา(Rate law) กฎอัตรา คือสมการที่แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความ เข้มข้นของสารตั้งต้นแต่ละชนิดอย่างไร ซึ่ งเขียนความสัมพันธ์ นี้ได้ตาม Law of mass action “อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็ น สัดส่ วนโดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทาปฏิกิริยากัน” aA + bB cC + dD จากสมการเขียนกฎอัตราได้ดงนี้ ั r  [A]x[B]y r = k [A]x[B]y จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •อันดับปฏิกริยา(Order of reaction) ิ • อันดับปฏิกิริยาเป็ นค่าตัวเลขใดๆ (x, y) อาจเป็ นเลขจานวนเต็ม หรื อเศษส่วนก็ได้ ซึ่งตัวเลขอันดับปฏิกิริยานี้ได้จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเปลี่ยน ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่านั้น ปฏิกริยาเคมี ิ กฎอัตรา อันดับปฏิกริยา ิ 2HI H2 + I2 r = k[HI]0 0 CH3CHO CH4+CO r = k[CH3CHO]2 2 2NO + Br2 2NOBr r = k[NO]2[Br2] 3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 25
  • 26. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •กราฟอันดับปฏิกริยา ิ อันดับ 0 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •กราฟอันดับปฏิกริยา ิ อันดับ 1 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 26
  • 27. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •กราฟอันดับปฏิกริยา ิ อันดับ 2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา ่ • จากปฏิกิริยา 2NO+O2 2NO2 ที่ 25C ได้ผลการทดลองดังตาราง จง คานวณหากฎอัตรา อันดับปฏิกิริยา และค่าคงที่อตรา ั การทดลองที่ ความเข้ มข้ นเริ่มต้ น (mol.dm-3) อัตราเริ่มต้ นการเกิดNO2 NO O2 (mol.dm-3.s-1) 1 0.01 0.01 0.007 2 0.01 0.02 0.014 3 0.01 0.03 0.021 4 0.02 0.03 0.084 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 27
  • 28. 04/10/54 ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา ่ จากสมการเคมี 2NO + O2 2NO2 เขียนกฎอัตราได้ดงนี้ r = k[NO]x[O2]y …..(1) ั จากการทดลองที่3 และ 4 แทนค่าในสมการ(1) ไดดังนี้ 0.021 = k[0.01]x[0.03]y …..(2) 0.084 = k[0.02]x[0.03]y …..(3) (3)/(2), 4 = 2x x=2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม ปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริยา ิ •การคานวณเกียวกับกฎอัตรา ่ จากการทดลองที่1 และ 2 แทนค่าในสมการ(1) 0.007 = k[0.01]x[0.01]y …..(4) 0.014 = k[0.01]x[0.02]y …..(5) (5)/(4), 2 = 2y , y=1 กฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ r = k[NO]2[O2] อันดับของปฏิกิริยานี้คือ ปฏิกิริยาอันดับสาม แทนค่า x,y ลงในสมการ(4), 0.007 = k[0.01]2[0.01] k = 7.00x103 dm6.mol-2.s-1 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 28