SlideShare a Scribd company logo
03/10/54




                                                                      เคมีอินทรีย์

                                                   โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ
                                                          ั
                                                   โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม




      เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40225 ปี การศึกษา 2551




                                                                        เคมีอนทรีย์
                                                                             ิ
   สารประกอบอินทรีย์
   สารประกอบทีมธาตุคาร์ บอนเป็ นองค์ ประกอบ ทั้งทีได้ จากสิ่งมีชีวตและจากการสังเคราะห์
              ่ ี                                 ่               ิ




                                                     ยูเรียได้จากสารสั งเคราะห์
              โปรตีนได้จากสิ่งมีชีวต
                                   ิ
                                         NH4OCN (s)                    H2NCONH2 (s)


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                         1
03/10/54




                                                                เคมีอินทรีย์
     ยกเว้นสารจาพวก
       • ออกไซด์ ของคาร์ บอน เช่ น CO2
       • เกลือคาร์ บอเนตและไฮโดรเจนคาร์ บอเนต เช่ น CaCO3 , NaHCO3
       •เกลือคาร์ ไบด์ เช่ น CaC2
       •เกลือคาร์ ไบด์ เช่ น CaC2 ,เกลือไซยาไนด์ เช่ น NH4CN , เกลือไซยาเนต เช่ น
       NH4OCN
        •สารประกอบของคาร์ บอนบางชนิด เช่ น CS2, CCl4, COCl2

       •สารที่ ประกอบด้ วยคาร์ บอนชนิดเดียว เช่ น เพชร แกร์ ไฟต์ ฟุลเลอรีน

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 2
03/10/54




                                                                      เคมีอินทรีย์
     ไฮบริไดเซชันของคาร์ บอน
       • ไฮบริไดเซชัน(Hybridization) หมายถึงการที่อะตอมมิกออร์ บิตอล
       ต่ างชนิดกันตังแต่ 2 ออร์ บิตอลหรือมากกว่ า มารวมกันหรือผสมกัน
                       ้
       เพื่อจัดรูปร่ างเกิดเป็ นออร์ บิตอลใหม่ ท่ ีมีพลังงานเท่ าๆกันและรูปร่ าง
       เหมือนกัน
       เช่ นการเกิดไฮบริไดเซชันระหว่ าง s และ p ออร์ บิตอล
            • sp3 ไฮบริไดเซชัน
            • sp2 ไฮบริไดเซชัน
            • sp ไฮบริไดเซชัน



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                      เคมีอินทรีย์
     ไฮบริไดเซชันของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                        3
03/10/54




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        4
03/10/54




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        5
03/10/54




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                        เคมีอินทรีย์
     พันธะของคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        6
03/10/54




                                                        เคมีอินทรีย์
     สู ตรโครงสร้ าง
         • สูตรโครงสร้ าง หมายถึงสูตรที่แสดงการจัดเรี ยงอะตอมของธาตุ
         องค์ ประกอบที่อยู่ใน 1 โมเลกุลของสารนัน ้
             – แบบจุด(electron-dot structure หรือ Lewis’s structure
             – แบบเส้ น(dash formula)
             – แบบย่ อ(condensed formula)
             – แบบผสม(ผสมระหว่ างแบบเส้ นและแบบย่ อ)
             – แบบ bond-line formula

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        เคมีอินทรีย์
     สู ตรโครงสร้ าง




                      Lewis’s structure         dash formula




                     condensed formula         bond-line formula

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          7
03/10/54




                                               เคมีอินทรีย์
     สู ตรโครงสร้ าง




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                               เคมีอินทรีย์
     สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                               8
03/10/54




                                               เคมีอินทรีย์
     สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                               เคมีอินทรีย์
     สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                               9
03/10/54




                                               เคมีอินทรีย์
     สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                               เคมีอินทรีย์
     สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                              10
03/10/54




                                                            เคมีอินทรีย์
     ไอโซเมอริซึม
    ไอโซเมอริซึม(Isomerism) หมายถึง ปรากฎการณ์ ท่ ีสารประกอบอินทรีย์มีสูตร
       โมเลกุลเหมือนกันแต่ มีสมบัตแตกต่ างกัน และเรียกสารแต่ ละชนิดว่ า
                                  ิ
       ไอโซเมอร์ (Isomer)
          โครงสร้ างของสารประกอบ   จุดหลอมเหลว   จุดเดือด    ความหนาแน่ น
                                       (C)        (C)         g/cm3
        CH3CH2CH2CH3                 -138.3       -0.5          0.573
        (CH3)3CH                     -159.4       -11.7         0.551


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                            เคมีอินทรีย์
     ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง
         • ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง(Structural isomer) หมายถึงไอโซเมอร์ ท่ มี
                                                                       ี
           สูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่ การจัดเรี ยงตัวของอะตอมใน
           ตาแหน่ งที่ต่างกันหรื อมีสูตรโครงสร้ างต่ างกัน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                            11
03/10/54




                                                              เคมีอินทรีย์
     ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                              เคมีอินทรีย์
     ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง
         * Structural isomers
                     • มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน
                     • มีการจัดเรียงอะตอมต่ างกัน
                     • เป็ นสารประกอบต่ างชนิดกัน
                     • มีช่ ือเรียกเฉพาะ
                     • มีสมบัตทางกายภาพต่ างกัน
                                    ิ
                     • สมบัตทางเคมีอาจจะคล้ ายคลึงกัน
                                ิ
                        บางครังเรียกว่ า "constitutional isomers".
                                  ้

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  12
03/10/54




                                                                เคมีอินทรีย์
     สเตอริโอไอโซเมอร์ (Stereoisomer)
         สเตอริโอไอโซเมอร์ (Stereoisomer) หมายถึงไอโซเมอร์ ท่ ีมีสูตร
         โครงสร้ างเหมือนกัน อะตอมต่ างๆ ต่ อกันในลักษณะเดียวกัน
         แต่ แตกต่ างที่วิธีการจัดเรียงตัวของอะตอมในที่ว่างแบบ 3 มิติ
         แบ่ งเป็ น 2 ประเภท
              • Geometric isomers หรือ cis-trans isomers
              • Optical isomers



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                เคมีอินทรีย์
     จีโอเมตริกซ์ ไอโซเมอร์




