SlideShare a Scribd company logo
วิชา ส33102 
เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
จัดทาโดย 
นางสาวธิดารัตน์ ดาวประทีป ม.6.1 เลขที 11 
นางสาวดวงกมล เงินอนันต์ ม.6.1 เลขที่ 42 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนสตรีวิทยา
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
Historical source
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทา การพูด 
การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก 
คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึก 
ของคนในปัจจุบัน สงิ่ที่มนุษย์จับต้องและทิง้ร่องรอยไว้ กล่าวได้ว่าอะไรก็ตามที่มา 
เกี่ยวพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐานทาง 
ประวัติศาสตร์ได้ทัง้สิน้
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
• จาแนกตามความสาคัญของหลักฐาน 
- หลักฐานชัน้ต้น 
- หลักฐานชัน้รอง 
• จาแนกตามลักษณะของหลักฐาน 
- ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ( โบราณสถาน โบราณวัตถุ ) 
- เป็นลายลักษณ์อักษร 
- จารึก 
- เอกสารพนื้บ้าน ( ตานาน,พงศาวดาร,จดหมายเหตุ )
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
• จาแนกตามความสาคัญของหลักฐาน 
• จาแนกตามลักษณะของหลักฐาน
การจา แนกหลักฐานตามความสา คัญ 
• หลักฐานชัน้ต้น 
• หลักฐานชัน้รอง
หลักฐานชั้นต้น 
คือ หลักฐานที่บันทึกโดยผู้เกี่ยวข้องโดยตรงหรือผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตัวเอง 
รวมทัง้โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สร้างขึน้ในยุคสมัยนัน้ 
เสมาหินทราย บ้านโพธิ์ไชย จ.ขอนแก่น วัดไชยวัฒนาราม จ.พระนครศรีอยุธยา
ฐาปนีย์เอียดศรีชัย 
รายงานสดในช่วงสถานการณ์มหาอุทกภัยนา้ท่วมไทย ปี 2554
หลักฐานชั้นรอง 
คือ หลักฐานที่ผู้บันทึกได้รับรู้เหตุการณ์จากการสื่อสารของบุคคลอื่นมาอีกทอด 
หนงึ่ ที่เรียกว่า ตานาน และยังรวมทัง้งานเขียนประวัติศาสตร์ที่ศึกษาข้อมูล 
จากหลักฐานชัน้ต้นด้วย 
หนังสือโลกประวัติศาสตร์ 
เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ผู้ประกาศข่าว
ประเด็นการศึกษาของนักประวัติศาสตร์อาจทาให้เห็นความสาคัญของหลักฐาน 
แตกต่างกัน เช่น งานเขียนประวัติศาสตร์เรื่องการเสื่อมและการล่มสลายของจักรวรรดิ 
โรมัน ของเอ็ดเวิร์ด กิบบอน ในสมัยปลายศตวรรษที่ 18 (The history of the Decline 
and Fall of the Roman Empire) 
สาหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์โรมันจะถือว่าเป็นหลักฐานชัน้รองเพราะผู้แต่งไม่ได้ 
มีความเกี่ยวข้องเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ 
สาหรับผู้ศึกษาทางประวัติศาสตร์กรอบความคิดและโลกทัศน์ของปัญญาชนจะ 
ถือว่าเป็นหลักฐานชัน้ต้นเพราะงานเขียนนีเ้กิดขึน้ภายในช่วงเวลานัน้ 
เอ็ดเวิร์ด กิบบอน 
(Edward Gibbon) 
ผู้แตง่
การจา แนกหลักฐานตามลักษณะ 
• หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 
• หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 
คือ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือ เช่น จารึก ตานาน บันทึกความทรงจา เอกสารทาง 
ราชการ ชีวประวัติ
พระราชพงศาวดารกรุงเก่า 
จดหมายเหตุลาลูแบร์ 
(Du Royaume de Siam)
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 
คือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ ซึ่งเป็นหลักฐานทางวรรณคดี เช่น รูปเคารพ มหาวิหาร 
โครงกระดูกมนุษย์ กระดูกสัตว์ 
หม้อสามขา พบที่บ้านเก่า จ.กาญจนบุรี ตะเกียงโรมันสาริด จ.กาญจนบุรี
พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี 
พระบรมราชานุสาวรีย์พระสุริโยทัย 
จ.พระนครศรีอยุธยา 
ภาชนะดินเผาที่เขียนลายด้วยสีแดง 
จากแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จ. 
