SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
จัดทาโดย 
นางสาวมนสิชา ธนกาญจนโรจน์ ม.6.5 เลขที่ 29 
นางสาวสุนันทา ศุกรโยธิน ม.6.5 เลขที่ 36
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 
• ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ใน 
อดีต ซึ่งเกิดในช่วงเวลาและยุคสมัยที่แตกต่างกัน นักประวัติศาสตร์ 
แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัย โดยอาศัยหลักฐาน 
ที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเกณฑ์ ได้แก่ 
• สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistorical Period) เป็น 
ช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือในการเล่าเรื่องของตนเอง 
• สมัยประวัติศาสตร์ (Historical Period) เป็นช่วงเวลาที่ 
มนุษย์ใช้ตัวหนังสือในการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆในสังคม
ในปัจจุบัน องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง 
สหประชาชาติ(UNESCO) ได้กำหนดยุคสมัยเพิ่มมำอีก 1 สมัย เรียกว่ำ 
“ สมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ (Pretohistorical Period) ” ซงึ่เป็นยุคสมัยที่ 
มนุษย์ในสังคมไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือในกำรบันทึกเรื่องรำวของตนเอง แต่มีผู้คน 
ในสังคมอื่นได้เดินทำงผ่ำนและบันทึกเรื่องรำวถึงผู้คนเหล่ำนัน้ไว้
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
• สมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ 
ตัวอักษรขึ้นใช้จึงยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์ 
อักษร ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์จึง 
ต้องอาศัยการวิเคราะห์และตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีที่ 
ค้นพบ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้เครื่องประดับที่ทา จากหิน โลหะ และ 
โครงกระดูกมนุษย์ 
• ปัจจุบันการกา หนดอายุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย อาศัย 
พัฒนาการทางเทคโนโลยีแบบแผนการดา รงชีพและสังคม ยุคสมัยทาง 
ธรณีวิทยา นา มาใช้ร่วมกันในการกา หนดยุคสมัย โดยสามารถแบ่งยุค 
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้ดังนี้
เริ่มเมื่อประมาณ 500,000 ถึง 4,000 ปี ล่วงมาแล้ว แบ่งเป็น 3 ยุคย่อย ดังนี้ 
ยุคสมัยแรกซึ่งมีวัฒนธรรมไม่ค่อยจะดีนัก เป็นมนุษย์นีแอนเดอธัล 
(Neanderthal Man) กะโหลกศีรษะแบน หน้าผากลาด เริ่มรู้จัก 
ศิลปะวาดภาพสัตว์บนผนังถ้า เริ่มมีพิธีฝังศพ อาศัยอยู่ในถ้า มีการเขียน 
ภาพฝาผนังใช่เครื่องมือหินแบบหยาบๆ และอารยธรรมต่าง ๆ ก็ไม่ 
เจริญรุ่งเรือง ดังนั้นคนจึงหาวิธีปรับตัว เช่น ใช้หินทา เป็นอาวุธล่า 
สัตว์และนา สัตว์มาฆ่าแล้วนา ไปทา เครื่องนุ่งห่ม ยุคนี้อยู่ในช่วง 2.5 ล้าน 
- 1 หมื่นปีล่วงมาแล้ว
• ยุคหินเก่าตอนต้น ประมาณ 2,500,000-180,000 ปีมาแล้ว เครื่องมือ 
เครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะเป็นขวานกะเทาะแบบกาปั้น 
• ยุคหินเก่าตอนกลาง ประมาณ 180,000-49,000 ปีมาแล้ว เครื่องมือ 
เครื่องใช้ที่ทา ด้วยหินมีลักษณะแหลมคม มีด้ามยาวขึ้น และมีประโยชน์ 
ในการใช้สอยมากขึ้น 
• ยุคหินเก่าตอนปลาย ประมาณ 49,000-10,500 ปีมาแล้ว เครื่องมือ 
เครื่องใช้มีความหลากหลายกว่ายุคก่อน ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา 
จากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก เช่น เข็มเย็บผ้า ฉมวก หัวลูกศร 
และทา เครื่องประดับด้วยเปลือกหอยและกระดูกสตว์
• คนในยุคหินเก่า ดา รงชีพด้วยการล่าสัตว์ และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้ 
กินเป็นอาหารมีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ และสภาวะแวดล้อมอย่าง 
เต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลงก็ต้องอพยพย้ายถิ่น 
ติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จา เป็นต้องแสวงหาถนิ่ที่อยู่ใหม่ 
เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทา ให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภค 
ไปในตัวด้วย เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่าต้องอยู่ กับการ 
แสวงหาอาหารและการป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติรวมถึง 
การต่อสู้ในหมู่พวกเดียวกันเพื่อ การอยู่รอด จึงทา ให้ต้องพัฒนาเกี่ยวกับ 
เครื่องมือล่าสัตว์ โดยการพัฒนาอาวุธที่ทา ด้วยหินสาหรับตัด ขูดหรือ 
สับ เช่น หอก มีด และเข็ม เป็นต้น
• ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่า คนในยุคหินเก่าเริ่มอยู่กันเป็นครอบครัว 
แล้ว แต่ยังไม่มีการอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนอย่างแท้จริง เพราะวิถีชีวิตแบบ 
เร่ร่อนไม่เอื้ออา นวยให้มีการตั้งหลักแหล่งถาวรขณะเดียวกันองค์กรทาง 
การเมืองการปกครองก็ยังไม่เกิดขึ้น สังคมจึงมีสภาพเป็นอนาธิปัตย์คือไม่มีผู้ 
เป็นใหญ่แน่นอน ผู้ที่มีอา นาจมักเป็นผู้ที่มีความแข็งแรงเหนือผู้อื่น 
• นอกจากนี้ยังพบว่า คนในยุคนี้เริ่มรู้จักแสดงความรู้สึกออกมาในรูปของศิลปะ 
บ้างแล้ว ศิลปะที่สา คัญ ได้แก่ รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบ 
ภายในถ้า อัลตะมิระ ทางตอนใต้ของสเปนและ ภาพสัตว์ส่วนใหญ่เป็นภาพ 
สัตว์ที่คนสมัยนั้นล่าเป็นอาหาร มีวัวกระทิง ม้าป่า กวางแดง และกวางเรน 
เดียร์เป็นต้น พบที่ถ้า สาบโก ในประเทศฝรั่งเศส ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้า ตา 
ด้วง จังหวัดกาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี และถ้า ผีหัวโต จังหวัด 
กระบี่ เป็นต้น
ภาพวาดของมนุษย์ยุค 
หินเก่าในถ้า ลาสโก 
ประเทศฝรั่งเศส 
ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้า ตาด้วง จังหวัดกาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี
มีการพบหลักฐานแสดงว่า คนยุคหินเก่าในช่วงปลายมี 
ความสามารถในการจับสัตว์น้า ได้ดีและมีการคมนาคม 
ทางน้าเกิดขึ้นแล้ว เทคโนโลยีของยุคกินเก่าตอนปลาย 
จะมีขนาดเล็กกว่ายุคหินเก่าตอนต้นและประโยชน์ใช้ 
สอยดีขึ้นกว่าเดิม คนยุคหินเก่าตอนกลางจะมี 
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ 
บนภูเขา ตามถ้า หรือเพิงผา ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ 
บนพื้นราบ ริมน้า หรือชายทะเล
ยุคหินกลาง 
(10,000 – 6,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักทา เครื่องมือเครื่องใช้สา หรับล่าสัตว์ด้วยหิน 
ที่มีความประณีตมากขึ้นและมนุษย์ในยุคหินกลางเริ่มรู้จักการอยู่รวมกลุ่มเป็นสังคมมากขึ้น 
• เป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินเก่าและยุคหินใหม่ในช่วงเวลาประมาณ 10,000 - 