         • จิโอเมตริ กซ์ไอโซเมอร์ (Geometric isomers) หมายถึง ไอโซเมอร์
           ที่มีสูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่การจัดอะตอมหรื อหมู่อะตอมใน
               ่
           ที่วางต่างกัน จะพบในสารประกอบแอลคีนและสารประกอบที่มีโครงร่ างเป็ นวง
           เช่น CH3-CH=CH-CH3

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 13
03/10/54




                                                              เคมีอินทรีย์
     ออปติกัลไอโซเมอร์




         • ออปติกัลปไอโซเมอร์ (Optical isomers)หมายถึงไอโซเมอร์ ที่มี
                     ์
           สูตรโมเลกุลเหมือนกัน มีโครงสร้ างเป็ นเงากระจกกันและกัน
           แต่ โครงสร้ างทังสองไม่ สามารถทับกันอย่ างสนิท โมเลกุลทัง
                           ้                                       ้
           สองเป็ น ออปติกัลไอโซเมอร์ กัน
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                              เคมีอินทรีย์
     หมู่ฟังก์ ชัน
         • หมู่ฟังก์ชน(Functional group) หมายถึงอะตอม หรื อหมู่อะตอมที่
                     ั
           แสดงสมบัติเฉพาะในโมเลกุลของสารประกอบอินทรี ย ์

            หมู่ฟังก์ชน
                      ั    ชื่อหมู่ฟังก์ชน
                                         ั       ประเภท         ตัวอย่าง
                                               สารประกอบ     สูตรโครงสร้าง
         C C              พันธะคู่           แอลคีน        H2C CH2
         C C              พันธะสาม           แอลไคน์        HC CH
         – OH             ไฮดรอกซิล          แอลกอฮอล์     CH3CH2 – OH

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                               โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                              14
03/10/54




                                                                 เคมีอินทรีย์
     หมู่ฟังก์ ชัน
       หมู่ฟังก์ชน
                 ั       ชื่อหมู่ฟังก์ชน
                                       ั        ประเภท             ตัวอย่าง
                                              สารประกอบ         สูตรโครงสร้าง
  – OH                    ไฮดรอกซิล              ฟี นอล
                                                                         OH
                         (Hydroxy)            (Phenol)
    –O–                      ออกซี               อีเทอร์       CH3-O-CH3
                            (Oxy)               (Ether)
   O                      คาร์บอกซิล           กรดอินทรี ย ์      O
  – C – OH               (Carboxyl)          (Organic acid)    CH3-C-OH

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                 เคมีอินทรีย์
     หมู่ฟังก์ ชัน
         หมู่ฟังก์ชน
                   ั     ชื่อหมู่ฟังก์ชน
                                       ั         ประเภท             ตัวอย่าง
                                               สารประกอบ         สูตรโครงสร้าง
        O               แอลคอกซีคาร์ บอนิล       เอสเทอร์          O
                       (Alkoxycarbonyl)
       –C–O–                                     (Ester)       CH3-C-O-CH3
        O               คาร์บอกซาลดีไฮด์        แอลดีไฮด์          O
       –C–H            (Carboxaldehyde)       (Aldehyde)       CH3–C–H
        O                  คาร์บอนิล               คีโตน           O
       –C–               (Carbonyl)            (Ketone)        CH3–C–CH3
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 15
03/10/54




                                                      เคมีอินทรีย์
     หมู่ฟังก์ ชัน

      หมู่ฟังก์ชน
                ั    ชื่อหมู่ฟังก์ชน
                                   ั     ประเภท         ตัวอย่าง
                                       สารประกอบ     สูตรโครงสร้าง
   – NH2               อะมิโน             เอมีน    CH3 – NH2
                     (Amino)           (Amine)
      O                เอไมด์            เอไมด์        O
     –C–NH2          (Amide)           (Amide)     CH3–C–NH2


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                      เคมีอินทรีย์
     หมู่ฟังก์ ชัน

      หมู่ฟังก์ชน
                ั    ชื่อหมู่ฟังก์ชน
                                   ั     ประเภท         ตัวอย่าง
                                       สารประกอบ     สูตรโครงสร้าง
   – NH2               อะมิโน             เอมีน    CH3 – NH2
                     (Amino)           (Amine)
      O                เอไมด์            เอไมด์        O
     –C–NH2          (Amide)           (Amide)     CH3–C–NH2


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                      16
03/10/54




                                                                 เคมีอินทรีย์
     ตัวอย่ างหมู่ฟังก์ ชันของสารบางชนิด




                                           ธาซอล(Taxol) มีหมู่ฟังก์ ชันอะไรบ้ าง
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                 เคมีอินทรีย์
     ไฮโดรคาร์ บอน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  17
03/10/54




                                                             เคมีอินทรีย์
     ไฮโดรคาร์ บอน
         ไฮโดรคาร์ บอน(Hydrocarbon) หมายถึงสารประกอบอินทรีย์ท่ ประกอบด้ วย
                                                                ี
         ธาตุ 2 ชนิด คือ คาร์ บอน(C) และไฮโดรเจน(H) แบ่ งตามลักษณะโครงสร้ าง
         ได้ ดังนี ้
               – Aliphatic hydrocarbons
                     •Alkanes

                          
                     •Alkenes
                     •Alkynes
                                    Open chain

                     •Cyclic aliphatic
               – Aromatic hydrocarbons

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                             เคมีอินทรีย์
     ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด
      • แอลเคน(Alkanes)
        สูตรทั่วไป CnH2n+2
        พันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมเป็ นพันธะเดี่ยว(C–C)
        เป็ นไฮโดรคาร์ บอนประเภทอิ่มตัว(Saturated hydrocarbon)




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                              โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                             18
03/10/54




                                                          เคมีอินทรีย์
     ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด
   • แอลคีน(Alkenes)และแอลไคน์ (Alkynes)
     สูตรทั่วไป CnH2n และ CnH2n-2
     พันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมเป็ นพันธะคู่(alkene)หรือพันธะสาม(alkyne)
     จัดเป็ นไฮโดรคาร์ บอนประเภทไม่ อ่ ิมตัว(Unsaturated hydrocarbon




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                          เคมีอินทรีย์
     ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด
      • ไซคลิกอะลิฟาติก(Cyclic aliphatic)




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                           19
03/10/54




                                                               เคมีอินทรีย์
     ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด

       • อะโรมาติกไฮโดรคาร์ บอน(Aromatic hydrocarbon)
         วงแหวนของเบนซีน(Benzene ring)