อุดรธานี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆของโลก 
ซึ่งจะแบ่งหลักฐานออกไปตามยุคสมัย ได้แก่ หลักฐานสมัยก่อน 
ประวัติศาสตร์ หลักฐานประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ สมัยกลาง 
สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• โครงกระดูกมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ 
– โครงกระดูกมนุษย์ปักกิ่ง 
• อยู่ในช่วงยุคหินเก่า 
• มีอายุประมาญ 500,000ปี 
• พบที่ถา้โจวโข่วเตีย้น 
• ขุดพบเครื่องมือหิน กระดูกสัตว์ รวมถึง 
เถ้าถ่านที่แสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้ไฟแล้ว
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• เครื่องปั้นดินเผาวัฒนธรรมหยางเชา 
– เป็นมนุษย์ยุคหินใหม่ 
– มีอายุประมาณ 5,000ปี 
– อาศัยอยู่ที่ลุ่มแม่นา้หวางเหอ 
– พบเครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสี เขียนเป็น 
ลายเรขาคณิต ลายต้นไม้ นก และสัตว์อื่นๆ 
– พบการขูดสลักลายจักสานและลายเชือกทาบ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• เครื่องปั้นดินเผาวัฒนธรรมหลงชาน 
– เป็นมนุษย์ยุคหินใหม่ 
– มีอายุประมาณ 5,000ปี 
– อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่นา้หวางเหอทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจีน เลียบ 
ชายฝั่งมาจนถึงลุ่มแม่นา้ฉางเจียง 
– พบเครื่องปั้นดินเผาใช้แป้นหมุน 
– วิธีการเผามีความก้าวหน้ากว่าวัฒนธรรมหยางเชา
เครื่องปั้นดินเผาใช้แป้นหมุน 
-มีเนือ้ละเอียด บาง และแกร่ง ผิวสีดาขัดเป็นมันเงา 
-นิยมทาภาชนะ 3 ขา 
แป้นหมุนที่ใช้แรงคนเหวี่ยง ใช้มือ ใช้เท้า หรือผู้อื่น 
หมุน มักมีหัวแป้น ขนาดใหญ่ และหนา เพื่อให้มีรอบ 
หมุนได้นาน ไม่ต้องหมุนบ่อยๆ 
แป้นหมุนที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• เมืองโบราณโมเฮนโจดาโร และ ฮารัปปา 
– เป็นหลักฐานทางด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่สาคัญที่สุดของแหล่ง 
อารยธรรมลุ่มแม่นา้สินธุ 
– ก่อสร้างโดยชาวดราวิเดียน 
– อยู่ในช่วง 2,500 – 1,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
– พบโบราณสถาน เช่น เมืองโบราณ อาคารบ้านเมือง 
ถนน สระอาบนา้สาธารณะ 
– พบโบราณวัตถุ เช่น ประติมากรรมหล่อด้วยโลหะ 
ปั้นดินเผา และสลักจากหิน เป็นรูปเทพเจ้า 
รูปคนทัง้ชายและหญิง 
รูปปั้นที่ค้นพบที่ค้นพบในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
สันนิษฐานว่าเป็นชนชัน้สูงหรือนักบวช
เมืองโบราณโมเฮนโจดาโร และ ฮารัปปา ประเทศปากีสถาน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• เมืองโบราณโมเฮนโจดาโร และ ฮารัปปา 
– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับด้านการปกครองที่มีลักษณะรวมอานาจ ระบบเศรษฐกิจ 
แบบเกษตรกรรม ระบบชลประทาน สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ สภาพชีวิต 
ของประชากร และศิลปวัฒนธรรมของชาวดราวิเดียนในช่วงก่อนที่ชาวอารยัน 
เข้ามาในอินเดีย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน 
– หลังจากอารยธรรมลุ่มแม่นา้สินธุได้สนิ้สุดลง ได้เกิดอารยธรรมพระเวทขึน้ 
– เป็นหลักฐานที่สาคัญของประวัติศาสตร์อินเดีย ซึ่งเป็นคัมภีร์ทางศาสนา 
– กล่าวถึงสมัยแรกเริ่มที่ชาวอารยันอพยพเข้ามาตัง้ถิ่นฐานในอินเดีย 
– คัมภีร์นีเ้กิดขึน้โดยวิธีบอกเล่าสืบต่อกันมา ซงึ่จัดเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะ 
– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ กรอบความคิดทางการเมืองในเรื่องสมมติเทพ ความเชื่อใน 
สิ่งเหนือธรรมชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณี กรอบปรัชญาของชาวอารยัน 
– เป็นต้นกาเนิดของคัมภีร์อื่นๆ
คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• โครงกระดูกมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
ทาให้เห็นวิวัฒนาการของมนุษย์แต่ละสมัย และยังค้นพบสงิ่ของเครื่องใช้ ทาให้รู้ 
เกี่ยวกับการดาเนินชีวิต 
– โครงกระดูกมนุษย์สไตน์ไฮม์ 
• มีอายุ 350,000 ปี 
• พบที่แหล่งโบราณคดีสไตน์ไฮม์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• โครงกระดูกมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
– โครงกระดูกมนุษย์นีแอนเดอร์ทอล 
• มีอายุระหว่าง 200,000 – 280,000 ปี 
• พบที่หุบเขานีแอนเดอร์
ภาพเปรียบเทียบลักษณะทาง 
กายภาพจากโครงสร้างกระดูก 
ระหว่างนีแอนเดอร์ธัล (ซ้าย) กับ 
มนุษย์สมัยใหม่ (ขวา)
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• ศิลปะถา้ 
ช่วยให้รู้ว่ามนุษย์ล่าสัตว์อะไร หรือเลีย้งสัตว์อะไร หรือในบริเวณนัน้มีสัตว์ไรบ้าง 
– ภาพเขียนสีวัวป่า ในถา้อัลตามีรา 
รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบภายในถา้อัลตะมิระ (Alta mira) ทางตอนใต้ของสเปน
- ภาพเขียนสีฝูงม้าและวัวกาลังกระโดด ในถา้ลาสโก ทางตะวันตกเฉียง 
ใต้ของฝรั่งเศส
- ภาพม้า วัวป่า สิงโต และแรด ในถา้โชเว
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• สโตนเฮนจ์ 
– เป็นแท่งหินขนาดใหญ่นามาเรียนเป็นรูปวงกลม 
– แสดงให้เห็นถึงความสามารถด้านสถาปัตยกรรม
หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
เริ่มตัง้แต่ราชวงศ์ชาง 
• หลักฐานลายลักษณ์อักษร 
– เป็นอักษรภาพจารึกตามกระดองเต่า 
กระดูกสัตว์ และภาชนะสาริดที่ใช้ในพิธีกรรม 
– ผู้จารึกมักเป็นกษัตริย์และนักบวช 
– มีวัตถุประสงค์เพื่อกระทาพิธีเสี่ยงทาง 
อักษรจีนจารึกบนกระดองเต่า
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
• สื่อจี้ 
– เป็นบันทึกประวัติศาสตร์ 
– เขียนโดย ซือหม่าเซียน 
– ให้ข้อมูลด้านการเมือง การปกครอง 
และเหตุการณ์ทางการเมืองสาคัญ 
เช่น เหตุการณ์ในสมัยจักรพรรดิจิ๋นซีหรือฉิน 
จิ๋นซีฮ่องเต้
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
• สุสานจักรพรรดิจิ๋นซี 
– จักรพรรดิจิ๋นซีเป็นผู้รวบรวมจีนให้เป็นปึกแผ่น 
และตัง้รางวงศ์ฉิน 
– เป็นจักรพรรดิองค์แรกของจีน 
– ผลงานที่สาคัญ กาแพงเมืองจีน พระราชวัง และสุสานของพระองค์ 
– มีการขุดค้นพบหุ่นทหารดินเผา จานวนมากกว่า6,000ตัว รูปปั้นม้าศึก รถศึก 
– หุ่นเหล่านีแ้สดงถึงความเชื่อในเรื่องโลกหลัง ความตายว่าทหารเหล่านีจ้ะติดตามรับ 
ใช้จักรพรรดิโลกหน้า 
– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับด้านการเมือง การปกครอง ระบบวัฒนธรรมประเพณีแบบทหาร 
และรูปแบบศิลปกรรมสมัยฉิน
กาแพงเมืองจีน
สุสานจักรพรรดิจิ๋นซี
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
• ตาราอรรถศาสตร์ 
– เขียนโดยพราหมณ์เกาฏิลยะ 
– สะท้อนภาพการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
• คัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ 
– แต่งโดยพราหมณ์มนู 
– เป็นคัมภีร์ที่พราหมณ์ใช้อ้างอิง จึงมีอิทธิพลต่อศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมาก
คัมภีร์ มานวธรรมศาสตร์ กล่าวไว้ว่า ในครัง้เมื่อโลกยังไม่ปรากฏสงิ่ใดๆ บน 
โลก พระอาตมภู ( ผู้เกิดเอง ) มีความประสงค์จะ สร้างทุกสิ่ง จึงสร้างนา้ขึน้มาก่อน 