5,000 ปีที่แล้ว เป็นเวลาที่มนุษย์ในช่วงเวลานี้เริ่มมีการนา วัสดุธรรมชาติมาใช้ 
ประโยชน์ เช่น ทาตะกร้าสาน ทารถลาก และเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาด้วยหินก็ 
มีความประณีตมากขึ้น ตลอดจนรู้จักนาสุนัขมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลยี้ง 
• ในสมัยยุคหินกลาง มนุษย์รู้จักการเลี้ยงสัตว์และเริ่มมีการเพาะปลูกพืช แต่ 
อาชีพหลักของมนุษย์ในสมัยนี้ยังคงเป็นการล่าสัตว์ และยังเร่ร่อนไปตาม 
แหล่งสมบูรณ์ โดยมักตั้งหลักแหล่งอยู่ตามแหล่งน้า ชายฝั่งทะเล ประกอบ 
อาชีพประมง ล่าสัตว์และบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยที่จีนมีการสร้าง 
กาแพงหิน ขวานหิน ขุดอุโมงหิน
ยุคหินใหม่(6,000 – 4,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักทา เครื่องมือด้วยหินขัดเป็นมัน 
เรียบ เรียกว่า ขวานหินขัด ใช้สาหรับตัดเฉือนแบบมีดหรือต่อด้ามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือขุดหรือถาก 
มนุษย์ยุคหินใหม่มีความเจริญมากกว่ายุคก่อน ๆ รู้จักตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง รู้จักการ 
เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ทา ภาชนะดินเผา 
• เป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินกลางและยุคโลหะซึ่งมนุษย์ในยุคนี้อาศัย 
รวมกันอยู่เป็นหมู่บ้าน เริ่มรู้จักทา การเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถ 
เพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทา เครื่องปั้นดินเผา 
และเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์ 
มาเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ตั้งถนิ่ฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่พัก 
อาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียวและตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้า ยุค 
หินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม
• พืชเพาะปลูกที่สาคัญ คือ ข้าวสาลี ข้าวบาเลย์และพืชอื่นๆ รู้จักใช้เครื่องมือล่า 
สัตว์และทา ภาชนะจากดินเหนียว สา หรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร 
• สัตว์เลี้ยง ได้แก่สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย หมูป่า 
• สภาพชีวิตมนุษย์ในยุคหินใหม่เปลี่ยนแปลงชีวิตตามความเป็นอยู่จากที่สูงมา 
อยู่ทรี่าบใกล้แหล่งน้า โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้านบนเนิน และ 
ดารงชีวิตตามเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่เกษตรกรรม และพบว่ามีผลิตผลมากกว่าที่ 
จะบริโภค ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและการค้าขาย สมัยหินใหม่จัดเป็นการ 
ปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบความสา เร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้า 
กับข้อจา กัดของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็น 
ช่วงเวลา เริ่มต้นการรวมกลุ่มเป็นหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้า อุดม 
สมบูรณ์
ยุคโลหะ 
• เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 
ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนาเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาติ 
นามาใช้เพอื่ประโยชน์ เช่น ทองแดง สาริด และเหล็ก นา มาหล่อหรือขึ้น 
เป็นมีด หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็น 
เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่ 
อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง 
มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 
• ยุคโลหะแบ่งออกเป็น ๒ ยุคย่อย คือ ยุคสาริด และ ยุคเหล็ก
ยุคสาริด 
• (4,000 – 2,500 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักใช้โลหะสาริด 
(ทองแดงผสมดีบุก) ทา เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ มีชีวิต 
ความเป็นอยู่ที่ดีกว่ายุคหิน อาศัยอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนขนาดใหญ่ขึ้น รู้จัก 
ปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์ 
• เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา จากสา ริดมีขวาน หอก ภาชนะ กา ไล ตุ้มหู ลูกปัด 
ฯลฯ ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชนเมือง มีการจัด 
ระเบียบสังคมเป็นกลุ่มชนชั้นต่างๆ มีความสะดวกสบายมากขึ้น นา ไปสู่ 
พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็นรัฐในเวลาต่อมา
แหล่งอารยธรรมที่สาคัญๆชองโลกล้วนมี 
พัฒนาการทางสังคมจากช่วงเวลายุคหินใหม่และ 
ยุคสาริด เช่น แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียใน 
ภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า 
ไนล์ในอียิปต์ แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า สินธุใน 
อินเดีย แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า หวางเหอในจีน
ยุคเหล็ก 
• ประมาณ 2,700-2,000 ปีมาแล้ว ช่วงเวลานี้เริ่มต้นจากพัฒนาการ 
ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์ที่สามารถหลอมโลหะ 
ประเภทเหล็กขึ้นมาทาเครื่องมือเครื่องใช้ เหล็กมีความแข็งแกร่งคงทน 
กว่าสาริดมาก การผลิตเหล็กต้องใช้อุณหภูมิสูงและมีกรรมวิธีที่ยุ่งยาก 
สังคมที่สามารถพัฒนาการผลิตเหล็กจะสามารถพัฒนาสู่ความเป็นรัฐ 
เพราะการผลิตเหล็กทา ให้สังคมสามารถผลิตอาวุธได้ง่ายและแข็งแกร่ง 
ขึ้น จนสามารถขยายกองทัพได้ และมีเครื่องมือที่เหมาะสมต่อการทา 
เกษตรที่มีความคงทนกว่า
-แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่ง 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 3,200 ปีมาแล้ว 
- ยุคเหล็กมีความแตกต่างจากยุคสาริดหลายประการ คือ 
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กทา ให้เกิดการเพิ่ม 
ผลผลิต การผลิตเหล็กทา ให้กองทัพมีอาวุธที่แข็งแกร่ง 
นาไปสู่พัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกา ลังทหาร 
ที่เข้มแข็ง และ ขยายอาณาจักรในเวลาต่อมา
• เป็นยุคสมัยที่มนุษย์รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมาใช้แล้ว โดยได้มี 
การบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่าง ๆ ในยุคสมัยนั้นเป็นลายลักษณ์ 
อักษร มักพบอยู่ตาม ผนังถ้า แผ่นดินเหนียว แผ่นหิน ใบลาน และ 
แผ่นโลหะ 
• การศึกษาประวัติศาสตร์สากลมีความแตกต่างกันระหว่างการศึกษา 
ประวัติศาสตร์ตะวันออกกับประวัติศาสตร์ตะวันตก โดยประวัติศาสตร์ 
ตะวันออกแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ 
หรือศูนย์กลางอา นาจเป็นเกณฑ์
การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ของตะวันออก 
1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จีน สามารถแบ่งออกได้เป็น 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ (2200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 220) 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 1368) ประวัติศาสตร์จีน 
สมัยใหม่ (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1911) และประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน 
(ค.ศ. 1911 – ปัจจุบัน)
• ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
ช่วงเวลาการเริ่มต้นจากรากฐานอารยธรรมจีน ตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ที่มีการ 
สร้างสรรค์วัฒนธรรมหยางเซา (Yang Shao) วัฒนธรรมหลงซาน (Lung 
Shan) อันเป็นวัฒนธรรมเครื่องปั้นดินเผาและโลหะสา ริด ต่อมาเข้าสู่สมัย 
ประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ต่าง ๆ ได้ปกครองประเทศ ได้แก่ ราชวงศ์เซียะ 
ประมาณ 2,205 – 1,766 ปีก่อนคริสต์ศักราช และราชวงศ์ชางประมาณ 
1,767 – 1,122 ปีก่อนคริสต์ศักราช ช่วงเวลาที่จีนเริ่มก่อตัวเป็นรัฐที่มี 
รากฐานการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ราชวงศ์โจว ประมาณ 1,122 – 
256 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งแบ่งออกเป็นราชวงศ์โจวตะวันตก และราชวงศ์โจ 
วตะวันออก เมื่อราชวงศ์โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงครามระหว่างเจ้าผู้ครอง 
รัฐต่าง ๆ ในที่สุดราชวงศ์ฉิน รวบรวมด่อตั้งราชวงศ์ช่วงเวลา 221 – 206 ปี 
ก่อนคริสต์ศักราช และสมัยราชวงศ์ฮั่น 206 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศง 220) 
เป็นสมัยที่รวมศูนย์อา นาจจนเป็นจักรพรรดิ
• ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง 
อารยธรรมมีการปรับตัวเพื่อรับอิทธิพลต่างชาติเข้ามาผสมผสานในสังคมจีน 
ที่สาคัญคือพระพุทธศาสนา และประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง เริ่มสมัยด้วย 
ความวุ่นวายจากการล่มสลายของราชวงศ์ ฮั่น เรียกว่าสมัยความแตกแยก 
ทางการเมือง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 589) เป็นช่วงเวลาการยึดครอบของ 
ชาวต่างชาติ การแบ่งแยกดินแดน ก่อนที่จะมีการรวมประเทศในสมัยราชวงศ์ 
สุย (ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) สมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 – ค.ศ. 907) ช่วงเวลา 
นี้ประเทศจีนเจริญรุ่งเรืองสูงสุดก่อนที่จะแตกแยกอีกครั้ง ในสมัยห้าราชวงศ์ 
กับสิบรัฐ (ค.ศ. 907 – ค.ศ. 979) ต่อมาสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960 – ค.ศ. 
1279) สามารถรวบรวมประเทศจีนได้อีกครั้ง และมีความเจริญรุ่งเรืองทาง 
ศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาวมองโกลสามารถยึดครองประเทศจีนและ 
สถาปนาราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1260 – ค.ศ. 1368)
• ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่เริ่มใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับไล่พวกมอง 
โกลออกไป แล้วสถาปนาราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1644) ขึ้น 
ปกครองประเทศจีน และถูกโค่นล้มอีกครั้งโดยราชวงศ์ซิง (ค.ศ. 1664 
– ค.ศ. 1911) ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิงเป็นเวลาที่ประเทศจีนถูก 
คุกคามจากชาติตะวันตก และจีนพ่ายแพ้แก่อังกฤษในสงครามฝิ่น (ค.ศ. 
1839 – ค.ศ. 1842) จนสิ้นสุดราชวงศ์ใน ค.ศ. 1911
• ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบันเริ่มต้นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีนปฏิวัติ 
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น 
ระบอบสาธารณรัฐโดย ดร.ซุน ยัตเซน (ค.ศ. 1911 – ค.ศ. 1949) ต่อมา 
พรรคคอมมิวนิสต์ได้ปฏิวัติและได้ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการ 
ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปัจจุบัน
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อินเดีย 
• การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย แบ่งออกเป็น สมัย 
โบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่แต่ละยุคสมัยจา มีการแบ่งเป็น 
ยุคสมัยย่อยตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ที่มี อิทธิพลเหนือ 
อินเดียขณะนั้น 
• ใช้หลักเกณฑ์พัฒนาการของอารยธรรมอินเดียและเหตุการณ์ 
สา คัญเป็นหลักเกณฑ์สา คัญ
• ช่วงเวลาการวางพื้นฐานของอารยธรรมอินเดียเริ่มตั้งแต่สมัยอารยธรรม 
ลุ่มแม่น้าสินธุ โดยมีพวกดราวเิดียน เมื่อ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
จนกระทั่งอารยธรรมแห่งนี้ล่มสลายลงเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสต์สักราช 
เมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและก่อตั้ง อาณาจักรหลาย 
อาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่ม 
สร้างสรรค์อารยธรรมอินเดียที่แท้จริง มีการก่อตั้งศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า 
สมัยพระเวท (1,500 – 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
• ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
เริ่มต้นสมัยมหากาพย์ (900 – 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดีย 
รวมตัวกันในสมัยราชวงศ์มคธ (600 – 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมี 
การรวมตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์เมารยะ (321 - 184 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช) ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่พระพุทธศาสนา 
ไปยังดินแดนต่าง ๆ ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่ง 
การแตกแยกและการรุกราน จากภายนอก จากพวกกรีกและพวกกุษาณะ 
รยะเวลานี้เป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่อนที่จะรวมเป็น 
จักรวรรดิได้อีก ครั้งใน ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 
320 – ค.ศ. 535)
• ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
อินเดียเข้าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนี้เป็นช่วงเวลาของ 
ความวุ่นวายทางการเมือง และการรุกรานจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาว 
มุสลิม สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลใน 
อินเดีย สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง (ค.ศ. 535 
– ค.ศ. 1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1526)
• ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ 
พวกโมกุลได้ตั้งราชวงศ์โมกุลถือว่าสมัยโมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1857) 
เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่จนกระทั่งอังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 
1585 จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากรปะเทศอังกฤษ ภายหลัง 
ได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็นประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน 
และบังคลาเทศ (ค.ศ. 1971) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่ 
วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรม ตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคมอินเดีย 
ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึ้น 
และเกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนั้นประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ 
สามารถแบ่งได้เป็นสมัยราชวงศ์โมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) สมัยอังกฤษ 
ปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858 – ค.ศ. 1947)
• ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน 
คือ ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งแยกออกเป็นประเทศต่างๆ ได้แก่ 
อินเดีย ปากีสถาน และบังกลาเทศ 
• อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารยธรรม 
อินเดียเรียก รวมว่า สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) หมายถึง รวม 
สมัยสุลต่านแห่งเดลีกับสมัยราชวงศ์มุคัล
การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันตก 
• 1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 476) เริ่ม 
เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบริเวณดินแดนเมโสโปเตเมีย แถบลุ่มแม่น้าไทกริส- 
ยูเฟรทีส และดินแดนอียิปต์แถบลุ่มแม่น้าไนล์ที่ชาวเมโสโปเตเมียและชาว 
อียิปต์รู้จัก ประดิษฐ์ตัวอักษรได้เมื่อ 3,500 ปีก่อนคริสต์-ศักราช จากนั้น 
อิทธิพลของความเจริญของสองอารยธรรมก็ได้แพร่หลายไปยังทางใต้ของ 
ยุโรป สู่เกาะครีต ต่อมาชาวกรีกได้รับเอาความเจริญจากเกาะครีตและความ 
เจริญของอียิปต์มาสร้างสม เป็นอารยกธรรมกรีกขึ้น และเมื่อชาวโรมันใน 
แหลมอิตาลียึดครองกรีกได้ ชาวโรมันก็นา อารยธรรมกรีกกลับไปยังโรมและ 
สร้างสมอารยธรรมโรมันขึ้น ต่อมาเมื่อชาวโรมันสถาปนาจักรวรรดิโรมัน 
พร้อมกับขยายอาณาเขตของตนไป อย่างกว้างขวาง อารยธรรมโรมันจึงแพร่ 
ขยายออกไป จนกระทั่งจักรวรรดิโรมันล่มสลายลงเมื่อพวกอนารยชนเผ่า 
เยอรมันเข้ายึดกรุงโรม ได้ใน ค.ศ. 476 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณของชาติ 
ตะวันตกจึงสิ้นสุดลง
• 2. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของ 
จักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 เมื่อถูกพวกอนารยชนเยอรมันเผ่าวิสิ 
กอธ (Visigoth) โจม ตี ซึ่งเหตุการณ์นี้ถือเป็นจุดสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมัน 
ตะวันตก เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลง สภาพทั่วไปของกรุงโรม 
เต็มไปด้วยความวุ่นวาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอ่อนแอ ประชาชนอด 
อยาก ขาดที่พึ่ง มีปัญหาเรื่องโจรผู้ร้าย เนื่องจากช่วงเวลานี้ยุโรปตะวันตกไม่ 
มีจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ปกครองดังเช่น จักรวรรดิโรมัน นอกจากนี้ยังถูกพวกอ 
นารยชนเผ่าต่างๆเข้ามารุกรานจึงส่งผลให้อารยธรรมกรีกและ โรมันอัน 
เจริญรุ่งเรืองในยุโรปตะวันตกได้หยุดชะงักลง นักประวัติศาสตร์สมัยก่อนจึง 
เรียกช่วงสมัยนี้อีกชื่อหนึ่งว่า ยุคมืด (Dark Ages) หลังจากนั้นศูนย์กลางของ 
อา นาจยุโรปได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองไบแซนติอุม(Byzantium)ซึ่งอยู่ในประเทศ 
ตุรกีปัจจุบันโดยจักรพรรดิคอนสแตนติน(Constantion) เป็นผู้สถาปนา 
จักรวรรดิแห่งใหม่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันในชื่อ คอนส 
แตนติโนเปิล (Constantinople) ตามชื่อของจักรพรรดิคอนสแตนติน
• 3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. 1453-1945) ประวัติศาสตร์ตะวันตก 
สมัยใหม่ถือว่าเริ่มต้นใน ค.ศ. 1453 เป็นปีที่ชนเผ่าเติร์กโจมตีและ 
สามารถยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ เป็นผลให้ศูนย์กลางความ 
เจริญรุ่งเรืองกลับมาอยู่ในยุโรปตะวันตกอีกครั้ง ในระหว่างนี้ในยุโรป 
ตะวันตกเองกา ลังมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านความคิดและ ศิลป 
วิทยาการต่างๆ จากพัฒนาการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการที่ดา เนินมา 
ยุโรปจึงกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง ในครั้งนี้ได้มีการสา รวจและขยายดินแดน 
ออกไปกว้างไกลจนเกิดเป็น ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งต่อมานาไปสู่ความ 
ขัดแย้งระหว่างประเทศ กลายเป็นสงครามใหญ่ที่เรียกกันว่า 
สงครามโลกถึงสองครั้งภายในเวลาห่างกัน เพียง 20 ปี
• ในช่วงเวลาเกือบห้าร้อยปีของประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีเหตุการณ์สาคัญ 
เกิด ขึ้นมากมายที่โดดเด่นและมีผลกระทบยาวไกลต่อเนื่องมาจนถึงโลก 
ปัจจุบันได้แก่ การสา รวจทางทะเล การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การ 
ปฏิวัติอุตสาหกรรม การกา เนิดแนวคิดทางการเมืองใหม่(เสรีนิยม 
ชาตินิยม และประชาธิปไตย) การขยายดินแดนหรือการล่าอาณานิคม 
(จักรวรรดินิยม) และสงครามโลกสองครั้ง 
• เหตุการณ์สา คัญๆ หลายประการในช่วงเวลาของประวัติศาสตร์โลก 
สมัยใหม่ ได้ส่งผลสืบเนื่องต่อพัฒนาการของประวัติศาสตร์โลกสมัย 
ปัจจุบันอย่างมากมาย
• 4. ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1945-ปัจจุบัน) หรือเรียกกันว่า 
ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย 
เริ่มตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่2 สิ้นสุดลง ซึ่งมีผลกระทบอย่างรุนแรงทั่ว 
โลกและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง 
การปกครองของสังคมโลกในปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1จารุ โสภาคะยัง
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Viewers also liked

สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียtimtubtimmm
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะNapatrapee Puttarat
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 

Viewers also liked (20)

สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4pageตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
ตัวอย่างการเทียบศักราชในชีวิตประจำวัน+547+54his p03 f09-4page
 
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1pageทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ+564+54his p04 f08-1page
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxNualmorakot Taweethong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

  • 2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เสนอ อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล จัดทาโดย นางสาวมนสิชา ธนกาญจนโรจน์ ม.6.5 เลขที่ 29 นางสาวสุนันทา ศุกรโยธิน ม.6.5 เลขที่ 36
  • 3. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ • ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ใน อดีต ซึ่งเกิดในช่วงเวลาและยุคสมัยที่แตกต่างกัน นักประวัติศาสตร์ แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัย โดยอาศัยหลักฐาน ที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเกณฑ์ ได้แก่ • สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistorical Period) เป็น ช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือในการเล่าเรื่องของตนเอง • สมัยประวัติศาสตร์ (Historical Period) เป็นช่วงเวลาที่ มนุษย์ใช้ตัวหนังสือในการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆในสังคม
  • 4. ในปัจจุบัน องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ(UNESCO) ได้กำหนดยุคสมัยเพิ่มมำอีก 1 สมัย เรียกว่ำ “ สมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ (Pretohistorical Period) ” ซงึ่เป็นยุคสมัยที่ มนุษย์ในสังคมไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือในกำรบันทึกเรื่องรำวของตนเอง แต่มีผู้คน ในสังคมอื่นได้เดินทำงผ่ำนและบันทึกเรื่องรำวถึงผู้คนเหล่ำนัน้ไว้
  • 5. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ • สมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ ตัวอักษรขึ้นใช้จึงยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์ อักษร ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์จึง ต้องอาศัยการวิเคราะห์และตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีที่ ค้นพบ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้เครื่องประดับที่ทา จากหิน โลหะ และ โครงกระดูกมนุษย์ • ปัจจุบันการกา หนดอายุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย อาศัย พัฒนาการทางเทคโนโลยีแบบแผนการดา รงชีพและสังคม ยุคสมัยทาง ธรณีวิทยา นา มาใช้ร่วมกันในการกา หนดยุคสมัย โดยสามารถแบ่งยุค สมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้ดังนี้
  • 6. เริ่มเมื่อประมาณ 500,000 ถึง 4,000 ปี ล่วงมาแล้ว แบ่งเป็น 3 ยุคย่อย ดังนี้ ยุคสมัยแรกซึ่งมีวัฒนธรรมไม่ค่อยจะดีนัก เป็นมนุษย์นีแอนเดอธัล (Neanderthal Man) กะโหลกศีรษะแบน หน้าผากลาด เริ่มรู้จัก ศิลปะวาดภาพสัตว์บนผนังถ้า เริ่มมีพิธีฝังศพ อาศัยอยู่ในถ้า มีการเขียน ภาพฝาผนังใช่เครื่องมือหินแบบหยาบๆ และอารยธรรมต่าง ๆ ก็ไม่ เจริญรุ่งเรือง ดังนั้นคนจึงหาวิธีปรับตัว เช่น ใช้หินทา เป็นอาวุธล่า สัตว์และนา สัตว์มาฆ่าแล้วนา ไปทา เครื่องนุ่งห่ม ยุคนี้อยู่ในช่วง 2.5 ล้าน - 1 หมื่นปีล่วงมาแล้ว
  • 7. • ยุคหินเก่าตอนต้น ประมาณ 2,500,000-180,000 ปีมาแล้ว เครื่องมือ เครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะเป็นขวานกะเทาะแบบกาปั้น • ยุคหินเก่าตอนกลาง ประมาณ 180,000-49,000 ปีมาแล้ว เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทา ด้วยหินมีลักษณะแหลมคม มีด้ามยาวขึ้น และมีประโยชน์ ในการใช้สอยมากขึ้น • ยุคหินเก่าตอนปลาย ประมาณ 49,000-10,500 ปีมาแล้ว เครื่องมือ เครื่องใช้มีความหลากหลายกว่ายุคก่อน ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา จากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก เช่น เข็มเย็บผ้า ฉมวก หัวลูกศร และทา เครื่องประดับด้วยเปลือกหอยและกระดูกสตว์
  • 8. • คนในยุคหินเก่า ดา รงชีพด้วยการล่าสัตว์ และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้ กินเป็นอาหารมีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ และสภาวะแวดล้อมอย่าง เต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลงก็ต้องอพยพย้ายถิ่น ติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จา เป็นต้องแสวงหาถนิ่ที่อยู่ใหม่ เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทา ให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภค ไปในตัวด้วย เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของคนในยุคหินเก่าต้องอยู่ กับการ แสวงหาอาหารและการป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายและภัยธรรมชาติรวมถึง การต่อสู้ในหมู่พวกเดียวกันเพื่อ การอยู่รอด จึงทา ให้ต้องพัฒนาเกี่ยวกับ เครื่องมือล่าสัตว์ โดยการพัฒนาอาวุธที่ทา ด้วยหินสาหรับตัด ขูดหรือ สับ เช่น หอก มีด และเข็ม เป็นต้น
  • 9. • ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมพบว่า คนในยุคหินเก่าเริ่มอยู่กันเป็นครอบครัว แล้ว แต่ยังไม่มีการอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนอย่างแท้จริง เพราะวิถีชีวิตแบบ เร่ร่อนไม่เอื้ออา นวยให้มีการตั้งหลักแหล่งถาวรขณะเดียวกันองค์กรทาง การเมืองการปกครองก็ยังไม่เกิดขึ้น สังคมจึงมีสภาพเป็นอนาธิปัตย์คือไม่มีผู้ เป็นใหญ่แน่นอน ผู้ที่มีอา นาจมักเป็นผู้ที่มีความแข็งแรงเหนือผู้อื่น • นอกจากนี้ยังพบว่า คนในยุคนี้เริ่มรู้จักแสดงความรู้สึกออกมาในรูปของศิลปะ บ้างแล้ว ศิลปะที่สา คัญ ได้แก่ รูปเขียนกระทิงเรียงกันเป็นขบวน ขุดค้นพบ ภายในถ้า อัลตะมิระ ทางตอนใต้ของสเปนและ ภาพสัตว์ส่วนใหญ่เป็นภาพ สัตว์ที่คนสมัยนั้นล่าเป็นอาหาร มีวัวกระทิง ม้าป่า กวางแดง และกวางเรน เดียร์เป็นต้น พบที่ถ้า สาบโก ในประเทศฝรั่งเศส ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้า ตา ด้วง จังหวัดกาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี และถ้า ผีหัวโต จังหวัด กระบี่ เป็นต้น
  • 10. ภาพวาดของมนุษย์ยุค หินเก่าในถ้า ลาสโก ประเทศฝรั่งเศส ส่วนประเทศไทย พบที่ถ้า ตาด้วง จังหวัดกาญจนบุรี ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี
  • 11. มีการพบหลักฐานแสดงว่า คนยุคหินเก่าในช่วงปลายมี ความสามารถในการจับสัตว์น้า ได้ดีและมีการคมนาคม ทางน้าเกิดขึ้นแล้ว เทคโนโลยีของยุคกินเก่าตอนปลาย จะมีขนาดเล็กกว่ายุคหินเก่าตอนต้นและประโยชน์ใช้ สอยดีขึ้นกว่าเดิม คนยุคหินเก่าตอนกลางจะมี วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ บนภูเขา ตามถ้า หรือเพิงผา ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ บนพื้นราบ ริมน้า หรือชายทะเล
  • 12. ยุคหินกลาง (10,000 – 6,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักทา เครื่องมือเครื่องใช้สา หรับล่าสัตว์ด้วยหิน ที่มีความประณีตมากขึ้นและมนุษย์ในยุคหินกลางเริ่มรู้จักการอยู่รวมกลุ่มเป็นสังคมมากขึ้น • เป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินเก่าและยุคหินใหม่ในช่วงเวลาประมาณ 10,000 - 5,000 ปีที่แล้ว เป็นเวลาที่มนุษย์ในช่วงเวลานี้เริ่มมีการนา วัสดุธรรมชาติมาใช้ ประโยชน์ เช่น ทาตะกร้าสาน ทารถลาก และเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาด้วยหินก็ มีความประณีตมากขึ้น ตลอดจนรู้จักนาสุนัขมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลยี้ง • ในสมัยยุคหินกลาง มนุษย์รู้จักการเลี้ยงสัตว์และเริ่มมีการเพาะปลูกพืช แต่ อาชีพหลักของมนุษย์ในสมัยนี้ยังคงเป็นการล่าสัตว์ และยังเร่ร่อนไปตาม แหล่งสมบูรณ์ โดยมักตั้งหลักแหล่งอยู่ตามแหล่งน้า ชายฝั่งทะเล ประกอบ อาชีพประมง ล่าสัตว์และบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยที่จีนมีการสร้าง กาแพงหิน ขวานหิน ขุดอุโมงหิน
  • 13. ยุคหินใหม่(6,000 – 4,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักทา เครื่องมือด้วยหินขัดเป็นมัน เรียบ เรียกว่า ขวานหินขัด ใช้สาหรับตัดเฉือนแบบมีดหรือต่อด้ามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือขุดหรือถาก มนุษย์ยุคหินใหม่มีความเจริญมากกว่ายุคก่อน ๆ รู้จักตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง รู้จักการ เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ทา ภาชนะดินเผา • เป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินกลางและยุคโลหะซึ่งมนุษย์ในยุคนี้อาศัย รวมกันอยู่เป็นหมู่บ้าน เริ่มรู้จักทา การเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถ เพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทา เครื่องปั้นดินเผา และเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์ มาเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ตั้งถนิ่ฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่พัก อาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียวและตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้า ยุค หินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม
  • 14. • พืชเพาะปลูกที่สาคัญ คือ ข้าวสาลี ข้าวบาเลย์และพืชอื่นๆ รู้จักใช้เครื่องมือล่า สัตว์และทา ภาชนะจากดินเหนียว สา หรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร • สัตว์เลี้ยง ได้แก่สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย หมูป่า • สภาพชีวิตมนุษย์ในยุคหินใหม่เปลี่ยนแปลงชีวิตตามความเป็นอยู่จากที่สูงมา อยู่ทรี่าบใกล้แหล่งน้า โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้านบนเนิน และ ดารงชีวิตตามเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่เกษตรกรรม และพบว่ามีผลิตผลมากกว่าที่ จะบริโภค ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและการค้าขาย สมัยหินใหม่จัดเป็นการ ปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบความสา เร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้า กับข้อจา กัดของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็น ช่วงเวลา เริ่มต้นการรวมกลุ่มเป็นหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้า อุดม สมบูรณ์
  • 15. ยุคโลหะ • เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนาเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาติ นามาใช้เพอื่ประโยชน์ เช่น ทองแดง สาริด และเหล็ก นา มาหล่อหรือขึ้น เป็นมีด หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็น เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่ อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ • ยุคโลหะแบ่งออกเป็น ๒ ยุคย่อย คือ ยุคสาริด และ ยุคเหล็ก
  • 16. ยุคสาริด • (4,000 – 2,500 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักใช้โลหะสาริด (ทองแดงผสมดีบุก) ทา เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ มีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีกว่ายุคหิน อาศัยอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนขนาดใหญ่ขึ้น รู้จัก ปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์ • เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา จากสา ริดมีขวาน หอก ภาชนะ กา ไล ตุ้มหู ลูกปัด ฯลฯ ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชนเมือง มีการจัด ระเบียบสังคมเป็นกลุ่มชนชั้นต่างๆ มีความสะดวกสบายมากขึ้น นา ไปสู่ พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็นรัฐในเวลาต่อมา
  • 17. แหล่งอารยธรรมที่สาคัญๆชองโลกล้วนมี พัฒนาการทางสังคมจากช่วงเวลายุคหินใหม่และ ยุคสาริด เช่น แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียใน ภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า ไนล์ในอียิปต์ แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า สินธุใน อินเดีย แหล่งอารยธรรมลุ่มน้า หวางเหอในจีน
  • 18. ยุคเหล็ก • ประมาณ 2,700-2,000 ปีมาแล้ว ช่วงเวลานี้เริ่มต้นจากพัฒนาการ ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์ที่สามารถหลอมโลหะ ประเภทเหล็กขึ้นมาทาเครื่องมือเครื่องใช้ เหล็กมีความแข็งแกร่งคงทน กว่าสาริดมาก การผลิตเหล็กต้องใช้อุณหภูมิสูงและมีกรรมวิธีที่ยุ่งยาก สังคมที่สามารถพัฒนาการผลิตเหล็กจะสามารถพัฒนาสู่ความเป็นรัฐ เพราะการผลิตเหล็กทา ให้สังคมสามารถผลิตอาวุธได้ง่ายและแข็งแกร่ง ขึ้น จนสามารถขยายกองทัพได้ และมีเครื่องมือที่เหมาะสมต่อการทา เกษตรที่มีความคงทนกว่า
  • 19. -แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่ง อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 3,200 ปีมาแล้ว - ยุคเหล็กมีความแตกต่างจากยุคสาริดหลายประการ คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กทา ให้เกิดการเพิ่ม ผลผลิต การผลิตเหล็กทา ให้กองทัพมีอาวุธที่แข็งแกร่ง นาไปสู่พัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกา ลังทหาร ที่เข้มแข็ง และ ขยายอาณาจักรในเวลาต่อมา