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                               เคมีอินทรีย์
     ชนิดของคาร์ บอนอะตอมและไฮโดรเจนอะตอมในสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
         • 1 คาร์ บอน(primary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน
         อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 1 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ  ั
         1 คาร์ บอน ว่ า 1 ไฮโดรเจน
         • 2 คาร์ บอน(secondary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน
         อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 2 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ    ั
         2 คาร์ บอน ว่ า 2 ไฮโดรเจน
         • 3 คาร์ บอน(tertiary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน
         อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 3 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ      ั
         3 คาร์ บอน ว่ า 3 ไฮโดรเจน

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                20
03/10/54




                                                                เคมีอินทรีย์
          ชนิดของคาร์ บอนอะตอมและไฮโดรเจนอะตอมในสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน

                          1

                     1                  3       2          1

                               3
                                                    1
                                    2


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                เคมีอินทรีย์
          การเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
    Alkanes(CnH2n+2)

    ระบบชื่อสามัญ(common name)
            แอลเคนที่เป็ นโซ่ตรง ให้ใช้คาว่า “normal(n)”นาหน้าชื่อที่เป็ นโซ่ตรง
            (เรี ยกจานวนคาร์บอนอะตอมด้วยภาษากรี ก)และลงเสี ยงท้ายด้วย –เอน (-
            ane) เช่น

                  CH3-CH2-CH3                   Propane
                  CH3-CH2-CH2-CH3               n-Butane
จิรัฎฐ์   สุขใจเหลืCH3-CH2-CH2-CH2-CH3
                   อ                            n-Pentane           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 21
03/10/54




                                                                เคมีอินทรีย์
    การเรียกจานวนคาร์ บอนอะตอมด้ วยภาษากรีก

       คาร์บอนอะตอม         ชื่อคานาหน้า     คาร์บอนอะตอม       ชื่อคานาหน้า
                1            meth-                6               hex-
                2             eth-                7               hept-
                3            prop-                8                oct-
                4             but-                9               non-
                5            pent-                10              dec-



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
     Alkanes
           แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ กงิ่
           ถ้ ากิงเป็ นหมู่ methyl(-CH3) เกาะอยู่ทคาร์ บอนอะตอมตัวที่ 2 ของโซ่
                 ่                                  ี่
           หลัก ให้ ใช้ คาว่า iso- นาหน้ าชื่อ
                   CH3-CH-CH3                Isobutane
                       CH3
                   CH3-CH-CH2-CH3            Isopentane
                       CH3
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                  โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                 22
03/10/54




                                                                 เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
Alkanes
       ถ้ากิ่งเป็ นหมู่ methyl(-CH3) 3 หมู่เกาะอยูท่ีคาร์ บอนอะตอมตัว
                                                  ่
       เดียวกัน ให้ใช้คาว่า neo- นาหน้าชื่อ
                   CH3                        CH3
             CH3-CH-CH3                CH3-CH-CH2-CH3
                   CH3                       CH3
             neopentane                  neohexane

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                 เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
     Alkanes
     ระบบIUPAC (The International Union of Pure and Applied Chemistry)
     แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ ตรง
        เรียกจานวนอะตอมของคาร์ บอนในโซ่ หลัก(parent chain)ด้ วยภาษากรีก
        นาหน้ า(prefix) และต่ อท้าย(suffix) ด้ วยคาว่า –ane
             CH3-CH2-CH2-CH3                    Butane
             CH3-CH2-CH2-CH2-CH3                Pentane

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                      โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                     23
03/10/54




                                                               เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
    Alkanes
    แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ กง
                        ิ่
       เลือกโซ่ คาร์ บอนอะตอมทีต่อกันยาวทีสุดเป็ นโซ่ หลัก
                                ่         ่
       กาหนดเลขตาแหน่ งคาร์ บอนอะตอมในโซ่ หลัก โดยให้ คาร์ บอน
       อะตอมทีมีหมู่แทนที(substituent)เกาะอยู่ ในตาแหน่ งต่าทีสุด เช่ น
                   ่       ่                                  ่
       1       2 3 4         5
       CH3-CH-CH2-CH2-CH-CH3 หมู่แทนที่
              CH3            CH2-CH3
 หมู่แทนที่                  6    7

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                               เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
  Alkanes
     - การเรียกชื่อ ให้ เรียกเลขแสดงตาแหน่ งของหมู่แทนทีตามด้ วยชื่ อของหมู่
                                                             ่
     แทนที่ ตามด้ วยชื่อของโซ่ หลัก
     - ถ้ าหมู่แทนทีมีมากกว่ า 1 หมู่และเป็ นหมู่ต่างชนิดกัน ให้ เรียกหมู่แทนที่
                    ่
     เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ เช่ น –CH3(methyl),-C2H5 (ethyl)
     - ถ้ าหมู่แทนทีมีมากกว่ า 1 หมู่และเป็ นหมู่ชนิดเดียวกัน ให้ เรียกเลขแสดง
                      ่
     จานวนหมู่แทนทีนาหน้ าชื่ อหมู่แทนที่น้ ันดังนี้ 2=di, 3=tri, 4=tetra
                         ่
     ……….
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                 โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                24
03/10/54




                                                       เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
                               Alkanes
                     1     2     3      4          5

                     CH3-CH-CH2-CH2-CH-CH3
                         CH3        CH2-CH3
                                                   6    7


                         2,5-dimethylheptane

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                       เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน


                         CH3-CH-CH2-CH-CH2-CH3
                             CH3 CH2-CH3

                          4-ethyl-2-methylhexane


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                      25
03/10/54




                                                         เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน
         • Alkyl group(R=CnH2n+1)
            สู ตรโครงสร้ าง           ชื่อสามัญ           ชื่อIUPAC
         -CH3                   methyl              methyl
         -CH2CH3                ethyl               ethyl
         -CH2CH2CH3             n-propyl            propyl
         -CHCH3                 isopropyl           1-methylethyl
          CH3
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                         เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน • Alkyl group(R=CnH2n+1)
        สู ตรโครงสร้ าง             ชื่อสามัญ          ชื่อIUPAC
     -CH2CHCH3                isobutyl            2-methylpropyl
         CH3
     CH3CHCH2CH3              sec-butyl           1-methylpropyl
            CH3               tert-butyl          2-methyl-2-propyl
            CCH3
            CH3
จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          26
03/10/54




                                                                  เคมีอินทรีย์
    การเรียกชื่อแอลเคน


                                          CH3
                     CH3-CH-CH-CH-CH2-CH
                         CH3

                                 3,5-dimethylhexyl


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                  เคมีอินทรีย์
         Cycloalkane(CnH2n)
         • การเรียกชื่อใช้ หลักเกณฑ์ เช่ นเดียวกับแอลเคน แต่ ให้ ใช้ คาว่า “cyclo”
           นาหน้ าชื่อสารแอลเคนนั้น




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                    โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                   27
03/10/54




                                                        เคมีอินทรีย์



                     methylcyclobutane         ethylcyclohexane




             1-ethyl-3-methylcyclohexane     1,3-methylcyclopentane


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        เคมีอินทรีย์




                       3-cyclopentyl-2,5-dimethylhexane


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                         โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                        28
03/10/54




                                                                 เคมีอินทรีย์
   Alkenes(CnH2n)
   1. เลือกโซ่ คาร์ บอนอะตอมทีต่อกันยาวทีสุดและมีพนธะคู่อยู่ด้วยเป็ นโซ่ หลัก
                                   ่              ่        ั
   2. การกาหนดเลขตาแหน่ งของคาร์ บอนอะตอมในโซ่ หลักจะต้ องให้ พนธะคู่อยู่ ั
   ในตาแหน่ งทีต่าทีสุด
                  ่ ่
   3. ถ้ าสารประกอบนั้นมีพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ ให้ เลือกโซ่ คาร์ บอนทีมีพนธะ
                              ั                                             ่ ั
   คู่มากทีสุดเป็ นโซ่ หลัก แม้ ว่าจะไม่ ใช่ โซ่ ทยาวทีสุด
            ่                                       ี่ ่
   4. การเรียกชื่อใช้ หลักการเรียกเช่ นเดียวกับแอลเคน แต่ ลงเสี ยงท้ายชื่อด้ วย –อีน
   (-ene) เมื่อมีพนธะคู่ 1 พันธะ และ –ไดอีน(-diene) เมื่อมีพนธะคู่ 2 พันธะ
                   ั                                         ั


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                 เคมีอินทรีย์


                            CH3
                 6   5   4
                CH3-CH-CH-C=CH-CH3
                            3 2 1
                    CH3
                    3,5-dimethyl-2-hexene



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                  29
03/10/54




                                                         เคมีอินทรีย์

                สู ตรโครงสร้าง                   ชื่อIUPAC
 CH2=CHCH2CHCH3                        4-methyl-1-pentene
          CH3
 CH2=CHCH=CH2                          1,3-butadiene


 CH3CH2CCH2CH3                         2-ethyl-1-butene
       CH2


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                         เคมีอินทรีย์

            สูตรโครงสร้าง            ชื่อสามัญ         ชื่อIUPAC
     H2C=CH2                     ethylene          ethene

     H2C=CH-CH3                  propylene         propene


         CH3                     isobutylene       2-methylpropene
     H3C-C=CH2


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          30
03/10/54




                                                        เคมีอินทรีย์
      Cycloalkenes(CnH2n-2)
      1. การเรียกชื่อใช้ หลักการเดียวกันกับการเรียกชื่อสารแอลคีน แต่
      ให้ ใช้ คาว่ า “cyclo” นาหน้ า
      2. การกาหนดเลขตาแหน่ งคาร์ บอนอะตอม ให้ พนธะคู่เป็ น
                                                        ั
      ตาแหน่ งที่ 1,2 และให้ หมู่แทนทีอยู่ในตาแหน่ งต่าทีสุด
                                       ่                  ่
      3. ถ้ ามีพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ ให้ ใช้ หลักการเดียวกันกับการ
                 ั
      เรียกชื่อแอลคีนทีมพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ
                           ่ ี ั

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                        เคมีอินทรีย์

           สู ตรโครงสร้าง                ชื่อIUPAC
                                       Cyclobutene

                                      Cyclopentene

                                       Cyclohexene




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                          โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                         31
03/10/54




                                                เคมีอินทรีย์

           สู ตรโครงสร้าง           ชื่อIUPAC
                              1-Methylcyclopentene

                             1,3-Dimethylcyclohexene


                             3,5-Dimethylcyclohexene



จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                เคมีอินทรีย์
            สู ตรโครงสร้าง          ชื่อIUPAC


                               1,3-Cyclopentadiene


                               1,3-Cyclohexadiene




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                               32
03/10/54




                                                                      เคมีอินทรีย์
                                 Alkynes(CnH2n-2)
     • การเรี ยกชื่อแอลไคน์ใช้หลักการเรี ยกชื่อเช่นเดียวกับแอลคีนที่มีโครงสร้างเป็ น
       โซ่ตรง โซ่กิ่ง หรื อเป็ นวง แต่ให้ลงท้ายชื่อด้วยคาว่า-ไอน์(-yne)
                      สูตรโครงสร้าง                        ชื่อIUPAC
     CH3-C C-CH3                              2-Butyne
     CH3-CH-C                  CH             3-Methyl-1-butyne
       CH3


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                      เคมีอินทรีย์
                     สู ตรโครงสร้าง                     ชื่อIUPAC

    HC               CCH2CH2C         CH 1,5-Hexadiyne

    HC   C-CH-C CH                            3-Methyl-1,4-penadiyne
        CH3
    H2C   CHCH2C CH                           1-Penten-4-yne




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                                       33
03/10/54




                                           เคมีอินทรีย์
                          • พบครั้งแรกในประเทศอังกฤษ
                            โดย Michael Faraday:1825
                          • Eilhardt Mitscherlich
                            คานวณหาสู ตรโมเลกุลได้ C6H6
                          • ปี 1865 Kekule เสนอสู ตร
                            โครงสร้ างของเบนซีน
                          • ปี 1872 เสนอโครงสร้ างของเบน
        เบนซีน(Benzene)     ซีนเป็ น resonance

จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                           เคมีอินทรีย์




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                            โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                           34
03/10/54




                                                         เคมีอินทรีย์




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                         เคมีอินทรีย์