แล้วนาพืชโปรยลงนา้ เวลาผ่านไปพืชนัน้กลายเป็นไข่ทอง และกาเนิด พระพรหม 
ปรากฏขึน้ นามว่า หิรัณยครรภ์ หลังจากนัน้พระพรหม จึงแบ่งร่างเป็น ชาย - หญิง 
เพื่อสร้างโลกและมนุษย์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
• ศิลาจารึกของพระเจ้าอโศก 
– ใช้บันทึกเรื่องราวของพระองค์ 
– จารึกไว้ตามผนังถา้
หัวเสาจารึกของพระอโศก 
-เป็นเสาหินที่มีหัวเสาเป็นรูปสิงห์หันหลังชนกัน 
- ใช้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาลอินเดีย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
• พระเจ้าอโศกมหาราช 
– เป็นกษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ 
– พระองค์ทรงใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการปกครองประเทศ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• ตัง้แต่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์ มาจนถึงอารยธรรม 
กรีกและโรมัน 
• มีตัวอักษรคูนิฟอร์มของเมโสโปเตเมีย 
• อักษรไฮโรกลิฟิกของอารยธรรมอียิปต์ 
• อักษรกรีก 
• อักษรโรมัน
อักษรคูนิฟอร์ม(รูปลิ่ม) เปรียบเทียบเป็น อักษรภาษาอังกฤษในปัจจุบัน
อักษรภาพไฮโรกลิฟ
อักษรกรีก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี 
– เป็นหลักฐานเกี่ยวกับกฎหมาย 
– จารึกบนแท่งหินสูง 8 ฟุต 
– โดยพระเจ้าฮัมมูราบีแห่ง 
อาณาจักรบาบิโลเนีย 
– บทลงโทษของกฎหมาย 
ค่อนรุนแรงในลักษณะตาต่อตา ฟันต่อฟัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• บันทึกในสมัยอียิปต์โบราณ 
– อักษรไฮโรกลิฟิก 
• เป็นอักษรภาพ
แผนภาพอย่างง่ายเทียบเสียงในภาษาอังกฤษกับภาพเฮียโรกลิฟิกส์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• บันทึกในสมัยอียิปต์โบราณ 
– อักษรไฮแรติก 
• บันทึกลงในการะดาษปาปิรัส 
ชาวอียิปต์จะนาหญ้ามาทุบปลาย จนเป็นฝอยมีลักษณะคล้ายพู่กัน ใช้สาหรับขีดเขียนลงบน 
กระดาษปาปิรัส ต่อมามีการพัฒนามาใช้ปล้องหญ้าตัดให้ปลายแหลมคล้ายปากกาส่วนหมึกทา 
มาจากถ่านไม้บดละเอียดผสมกับยางไม้ ซึ่งทาให้การจดบันทึกลงบนกระดาษปาปิรัสเป็นไปได้ 
ด้วยดีและเฟื่องฟูเป็นอย่างมาก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• บันทึกในสมัยอียิปต์โบราณ 
– ความรู้ของชาวอียิปต์ในทุกด้านจะถูกบันทึกไว้บนกระดาษปาริปัส 
– พบบันทึกที่เกี่ยวกับการแพทย์ ซงึ่แสดงว่าชาวอียิปต์มีความรู้ความเข้าใจ 
เกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกาย การกาจัดเชือ้โรค และการใช้ยาในการรักษาโรค 
– บันทึกเกี่ยวกับด้านโหราศาสตร์และดาราศาสตร์ 
– บันทึกเกี่ยวกับศาสนา คือ บันทึกของผู้ตาย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• งานเขียนประวัติศาสตร์ของกรีก-โรมัน 
– โดยชาวกรีกมีความคิดทางประวัติศาสตร์ว่าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 
เกิดขึน้ เปลี่ยนแปลง หมุนเวียนกลับสู่กาเนิดเดิม 
นั่นคือ ประวัติศาสตร์ คือวัฏจักร
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• งานเขียนประวัติศาสตร์กรีก 
– ประวัติศาสตร์ของเฮโรโดตัส 
• เนือ้หาเกี่ยวกับสงครามระหว่างกรีกกับเปอร์เซีย 
งานเขียนของเฮโรโดตุสทาให้เขาได้รับสมญาว่า "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" และคาที่ 
เขาใช้ในงานของตนคือคาวา่ Historie ซงึ่ก่อนหน้านีมี้ความหมายคือ "การวิจัย" 
เพียงอย่างเดียว ได้กลายเป็นภาษาละตินและกลายเป็นคาสมัยใหม่คือคาว่า 