  • 20. • เป็นยุคสมัยที่มนุษย์รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมาใช้แล้ว โดยได้มี การบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่าง ๆ ในยุคสมัยนั้นเป็นลายลักษณ์ อักษร มักพบอยู่ตาม ผนังถ้า แผ่นดินเหนียว แผ่นหิน ใบลาน และ แผ่นโลหะ • การศึกษาประวัติศาสตร์สากลมีความแตกต่างกันระหว่างการศึกษา ประวัติศาสตร์ตะวันออกกับประวัติศาสตร์ตะวันตก โดยประวัติศาสตร์ ตะวันออกแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ หรือศูนย์กลางอา นาจเป็นเกณฑ์
  • 21. การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ของตะวันออก 1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จีน สามารถแบ่งออกได้เป็น ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ (2200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 220) ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 1368) ประวัติศาสตร์จีน สมัยใหม่ (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1911) และประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1911 – ปัจจุบัน)
  • 22. • ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ ช่วงเวลาการเริ่มต้นจากรากฐานอารยธรรมจีน ตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ที่มีการ สร้างสรรค์วัฒนธรรมหยางเซา (Yang Shao) วัฒนธรรมหลงซาน (Lung Shan) อันเป็นวัฒนธรรมเครื่องปั้นดินเผาและโลหะสา ริด ต่อมาเข้าสู่สมัย ประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ต่าง ๆ ได้ปกครองประเทศ ได้แก่ ราชวงศ์เซียะ ประมาณ 2,205 – 1,766 ปีก่อนคริสต์ศักราช และราชวงศ์ชางประมาณ 1,767 – 1,122 ปีก่อนคริสต์ศักราช ช่วงเวลาที่จีนเริ่มก่อตัวเป็นรัฐที่มี รากฐานการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ราชวงศ์โจว ประมาณ 1,122 – 256 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งแบ่งออกเป็นราชวงศ์โจวตะวันตก และราชวงศ์โจ วตะวันออก เมื่อราชวงศ์โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงครามระหว่างเจ้าผู้ครอง รัฐต่าง ๆ ในที่สุดราชวงศ์ฉิน รวบรวมด่อตั้งราชวงศ์ช่วงเวลา 221 – 206 ปี ก่อนคริสต์ศักราช และสมัยราชวงศ์ฮั่น 206 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศง 220) เป็นสมัยที่รวมศูนย์อา นาจจนเป็นจักรพรรดิ
  • 23. • ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง อารยธรรมมีการปรับตัวเพื่อรับอิทธิพลต่างชาติเข้ามาผสมผสานในสังคมจีน ที่สาคัญคือพระพุทธศาสนา และประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง เริ่มสมัยด้วย ความวุ่นวายจากการล่มสลายของราชวงศ์ ฮั่น เรียกว่าสมัยความแตกแยก ทางการเมือง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 589) เป็นช่วงเวลาการยึดครอบของ ชาวต่างชาติ การแบ่งแยกดินแดน ก่อนที่จะมีการรวมประเทศในสมัยราชวงศ์ สุย (ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) สมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 – ค.ศ. 907) ช่วงเวลา นี้ประเทศจีนเจริญรุ่งเรืองสูงสุดก่อนที่จะแตกแยกอีกครั้ง ในสมัยห้าราชวงศ์ กับสิบรัฐ (ค.ศ. 907 – ค.ศ. 979) ต่อมาสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960 – ค.ศ. 1279) สามารถรวบรวมประเทศจีนได้อีกครั้ง และมีความเจริญรุ่งเรืองทาง ศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาวมองโกลสามารถยึดครองประเทศจีนและ สถาปนาราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1260 – ค.ศ. 1368)
  • 24. • ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่เริ่มใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับไล่พวกมอง โกลออกไป แล้วสถาปนาราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1644) ขึ้น ปกครองประเทศจีน และถูกโค่นล้มอีกครั้งโดยราชวงศ์ซิง (ค.ศ. 1664 – ค.ศ. 1911) ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิงเป็นเวลาที่ประเทศจีนถูก คุกคามจากชาติตะวันตก และจีนพ่ายแพ้แก่อังกฤษในสงครามฝิ่น (ค.ศ. 1839 – ค.ศ. 1842) จนสิ้นสุดราชวงศ์ใน ค.ศ. 1911
  • 25. • ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบันเริ่มต้นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีนปฏิวัติ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็น ระบอบสาธารณรัฐโดย ดร.ซุน ยัตเซน (ค.ศ. 1911 – ค.ศ. 1949) ต่อมา พรรคคอมมิวนิสต์ได้ปฏิวัติและได้ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการ ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปัจจุบัน
  • 26. การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อินเดีย • การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย แบ่งออกเป็น สมัย โบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่แต่ละยุคสมัยจา มีการแบ่งเป็น ยุคสมัยย่อยตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ที่มี อิทธิพลเหนือ อินเดียขณะนั้น • ใช้หลักเกณฑ์พัฒนาการของอารยธรรมอินเดียและเหตุการณ์ สา คัญเป็นหลักเกณฑ์สา คัญ
  • 27. • ช่วงเวลาการวางพื้นฐานของอารยธรรมอินเดียเริ่มตั้งแต่สมัยอารยธรรม ลุ่มแม่น้าสินธุ โดยมีพวกดราวเิดียน เมื่อ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนกระทั่งอารยธรรมแห่งนี้ล่มสลายลงเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสต์สักราช เมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและก่อตั้ง อาณาจักรหลาย อาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่ม สร้างสรรค์อารยธรรมอินเดียที่แท้จริง มีการก่อตั้งศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า สมัยพระเวท (1,500 – 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
  • 28. • ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ เริ่มต้นสมัยมหากาพย์ (900 – 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดีย รวมตัวกันในสมัยราชวงศ์มคธ (600 – 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมี การรวมตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์เมารยะ (321 - 184 ปีก่อน คริสต์ศักราช) ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่พระพุทธศาสนา ไปยังดินแดนต่าง ๆ ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่ง การแตกแยกและการรุกราน จากภายนอก จากพวกกรีกและพวกกุษาณะ รยะเวลานี้เป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่อนที่จะรวมเป็น จักรวรรดิได้อีก ครั้งใน ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 320 – ค.ศ. 535)