 • โครงสร้ างของเบนซีน
   ความยาวพันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมทุกพันธะยาวเท่ ากันหมด= 1.39A
   (แองสตรอม) ซึ่งเป็ นพันธะทีอยู่ระหว่ างพันธะคู่(1.34A) และพันธะเดี่ยว
                              ่
   (1.54A) มุมระหว่ างพันธะทุกมุมเป็ น 120




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                           โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                          35
03/10/54




                                                       เคมีอินทรีย์


        • อนุ พั น ธ์ ของเบนซี น เกิ ด
          จากไฮโดรเจนอะตอมใน
          โ มเ ลกุ ล ของ เบน ซี น ถู ก
          แทนที่ด้ว ยธาตุ ใดธาตุ ห นึ่ ง
          หรือหมู่ธาตุใดหมู่ธาตุหนึ่ง


จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                       เคมีอินทรีย์
     • เบนซีนมีหมู่แทนที่เพียงหมู่เดียว ให้อ่านชื่อหมู่แทนที่และตาม
       ด้วยชื่อหลักเบนซีน




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                        โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                       36
03/10/54




                                                    เคมีอินทรีย์
                                  การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                                  ั
    • บางครั้งนิยมเรี ยกชื่อสามัญแทนชื่อIUPAC




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                           เคมีอินทรีย์
                                  การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                                  ั
  • เบนซีนมีหมู่แทนที่ 2 หมู่ให้ ระบุเลขตาแหน่ งของหมู่แทนที่ หรือใช้ คาว่ า
    “ortho”(o) แทนตาแหน่ ง 1,2 “meta”(m) แทนตาแหน่ ง 1,3 และ “para”(p)
    แทนตาแหน่ ง 1,4
  • เบนซีนมีหมู่แทนทีมากกว่ า 2 หมู่ ให้ ระบุเลขตาแหน่ งของหมู่แทนที่
                      ่




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                             โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                            37
03/10/54




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                      38
03/10/54




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                      39
03/10/54




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                       เคมีอินทรีย์
                     การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน
                                     ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                       โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                      40
03/10/54




                                                  เคมีอินทรีย์
                     เบนซีน อนุพนธ์ ของเบนซีนและพอลินิวเคลียร์
                                ั




จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ                                   โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม




                                                                                  41

More Related Content

What's hot

สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
soysuwanyuennan
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 

What's hot (20)

สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 

More from jirat266

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบjirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydratejirat266
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมjirat266
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนjirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
jirat266
 

More from jirat266 (16)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Dna
DnaDna
Dna
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
lipid
lipidlipid
lipid
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตนแอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
แอลกอฮอล์ ฟีนอล แอลดีไฮด์ คีโตน
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225คำอธิบายรายวิชา ว 40225
คำอธิบายรายวิชา ว 40225
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223คำอธิบายรายวิชา ว 40223
คำอธิบายรายวิชา ว 40223
 

แอลเคน แอลคีน แอลไคน์

  • 1. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ โดย จิรฎฐ์ สุขใจเหลือ ั โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม เอกสารสาหรับเผยแพร่ วิชาเคมี ว.40225 ปี การศึกษา 2551 เคมีอนทรีย์ ิ สารประกอบอินทรีย์ สารประกอบทีมธาตุคาร์ บอนเป็ นองค์ ประกอบ ทั้งทีได้ จากสิ่งมีชีวตและจากการสังเคราะห์ ่ ี ่ ิ ยูเรียได้จากสารสั งเคราะห์ โปรตีนได้จากสิ่งมีชีวต ิ NH4OCN (s) H2NCONH2 (s) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 1
  • 2. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ยกเว้นสารจาพวก • ออกไซด์ ของคาร์ บอน เช่ น CO2 • เกลือคาร์ บอเนตและไฮโดรเจนคาร์ บอเนต เช่ น CaCO3 , NaHCO3 •เกลือคาร์ ไบด์ เช่ น CaC2 •เกลือคาร์ ไบด์ เช่ น CaC2 ,เกลือไซยาไนด์ เช่ น NH4CN , เกลือไซยาเนต เช่ น NH4OCN •สารประกอบของคาร์ บอนบางชนิด เช่ น CS2, CCl4, COCl2 •สารที่ ประกอบด้ วยคาร์ บอนชนิดเดียว เช่ น เพชร แกร์ ไฟต์ ฟุลเลอรีน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 2
  • 3. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ไฮบริไดเซชันของคาร์ บอน • ไฮบริไดเซชัน(Hybridization) หมายถึงการที่อะตอมมิกออร์ บิตอล ต่ างชนิดกันตังแต่ 2 ออร์ บิตอลหรือมากกว่ า มารวมกันหรือผสมกัน ้ เพื่อจัดรูปร่ างเกิดเป็ นออร์ บิตอลใหม่ ท่ ีมีพลังงานเท่ าๆกันและรูปร่ าง เหมือนกัน เช่ นการเกิดไฮบริไดเซชันระหว่ าง s และ p ออร์ บิตอล • sp3 ไฮบริไดเซชัน • sp2 ไฮบริไดเซชัน • sp ไฮบริไดเซชัน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ไฮบริไดเซชันของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 3
  • 4. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 4
  • 5. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 5
  • 6. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 6
  • 7. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้ าง • สูตรโครงสร้ าง หมายถึงสูตรที่แสดงการจัดเรี ยงอะตอมของธาตุ องค์ ประกอบที่อยู่ใน 1 โมเลกุลของสารนัน ้ – แบบจุด(electron-dot structure หรือ Lewis’s structure – แบบเส้ น(dash formula) – แบบย่ อ(condensed formula) – แบบผสม(ผสมระหว่ างแบบเส้ นและแบบย่ อ) – แบบ bond-line formula จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้ าง Lewis’s structure dash formula condensed formula bond-line formula จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 7
  • 8. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้ าง จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 8
  • 9. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 9
  • 10. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้ างและแบบจาลองโมเลกุล 3 มิติ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 10
  • 11. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอริซึม ไอโซเมอริซึม(Isomerism) หมายถึง ปรากฎการณ์ ท่ ีสารประกอบอินทรีย์มีสูตร โมเลกุลเหมือนกันแต่ มีสมบัตแตกต่ างกัน และเรียกสารแต่ ละชนิดว่ า ิ ไอโซเมอร์ (Isomer) โครงสร้ างของสารประกอบ จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่ น (C) (C) g/cm3 CH3CH2CH2CH3 -138.3 -0.5 0.573 (CH3)3CH -159.4 -11.7 0.551 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง • ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง(Structural isomer) หมายถึงไอโซเมอร์ ท่ มี ี สูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่ การจัดเรี ยงตัวของอะตอมใน ตาแหน่ งที่ต่างกันหรื อมีสูตรโครงสร้ างต่ างกัน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 11
  • 12. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอร์ โครงสร้ าง * Structural isomers • มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน • มีการจัดเรียงอะตอมต่ างกัน • เป็ นสารประกอบต่ างชนิดกัน • มีช่ ือเรียกเฉพาะ • มีสมบัตทางกายภาพต่ างกัน ิ • สมบัตทางเคมีอาจจะคล้ ายคลึงกัน ิ บางครังเรียกว่ า "constitutional isomers". ้ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 12
  • 13. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สเตอริโอไอโซเมอร์ (Stereoisomer) สเตอริโอไอโซเมอร์ (Stereoisomer) หมายถึงไอโซเมอร์ ท่ ีมีสูตร โครงสร้ างเหมือนกัน อะตอมต่ างๆ ต่ อกันในลักษณะเดียวกัน แต่ แตกต่ างที่วิธีการจัดเรียงตัวของอะตอมในที่ว่างแบบ 3 มิติ แบ่ งเป็ น 2 ประเภท • Geometric isomers หรือ cis-trans isomers • Optical isomers จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ จีโอเมตริกซ์ ไอโซเมอร์ • จิโอเมตริ กซ์ไอโซเมอร์ (Geometric isomers) หมายถึง ไอโซเมอร์ ที่มีสูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่การจัดอะตอมหรื อหมู่อะตอมใน ่ ที่วางต่างกัน จะพบในสารประกอบแอลคีนและสารประกอบที่มีโครงร่ างเป็ นวง เช่น CH3-CH=CH-CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 13
  • 14. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ออปติกัลไอโซเมอร์ • ออปติกัลปไอโซเมอร์ (Optical isomers)หมายถึงไอโซเมอร์ ที่มี ์ สูตรโมเลกุลเหมือนกัน มีโครงสร้ างเป็ นเงากระจกกันและกัน แต่ โครงสร้ างทังสองไม่ สามารถทับกันอย่ างสนิท โมเลกุลทัง ้ ้ สองเป็ น ออปติกัลไอโซเมอร์ กัน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ หมู่ฟังก์ ชัน • หมู่ฟังก์ชน(Functional group) หมายถึงอะตอม หรื อหมู่อะตอมที่ ั แสดงสมบัติเฉพาะในโมเลกุลของสารประกอบอินทรี ย ์ หมู่ฟังก์ชน ั ชื่อหมู่ฟังก์ชน ั ประเภท ตัวอย่าง สารประกอบ สูตรโครงสร้าง C C พันธะคู่ แอลคีน H2C CH2 C C พันธะสาม แอลไคน์ HC CH – OH ไฮดรอกซิล แอลกอฮอล์ CH3CH2 – OH จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 14
  • 15. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ หมู่ฟังก์ ชัน หมู่ฟังก์ชน ั ชื่อหมู่ฟังก์ชน ั ประเภท ตัวอย่าง สารประกอบ สูตรโครงสร้าง – OH ไฮดรอกซิล ฟี นอล OH (Hydroxy) (Phenol) –O– ออกซี อีเทอร์ CH3-O-CH3 (Oxy) (Ether) O คาร์บอกซิล กรดอินทรี ย ์ O – C – OH (Carboxyl) (Organic acid) CH3-C-OH จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ หมู่ฟังก์ ชัน หมู่ฟังก์ชน ั ชื่อหมู่ฟังก์ชน ั ประเภท ตัวอย่าง สารประกอบ สูตรโครงสร้าง O แอลคอกซีคาร์ บอนิล เอสเทอร์ O (Alkoxycarbonyl) –C–O– (Ester) CH3-C-O-CH3 O คาร์บอกซาลดีไฮด์ แอลดีไฮด์ O –C–H (Carboxaldehyde) (Aldehyde) CH3–C–H O คาร์บอนิล คีโตน O –C– (Carbonyl) (Ketone) CH3–C–CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 15
  • 16. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ หมู่ฟังก์ ชัน หมู่ฟังก์ชน ั ชื่อหมู่ฟังก์ชน ั ประเภท ตัวอย่าง สารประกอบ สูตรโครงสร้าง – NH2 อะมิโน เอมีน CH3 – NH2 (Amino) (Amine) O เอไมด์ เอไมด์ O –C–NH2 (Amide) (Amide) CH3–C–NH2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ หมู่ฟังก์ ชัน หมู่ฟังก์ชน ั ชื่อหมู่ฟังก์ชน ั ประเภท ตัวอย่าง สารประกอบ สูตรโครงสร้าง – NH2 อะมิโน เอมีน CH3 – NH2 (Amino) (Amine) O เอไมด์ เอไมด์ O –C–NH2 (Amide) (Amide) CH3–C–NH2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 16
  • 17. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ตัวอย่ างหมู่ฟังก์ ชันของสารบางชนิด ธาซอล(Taxol) มีหมู่ฟังก์ ชันอะไรบ้ าง จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ไฮโดรคาร์ บอน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 17
  • 18. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ไฮโดรคาร์ บอน ไฮโดรคาร์ บอน(Hydrocarbon) หมายถึงสารประกอบอินทรีย์ท่ ประกอบด้ วย ี ธาตุ 2 ชนิด คือ คาร์ บอน(C) และไฮโดรเจน(H) แบ่ งตามลักษณะโครงสร้ าง ได้ ดังนี ้ – Aliphatic hydrocarbons •Alkanes  •Alkenes •Alkynes Open chain •Cyclic aliphatic – Aromatic hydrocarbons จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด • แอลเคน(Alkanes) สูตรทั่วไป CnH2n+2 พันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมเป็ นพันธะเดี่ยว(C–C) เป็ นไฮโดรคาร์ บอนประเภทอิ่มตัว(Saturated hydrocarbon) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 18
  • 19. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด • แอลคีน(Alkenes)และแอลไคน์ (Alkynes) สูตรทั่วไป CnH2n และ CnH2n-2 พันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมเป็ นพันธะคู่(alkene)หรือพันธะสาม(alkyne) จัดเป็ นไฮโดรคาร์ บอนประเภทไม่ อ่ ิมตัว(Unsaturated hydrocarbon จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด • ไซคลิกอะลิฟาติก(Cyclic aliphatic) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 19
  • 20. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ตัวอย่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนบางชนิด • อะโรมาติกไฮโดรคาร์ บอน(Aromatic hydrocarbon) วงแหวนของเบนซีน(Benzene ring) จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ ชนิดของคาร์ บอนอะตอมและไฮโดรเจนอะตอมในสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน • 1 คาร์ บอน(primary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 1 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ ั 1 คาร์ บอน ว่ า 1 ไฮโดรเจน • 2 คาร์ บอน(secondary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 2 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ ั 2 คาร์ บอน ว่ า 2 ไฮโดรเจน • 3 คาร์ บอน(tertiary carbon) หมายถึงคาร์ บอนอะตอมที่มีคาร์ บอน อะตอมอื่นมาเกาะอยู่ 3 อะตอม และเรียกไฮโดรเจนอะตอมที่มาเกาะอยู่กบ ั 3 คาร์ บอน ว่ า 3 ไฮโดรเจน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 20
  • 21. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ ชนิดของคาร์ บอนอะตอมและไฮโดรเจนอะตอมในสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน 1 1 3 2 1 3 1 2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน Alkanes(CnH2n+2) ระบบชื่อสามัญ(common name) แอลเคนที่เป็ นโซ่ตรง ให้ใช้คาว่า “normal(n)”นาหน้าชื่อที่เป็ นโซ่ตรง (เรี ยกจานวนคาร์บอนอะตอมด้วยภาษากรี ก)และลงเสี ยงท้ายด้วย –เอน (- ane) เช่น CH3-CH2-CH3 Propane CH3-CH2-CH2-CH3 n-Butane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลืCH3-CH2-CH2-CH2-CH3 อ n-Pentane โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 21
  • 22. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกจานวนคาร์ บอนอะตอมด้ วยภาษากรีก คาร์บอนอะตอม ชื่อคานาหน้า คาร์บอนอะตอม ชื่อคานาหน้า 1 meth- 6 hex- 2 eth- 7 hept- 3 prop- 8 oct- 4 but- 9 non- 5 pent- 10 dec- จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ กงิ่ ถ้ ากิงเป็ นหมู่ methyl(-CH3) เกาะอยู่ทคาร์ บอนอะตอมตัวที่ 2 ของโซ่ ่ ี่ หลัก ให้ ใช้ คาว่า iso- นาหน้ าชื่อ CH3-CH-CH3 Isobutane CH3 CH3-CH-CH2-CH3 Isopentane CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 22
  • 23. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes ถ้ากิ่งเป็ นหมู่ methyl(-CH3) 3 หมู่เกาะอยูท่ีคาร์ บอนอะตอมตัว ่ เดียวกัน ให้ใช้คาว่า neo- นาหน้าชื่อ CH3 CH3 CH3-CH-CH3 CH3-CH-CH2-CH3 CH3 CH3 neopentane neohexane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes ระบบIUPAC (The International Union of Pure and Applied Chemistry) แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ ตรง เรียกจานวนอะตอมของคาร์ บอนในโซ่ หลัก(parent chain)ด้ วยภาษากรีก นาหน้ า(prefix) และต่ อท้าย(suffix) ด้ วยคาว่า –ane CH3-CH2-CH2-CH3 Butane CH3-CH2-CH2-CH2-CH3 Pentane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 23
  • 24. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes แอลเคนทีเ่ ป็ นโซ่ กง ิ่ เลือกโซ่ คาร์ บอนอะตอมทีต่อกันยาวทีสุดเป็ นโซ่ หลัก ่ ่ กาหนดเลขตาแหน่ งคาร์ บอนอะตอมในโซ่ หลัก โดยให้ คาร์ บอน อะตอมทีมีหมู่แทนที(substituent)เกาะอยู่ ในตาแหน่ งต่าทีสุด เช่ น ่ ่ ่ 1 2 3 4 5 CH3-CH-CH2-CH2-CH-CH3 หมู่แทนที่ CH3 CH2-CH3 หมู่แทนที่ 6 7 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes - การเรียกชื่อ ให้ เรียกเลขแสดงตาแหน่ งของหมู่แทนทีตามด้ วยชื่ อของหมู่ ่ แทนที่ ตามด้ วยชื่อของโซ่ หลัก - ถ้ าหมู่แทนทีมีมากกว่ า 1 หมู่และเป็ นหมู่ต่างชนิดกัน ให้ เรียกหมู่แทนที่ ่ เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ เช่ น –CH3(methyl),-C2H5 (ethyl) - ถ้ าหมู่แทนทีมีมากกว่ า 1 หมู่และเป็ นหมู่ชนิดเดียวกัน ให้ เรียกเลขแสดง ่ จานวนหมู่แทนทีนาหน้ าชื่ อหมู่แทนที่น้ ันดังนี้ 2=di, 3=tri, 4=tetra ่ ………. จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 24
  • 25. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน Alkanes 1 2 3 4 5 CH3-CH-CH2-CH2-CH-CH3 CH3 CH2-CH3 6 7 2,5-dimethylheptane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน CH3-CH-CH2-CH-CH2-CH3 CH3 CH2-CH3 4-ethyl-2-methylhexane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 25
  • 26. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน • Alkyl group(R=CnH2n+1) สู ตรโครงสร้ าง ชื่อสามัญ ชื่อIUPAC -CH3 methyl methyl -CH2CH3 ethyl ethyl -CH2CH2CH3 n-propyl propyl -CHCH3 isopropyl 1-methylethyl CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน • Alkyl group(R=CnH2n+1) สู ตรโครงสร้ าง ชื่อสามัญ ชื่อIUPAC -CH2CHCH3 isobutyl 2-methylpropyl CH3 CH3CHCH2CH3 sec-butyl 1-methylpropyl CH3 tert-butyl 2-methyl-2-propyl CCH3 CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 26
  • 27. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อแอลเคน CH3 CH3-CH-CH-CH-CH2-CH CH3 3,5-dimethylhexyl จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ Cycloalkane(CnH2n) • การเรียกชื่อใช้ หลักเกณฑ์ เช่ นเดียวกับแอลเคน แต่ ให้ ใช้ คาว่า “cyclo” นาหน้ าชื่อสารแอลเคนนั้น จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 27
  • 28. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ methylcyclobutane ethylcyclohexane 1-ethyl-3-methylcyclohexane 1,3-methylcyclopentane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ 3-cyclopentyl-2,5-dimethylhexane จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 28
  • 29. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ Alkenes(CnH2n) 1. เลือกโซ่ คาร์ บอนอะตอมทีต่อกันยาวทีสุดและมีพนธะคู่อยู่ด้วยเป็ นโซ่ หลัก ่ ่ ั 2. การกาหนดเลขตาแหน่ งของคาร์ บอนอะตอมในโซ่ หลักจะต้ องให้ พนธะคู่อยู่ ั ในตาแหน่ งทีต่าทีสุด ่ ่ 3. ถ้ าสารประกอบนั้นมีพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ ให้ เลือกโซ่ คาร์ บอนทีมีพนธะ ั ่ ั คู่มากทีสุดเป็ นโซ่ หลัก แม้ ว่าจะไม่ ใช่ โซ่ ทยาวทีสุด ่ ี่ ่ 4. การเรียกชื่อใช้ หลักการเรียกเช่ นเดียวกับแอลเคน แต่ ลงเสี ยงท้ายชื่อด้ วย –อีน (-ene) เมื่อมีพนธะคู่ 1 พันธะ และ –ไดอีน(-diene) เมื่อมีพนธะคู่ 2 พันธะ ั ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ CH3 6 5 4 CH3-CH-CH-C=CH-CH3 3 2 1 CH3 3,5-dimethyl-2-hexene จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 29
  • 30. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC CH2=CHCH2CHCH3 4-methyl-1-pentene CH3 CH2=CHCH=CH2 1,3-butadiene CH3CH2CCH2CH3 2-ethyl-1-butene CH2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้าง ชื่อสามัญ ชื่อIUPAC H2C=CH2 ethylene ethene H2C=CH-CH3 propylene propene CH3 isobutylene 2-methylpropene H3C-C=CH2 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 30
  • 31. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ Cycloalkenes(CnH2n-2) 1. การเรียกชื่อใช้ หลักการเดียวกันกับการเรียกชื่อสารแอลคีน แต่ ให้ ใช้ คาว่ า “cyclo” นาหน้ า 2. การกาหนดเลขตาแหน่ งคาร์ บอนอะตอม ให้ พนธะคู่เป็ น ั ตาแหน่ งที่ 1,2 และให้ หมู่แทนทีอยู่ในตาแหน่ งต่าทีสุด ่ ่ 3. ถ้ ามีพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ ให้ ใช้ หลักการเดียวกันกับการ ั เรียกชื่อแอลคีนทีมพนธะคู่มากกว่ า 1 พันธะ ่ ี ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC Cyclobutene Cyclopentene Cyclohexene จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 31
  • 32. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC 1-Methylcyclopentene 1,3-Dimethylcyclohexene 3,5-Dimethylcyclohexene จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC 1,3-Cyclopentadiene 1,3-Cyclohexadiene จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 32
  • 33. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ Alkynes(CnH2n-2) • การเรี ยกชื่อแอลไคน์ใช้หลักการเรี ยกชื่อเช่นเดียวกับแอลคีนที่มีโครงสร้างเป็ น โซ่ตรง โซ่กิ่ง หรื อเป็ นวง แต่ให้ลงท้ายชื่อด้วยคาว่า-ไอน์(-yne) สูตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC CH3-C C-CH3 2-Butyne CH3-CH-C CH 3-Methyl-1-butyne CH3 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ สู ตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC HC CCH2CH2C CH 1,5-Hexadiyne HC C-CH-C CH 3-Methyl-1,4-penadiyne CH3 H2C CHCH2C CH 1-Penten-4-yne จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 33
  • 34. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ • พบครั้งแรกในประเทศอังกฤษ โดย Michael Faraday:1825 • Eilhardt Mitscherlich คานวณหาสู ตรโมเลกุลได้ C6H6 • ปี 1865 Kekule เสนอสู ตร โครงสร้ างของเบนซีน • ปี 1872 เสนอโครงสร้ างของเบน เบนซีน(Benzene) ซีนเป็ น resonance จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 34
  • 35. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ • โครงสร้ างของเบนซีน ความยาวพันธะระหว่ างคาร์ บอนอะตอมทุกพันธะยาวเท่ ากันหมด= 1.39A (แองสตรอม) ซึ่งเป็ นพันธะทีอยู่ระหว่ างพันธะคู่(1.34A) และพันธะเดี่ยว ่ (1.54A) มุมระหว่ างพันธะทุกมุมเป็ น 120 จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 35
  • 36. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ • อนุ พั น ธ์ ของเบนซี น เกิ ด จากไฮโดรเจนอะตอมใน โ มเ ลกุ ล ของ เบน ซี น ถู ก แทนที่ด้ว ยธาตุ ใดธาตุ ห นึ่ ง หรือหมู่ธาตุใดหมู่ธาตุหนึ่ง จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ • เบนซีนมีหมู่แทนที่เพียงหมู่เดียว ให้อ่านชื่อหมู่แทนที่และตาม ด้วยชื่อหลักเบนซีน จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 36
  • 37. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั • บางครั้งนิยมเรี ยกชื่อสามัญแทนชื่อIUPAC จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั • เบนซีนมีหมู่แทนที่ 2 หมู่ให้ ระบุเลขตาแหน่ งของหมู่แทนที่ หรือใช้ คาว่ า “ortho”(o) แทนตาแหน่ ง 1,2 “meta”(m) แทนตาแหน่ ง 1,3 และ “para”(p) แทนตาแหน่ ง 1,4 • เบนซีนมีหมู่แทนทีมากกว่ า 2 หมู่ ให้ ระบุเลขตาแหน่ งของหมู่แทนที่ ่ จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 37
  • 38. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 38
  • 39. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 39
  • 40. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่ออนุพนธ์ ของเบนซีน ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 40
  • 41. 03/10/54 เคมีอินทรีย์ เบนซีน อนุพนธ์ ของเบนซีนและพอลินิวเคลียร์ ั จิรัฎฐ์ สุขใจเหลือ โรงเรียนแม่ ใจวิทยาคม 41