"ประวัติศาสตร์"หรือ "เรื่องราว" สมญาเช่นนีข้องเขาได้รับมาจาก ชิเซโร่รัฐบุรุษและ 
นักปราชญ์แห่งโรมัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ 
• งานเขียนประวัติศาสตร์กรีก 
– บันทึกสงครามกอล 
• เรื่องราวการทาสงครามในแคว้นโกล 
– เยอร์มาเนีย 
• เรื่องราวของชนเผ่าเยอรมัน และสงคราม
• งานเขียนประวัติศาสตร์กรีก 
– ประวัติศาสตร์สงครามเพโลพอนนีเซียน ของทูซิดีดิส 
• เนือ้หาเกี่ยวกับสงครามระหว่างนครรัฐเอเธนส์กับนครรัฐสปาร์ต้า
หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยกลาง 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยกลาง
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง 
• เป็นช่วงเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการรับอิทธิพลอารยธรรมต่างชาติเข้ามา 
โดยเฉพาะอิทธิพลพระพุทธศาสนา 
• ศิลปะของจีนได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะของอินเดีย ในช่วงราชวงศ์เว่ยเหนือ 
• งานบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์ 
– เรียกว่า เจิง้สื่อ 
– เป็นการบันทึกพฤติกรรมของชนชัน้ปกครอง เพื่อเป็นบทเรียนทางศีลธรรมสาหรับชนชัน้ 
ปกครองในราชวงศ์ปัจจุบัน 
– เช่น โฮ่วฮันฉู่ (ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ฮนั่ยุคหลัง) 
สุยฉู่ (ประวัติศาสตร์ราชวงศ์สุย) 
ถังฉู่ (ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ถัง) 
ซ่งสื่อ (ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ซ่ง) 
หยวนสื่อ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง 
• หลักฐานแหล่งโบราณคดีถา้พุทธศิลป์ 
– ในสมัยราชวงศ์ฮนั่ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ 
เข้ามาในประเทศจีนโดยผ่านเส้นทางสายไหม 
– ราชวงศ์เว่ยเหนือ ได้มีการขุดเจาะถา้และ 
สร้างสรรค์ศิลปกรรม ทัง้ด้านประติมากรรม 
และจิตรกรรมตามปรัชญาทางพระพุทธศาสนา 
– ถา้ที่สาคัญได้แก่ ถา้หยุนกัง ในมญฑลฉ่านซี และถา้ตุนหวง ในมณฑลเหอหนาน 
– พบคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา พุทธประติมากรรมสมัยต่างๆ 
– ภาพจิตรกรรมพบที่ถา้ตุนหวง แสดงถึงเนือ้หาในคัมภีร์พระสูตรทางพระพุทธศาสนา 
นิกายมหายาน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
• เป็นสมัยของการแตกแยกทางการเมืองและการรุกรานจากพวกมุสลิม 
• หนังสือประวัติศาสตร์ของสุลต่านฟีรุส ชาห์ตุคลุก 
– ผู้เขียน คือ ซีอา อัลดิน บารนี 
– ได้เรียบเรียงประวัติของสุลต่านฟีรุส ชาห์ตุคลุก 
– วัตถุประสงค์เพื่อแนะนาให้สุลต่านแห่งดาลี 
ทุกพระองค์ทรงปฏิบัติหน้าที่ต่อศาสนาอิสลาม 
– คุณค่าของหนังสือเล่มนีคื้อ การรวบรวมข้อมูล 
และการแยกแยะข้อมูลเกี่ยวกับปรัชญา การเมือง 
ประวัติศาสตร์ ศาสนา อักษรศาสตร์ และข้อมูลชีวิต 
ประจาวันของประชาชน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
• งานวรรณกรรมของอะมีร์คุสเรา อะมีร์ 
คุสเรา 
– มีลักษณะเป็น โคลง กลอน และร้อยแก้ว 
– ได้แก่ ซรัน อัส ซาเดน และมิฟตาห์อัล ฟู 
ตูห์ซงึ่มีเนือ้หาเกี่ยวกับชัยชนะของ 
สุลต่านจาลัล อัล ดิน คัลจิ 
– นูห์ซิปีหร์เป็นบทกวีสรรเสริญราชสานัก 
พลเมือง ภาษา และธรรมชาติ 
– เป็นงานวรรณกรรมที่มีลักษณะหรูหรา 
ขยายเกินความจริง และมีการใช้สานวน 
ทางวรรณคดีในการประพันธ์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยกลาง 
• เป็นสังคมภายใต้การครอบงาของคริสต์ศาสนาและระบบฟิวดัล 
• บันทึกด้วยภาษาละติน 
• มหากาพย์ชองซองเดอโรลองด์ 
– เป็นวรรณกรรมสดุดีวีรกรรมของอัศวินของฝรั่งเศส 
– มีต้นกาเนิดมาจาก สงครามในสเปนระหว่างจักรพรรดิ 
ชาร์เลอมาญกับกองทัพอาหรับ 
– เหตุการณ์นีถู้กเล่าขานกลายเป็นตานานและวรรณกรรมมุขปาฐะในสมัยกลาง 
– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สังคมในกรอบความคิดและโลกทัศน์ของคน 
ยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบฟิวดัลและความศรัทธาในคริสต์ศาสนา
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยกลาง 
• ทะเบียนราษฎร 
– เป็นเอกสารการเมืองการปกครองอังกฤษที่พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 
– พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ทรงจัดทาขึน้ 
– ได้รวบรวมข้อมูลประเทศอังกฤษ จานวนประชาการบนที่ดินทุกแปลง หมู่บ้าน 
ทุกแห่ง จานวนทรัพย์สิน 
– ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับขุนนางและข้าติดที่ดินของอังกฤษ 
– ใช้ศึกษาการเมืองและสภาพเศรษฐกิจของประเทศอังกฤษ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยกลาง 
• หนังสือแห่งกาลเวลา 
– เนือ้หาเกี่ยวกับกิจกรรมทางศาสนาเป็นหลัก 
– และมีเนือ้หาเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมร่วมสมัย 
– ได้แก่ เรื่องปฏิทิน คาสวดมนต์ เพลงสวด และพิธีกรรมในวันสาคัญทาง 
ศาสนา 
– เป็นเอกสารที่ให้ข้อมูลประวัติศาสตร์กลาง 
– เป็นหนังสือที่พิมพ์ด้วยมือ และมีภาพวาดประกอบเป็นจานวนมาก
ภาพจากปฎิทินวาดโดยพี่น้องตระกูลลิมเบิร์ก 
- กล่าวถึงวิถีวิตของผู้คนชนชัน้ต่างๆในระบบฟิวดัล
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• เริ่มต้นด้วยการสถาปนาราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368 - 1644) 
• สมัยราชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644 - 1911) 
• การปฎิวัติประชาธิปไตย (ค.ศ.1911) 
• และการปฎิวัติสังคมคอมมิวนิตส์(ค.ศ.1949) จนถึงปัจจุบัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• งานวรรณกรรมของหลู่ ซุ่น 
– เรื่องขงจือ้กับสังคมยุคใหม่ของจีน 
• เนือ้หาสะท้อนปัญหาสังคมที่มีความอยุติธรรม ยึดมนั่ในขนบธรรมเนียมที่ล้าหลัง 
ยึดถือการบางชนชัน้ 
– วัตถุประสงค์คือ การกระตุ้นให้สังคมจีนเกิด 
การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพื่อให้สังคมจีนมี 
ความเจริญก้าวหน้า
หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• เอกสารแถลงการณ์ร่วมจากการประชุมระหว่างประมุข ผู้นารัฐบาล 
อาเซียน กับประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ กรุง 
กัวลาลัมเปอร์ วันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1997 
• ใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจีนกับกลุ่มอาเซยีน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• เริ่มด้วยการที่พวกมุคัลสถาปนาราชวงศ์มุคัล ค.ศ.1526 จนถึงสมัยอังกฤษ 
ปกครองอินเดีย และอินเดียได้รับเอกราชใน ค.ศ.1947 จนถึงปัจจุบัน 
• ประวัติของอักบาร์ 
– เป็นพระราชประวัติของพระเจ้าอักบาร์มหาราช 
– เป็นพระมหากษัตริย์องค์สาคัญของราชวงศ์มุคัล 
– แบ่งเป็น3ส่วน 
• ส่วนที่1 ประวัติของอักบาร์ 
• ส่วนที่2 ยุคสมัยจักรพรรดิอักบาร์ 
• ส่วนที่3 เกี่ยวกับการบริหารปกครองประเทศ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• พระราชโองการของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย 
– เป็นคามนั่สัญญาสาหรับชาวอินเดีย 
– เป็นการที่อังกฤษปกครองอินเดีย โดยให้อิสระแก่ชาวอินเดีย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• ตัง้แต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา 
• ยุโรปได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 
• คาประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง 
– เป็นเอกสารคาประกาศของคณะปฎิวัติ 
ฝรั่งเศสใน ค.ศ.1789 
– เกิดขัน้หลังจากคณะปฎวิัติฝรั่งเศสได้ทาการ 
โค่นล้มอานาจสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 
– เกิดการร่างรัฐธรรมนูญขึน้ 
– สภาแห่งชาติฝรั่งเศสได้ออกประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ถือเป็นการสนิ้สุด 
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• คาประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง 
– สะท้อนให้เห็นถึงความหวังของประชาชนในการมีสิทธิและเสรีภาพของแต่ละ 
บุคคลภายใต้กรอบความคิดเรื่องเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ 
– ดังคาที่ปรากฏในคาประกาศข้อแรกว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับสิทธิ เสรีภาพ 
และความเสมอภาค 
– ให้ข้อมูลพืน้ฐานด้านความคิดที่ก่อให้เกิดเหตุการณ์ปฏิวัติฝรั่งเศส ใน 
ค.ศ.1789
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่และสมัยปัจจุบัน 
• สนธิสัญญาแวร์ซาย 
– เกิดขึน้หลังจากสงครามโลกครัง้ที่1 ได้ยุติลง 
– ประเทศมหาอานาจฝ่ายพันธมิตรและประเทศอื่น 
ได้จัดประชุมสันติภาพ และได้ร่างสนธิสัญญา 
ขึน้มา5ฉบับสาหรับชาติผู้แพ้สัญญา 
– ชาติผู้แพ้สงคราม ได้แก่ เยอรมนี ออสเตรเรีย 
ฮังการี บัลแกเรีย และตุรกี 
– สนธิที่สาคัญที่สุดคือ สนธิสัญญาแวร์ซายที่ฝ่ายสัมพันธมิตรลงนามกับ 
เยอรมันในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919 
– ประกอบด้วยข้อบังคับ ที่ลดอานาจและดินแดนของเยอรมนีไม่ให้ฟื้นตัวได้อีก

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
Wichai Likitponrak
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
mintmint2540
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
Khunnawang Khunnawang
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 

Similar to หลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Sununtha Sukarayothin
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 
โบราณวัตถุ ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
โบราณวัตถุ  ป.2+534+55t2his p02 f18-4pageโบราณวัตถุ  ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
โบราณวัตถุ ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
สไลด์  โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1pageสไลด์  โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
สไลด์ โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (20)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
โบราณวัตถุ ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
โบราณวัตถุ  ป.2+534+55t2his p02 f18-4pageโบราณวัตถุ  ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
โบราณวัตถุ ป.2+534+55t2his p02 f18-4page
 
สไลด์ โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
สไลด์  โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1pageสไลด์  โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
สไลด์ โบราณวัตถุ+534+dltvhisp2+55t2his p02 f18-1page
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 

หลักฐานทางประวัติศาสตร์