  • 29. • ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง อินเดียเข้าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนี้เป็นช่วงเวลาของ ความวุ่นวายทางการเมือง และการรุกรานจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาว มุสลิม สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลใน อินเดีย สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง (ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1526)
  • 30. • ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ พวกโมกุลได้ตั้งราชวงศ์โมกุลถือว่าสมัยโมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1857) เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่จนกระทั่งอังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 1585 จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากรปะเทศอังกฤษ ภายหลัง ได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็นประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ (ค.ศ. 1971) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่ วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรม ตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคมอินเดีย ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึ้น และเกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนั้นประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สามารถแบ่งได้เป็นสมัยราชวงศ์โมกุล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) สมัยอังกฤษ ปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858 – ค.ศ. 1947)
  • 31. • ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน คือ ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งแยกออกเป็นประเทศต่างๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังกลาเทศ • อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารยธรรม อินเดียเรียก รวมว่า สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) หมายถึง รวม สมัยสุลต่านแห่งเดลีกับสมัยราชวงศ์มุคัล
  • 32. การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันตก • 1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 476) เริ่ม เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบริเวณดินแดนเมโสโปเตเมีย แถบลุ่มแม่น้าไทกริส- ยูเฟรทีส และดินแดนอียิปต์แถบลุ่มแม่น้าไนล์ที่ชาวเมโสโปเตเมียและชาว อียิปต์รู้จัก ประดิษฐ์ตัวอักษรได้เมื่อ 3,500 ปีก่อนคริสต์-ศักราช จากนั้น อิทธิพลของความเจริญของสองอารยธรรมก็ได้แพร่หลายไปยังทางใต้ของ ยุโรป สู่เกาะครีต ต่อมาชาวกรีกได้รับเอาความเจริญจากเกาะครีตและความ เจริญของอียิปต์มาสร้างสม เป็นอารยกธรรมกรีกขึ้น และเมื่อชาวโรมันใน แหลมอิตาลียึดครองกรีกได้ ชาวโรมันก็นา อารยธรรมกรีกกลับไปยังโรมและ สร้างสมอารยธรรมโรมันขึ้น ต่อมาเมื่อชาวโรมันสถาปนาจักรวรรดิโรมัน พร้อมกับขยายอาณาเขตของตนไป อย่างกว้างขวาง อารยธรรมโรมันจึงแพร่ ขยายออกไป จนกระทั่งจักรวรรดิโรมันล่มสลายลงเมื่อพวกอนารยชนเผ่า เยอรมันเข้ายึดกรุงโรม ได้ใน ค.ศ. 476 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณของชาติ ตะวันตกจึงสิ้นสุดลง
  • 33. • 2. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของ จักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 เมื่อถูกพวกอนารยชนเยอรมันเผ่าวิสิ กอธ (Visigoth) โจม ตี ซึ่งเหตุการณ์นี้ถือเป็นจุดสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมัน ตะวันตก เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลง สภาพทั่วไปของกรุงโรม เต็มไปด้วยความวุ่นวาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอ่อนแอ ประชาชนอด อยาก ขาดที่พึ่ง มีปัญหาเรื่องโจรผู้ร้าย เนื่องจากช่วงเวลานี้ยุโรปตะวันตกไม่ มีจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ปกครองดังเช่น จักรวรรดิโรมัน นอกจากนี้ยังถูกพวกอ นารยชนเผ่าต่างๆเข้ามารุกรานจึงส่งผลให้อารยธรรมกรีกและ โรมันอัน เจริญรุ่งเรืองในยุโรปตะวันตกได้หยุดชะงักลง นักประวัติศาสตร์สมัยก่อนจึง เรียกช่วงสมัยนี้อีกชื่อหนึ่งว่า ยุคมืด (Dark Ages) หลังจากนั้นศูนย์กลางของ อา นาจยุโรปได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองไบแซนติอุม(Byzantium)ซึ่งอยู่ในประเทศ ตุรกีปัจจุบันโดยจักรพรรดิคอนสแตนติน(Constantion) เป็นผู้สถาปนา จักรวรรดิแห่งใหม่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักกันในชื่อ คอนส แตนติโนเปิล (Constantinople) ตามชื่อของจักรพรรดิคอนสแตนติน
  • 34. • 3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. 1453-1945) ประวัติศาสตร์ตะวันตก สมัยใหม่ถือว่าเริ่มต้นใน ค.ศ. 1453 เป็นปีที่ชนเผ่าเติร์กโจมตีและ สามารถยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ เป็นผลให้ศูนย์กลางความ เจริญรุ่งเรืองกลับมาอยู่ในยุโรปตะวันตกอีกครั้ง ในระหว่างนี้ในยุโรป ตะวันตกเองกา ลังมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านความคิดและ ศิลป วิทยาการต่างๆ จากพัฒนาการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการที่ดา เนินมา ยุโรปจึงกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง ในครั้งนี้ได้มีการสา รวจและขยายดินแดน ออกไปกว้างไกลจนเกิดเป็น ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งต่อมานาไปสู่ความ ขัดแย้งระหว่างประเทศ กลายเป็นสงครามใหญ่ที่เรียกกันว่า สงครามโลกถึงสองครั้งภายในเวลาห่างกัน เพียง 20 ปี
  • 35. • ในช่วงเวลาเกือบห้าร้อยปีของประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีเหตุการณ์สาคัญ เกิด ขึ้นมากมายที่โดดเด่นและมีผลกระทบยาวไกลต่อเนื่องมาจนถึงโลก ปัจจุบันได้แก่ การสา รวจทางทะเล การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การ ปฏิวัติอุตสาหกรรม การกา เนิดแนวคิดทางการเมืองใหม่(เสรีนิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย) การขยายดินแดนหรือการล่าอาณานิคม (จักรวรรดินิยม) และสงครามโลกสองครั้ง • เหตุการณ์สา คัญๆ หลายประการในช่วงเวลาของประวัติศาสตร์โลก สมัยใหม่ ได้ส่งผลสืบเนื่องต่อพัฒนาการของประวัติศาสตร์โลกสมัย ปัจจุบันอย่างมากมาย
  • 36. • 4. ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1945-ปัจจุบัน) หรือเรียกกันว่า ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เริ่มตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่2 สิ้นสุดลง ซึ่งมีผลกระทบอย่างรุนแรงทั่ว โลกและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองของสังคมโลกในปัจจุบัน