SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
ศิล ปะอิน เดีย
ประวัต ิค วามเป็น มา
  ประมาณพ.ศ.๒๐๐ - พ.ศ. ๖๐๐ ในประเทศอินเดีย ศิลปะ
  ในช่วงสมัยพระเจ้าอโศกเราเรียกว่า “ศิลปะอินเดียโบราณ”
สมัยก่อนหน้านั้นอินเดียมีอยู่ ๒ ชนเผ่า ชนเผ่าแรกเป็นพวกผิว
  ดำา อีกชนเผ่าหนึ่งเป็น
  พวกผิวขาว ที่อพยพมาจากนอกอินเดีย
อพยพแล้วก็ทำานาไม่ได้ในขณะที่คนพื้นที่ทำานาทำาการเกษตรได้นี่
  คือความเจริญที่ต่างกัน เพราะฉะนั้นเมื่อพวกทำานาได้เลยสร้าง
  เมืองที่เป็นถาวรวัตถุ เช่น   วัดเชตวัน วัดราชคฤห์   ทุก
   อย่างนั้นสร้างด้วยไม้หมดเลยพอเราขุดดินลงไปจนถึงชั้นที่
   ช่วงพุทธกาลปรากฏว่า
ไม่เหลือสถาปัตยกรรมเลยเพราะทุกอย่างสร้างด้วยไม้ เหลือแต่เศษ
• คราวนี้พอต่อมาสมัยพระเจ้าอโศกเดิมขยายอาณาจักรด้วย
  สงคราม
  ต่อมาเปลี่ยนพระทัยมานับถือพุทธเถรวาทและก็อุปถัมภ์
  ศาสนา เปลี่ยนจากที่สร้างด้วยไม้เปลี่ยนเป็นสร้างด้วยอิฐ
  กับหินแทนเพราะฉะนั้นศิลปะอินเดียจึงเริ่มในสมัยพระเจ้า
  อโศก ไม่ได้เริ่มต้นก่อนตั้งแต่พุทธกาล
     เนื่องจากเป็นพุทธเถรวาทจึงสร้างเสาจารึกที่เราเรียกว่า
  “เสาพระเจ้าอโศก” ทั่วอินเดีย
จุด เด่น ของศิล ปะอิน เดีย
• เน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความ
  สวยงาม
• เกี่ยวข้องกับศาสนา
• ความสามารถในการวาดเส้นและการ
  อาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทำาให้
  ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ความรู้สก
                               ึ
  สมจริง
“ศิล ปะอิน เดีย โบราณ ” มีอ ะไร
               บ้า ง
• 1.สถูป   สร้างที่ภารหุตกับสาญจี
• 2. วัด ถำ้า   อินเดียนั้นจะสร้างโดยไปที่หน้าผาและขุดด้วย
  ฝีมือมนุษย์เข้าไปเป็นถำ้าวัดถำ้าต้องไปที่บอมเบย์
3.เสาจารึก
จิต รกรรมอิน เดีย
• รัง โกลี (Rangoli) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของศิลปะที่นิยม
  มากที่สดในอินเดียป็นการวาดภาพด้วยทรายหรือผงสี บนพื้น
          ุ
  ขาวหรือพื้นสี ซึ่งมักใช้ตกแต่งหน้าบ้านของชาวอินเดีย
  ในงานเทศกาลต่างๆ หรือในสถานที่จัดงานสำาคัญๆ หมายถึง
  การต้อนรับขับสู้อย่างอบอุ่นของเจ้าบ้านหรือเจ้าภาพต่อแขกที่มา
  เยือน
• รังโกลี (Rangoli) มีทีมาจากศัพท์คำาว่า rang หมายถึง สี และ
  aavalli หมายถึง แถวของสี ลวดลายที่นิยมวาดที่มาจาก
  ธรรมชาติ      เช่น ลายดอกไม้ ใบไม้ ไม้เลือย นกยูง หงส์
                                           ้
                                     จุดสำาคัญ
  เป็นต้น รวมทั้งลายเลขาคณิต สวัสดิกะ ตรีศูลย์
  ของการวาดภาพแบบรังโกลี คือการพยายามให้เส้นที่
  วาดต่อเนืองกัน โดยไม่ขาดตอน
           ่
ปฏิม ากรรมอิน เดีย
พระพุท ธรูป อิน เดีย (Idian Style) 

• ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 – 18
• พระพุทธรูปของอินเดียรุ่นแรก สามารถแบ่งได้เป็น 3 รุนหลัก ๆ
                                                    ่
  ได้แก่
         1. ศิลปะคันธารราฐ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 - 10) เกิด
  ขึ้นโดยศิลปินกรีก - โรมัน ในแคว้นคันธารราฐ ประเทศ
  ปากีสถาน ลักษณะของพระพุทธรูปมีความคล้ายกับสามัญมนุษย์
  มากที่สุด
         2. ศิลปะแบบมถุรา (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 9) กำาเนิด
  ขึ้นทางภาคเหนือของอินเดีย พุทธลักษณะมีความเข้มแข็งบึกบึน
  ซึ่งต่างไปจากแบบคันธารราฐมาก
         3. ศิลปะแบบอมรวดี (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 10)
  กำาเนิดที่อาณาจักรอันทรา เมืองหลวงคืออมรวดี ซึ่งนับได้ว่าเป็น
พระพุท ธรูป อิน เดีย ศิล ปะคัน ธาราฐ
• พระพุทธรูปอินเดียในยุคต่อไป (พุทธศตวรรษที่ 10 - 18)
       1.ศิลปะแบบคุปตะ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 10- 12) กำาเนิด
  ขึ้นในสมัยราชวงศ์คุปตะ ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่มีสกุลช่างที่ดีที่สุด
  ของ พุทธลักษณะทีสำาคัญได้แก่ พระอังสากว้าง ห่มจีวรแนบเนื้อ
                    ่
  แสดงให้เห็นส่วนสัดอันงดงามได้อย่างเด่นชัด พระพักตร์แสดง
  แสดงออกแบบสงบนิ่ง
         2. ศิลปะปาละ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-16) กำาเนิดขึ้น
  ณ แคว้นแบงคอล ในสมันราชวงศ์ปาละ พุทธลักษณะที่สำาคัญ
  ได้แก่ พระวรกายเพรียวบาง จีวรแนบเนื้อ ซึ่งได้รับอิทธิพลมา
  จากศิลปะคุปตะ พระนาสิกงุ้ม พระเนตรอยู่ในลักษณะครึงหลับ
                                                       ่
         3. ศิลปะปาละ-เสนา (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-18)
  กำาเนิดขึ้นในช่วงปลายของราชวงศ์ปาละ ต่อเนื่องถึงราชวงศ์
  เสนา ถือกันว่าเป็นศิลปะทางพระพุทธศาสนารุ่นสุดท้ายของ
  อินเดีย 
   
พระพุท ธรูป ศิล ปะอิน เดีย แบบคุป ตะ (Gupta
                Indian Style)
พระพุท ธรูป อิน เดีย แบบปาละ
พระพุท ธรูป ยุค แรกของโลก ศิล ปะ
            คัน ธาระ

• การสร้างพระพุทธรูปหรือพุทธปฎิมา   เกิดขึ้นครั้งแรกของ
  โลก   โดยฝีมือของ
  ช่างแคว้นคันธารราฐ ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีกและโรมัน
  ประดิษฐ์สร้างพระพุทธรูปขึน เมื่อพวกเขาหันมานับถือศาสนา
                           ้
  พุทธ การสร้างพระพุทธรูป ครั้งแรกจึงเกิดขึ้นที่นี่จึงถือว่า
  เป็นการผสมผสานระหว่างกรีกโรมัน (อิทธิพล Grego-
  Roman) และอินเดียโบราณ ที่สัมพันธ์กับมหาปุริสลักษณะ ๓๒
  ประการ ของพระพุทธเจ้า อย่างลงตัว
พระพุท ธรูป ยุค แรกของโลก : ศิล ปะคัน
                 ธาระ
ปางลีล า ศิล ปแบบคัน ธาระ
ปางประทานพร
ปางสมาธิ
ปางปฐมเทศนา
ปางมหาปาฏิห าริย ์
สถาปัต ยกรรมอิน เดีย
หัว สิง ห์บ นเสาพระเจ้า อโศก
• ลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรม ได้รับอิทธิพลมาจากทั้งโลกตะวัน
  ตกและโลกตะวันออก บ่งบอกถึงความพิเศษของวัฒนธรรม
  อินเดียอิหร่าน (Indo-Iranian Culture) เพราะมีอักษร "ขโรสถิ"
  (Kharoshthi) ที่จารึกเป็นเครื่องหมายบนเสาหิน "เสาหินแห่ง
  ธรรม" (Dharma-Stambhas) ข้อมูลที่ได้มาจากพระสงฆ์จีนก็คือ
  เสาหินมีลักษณะเป็นแท่งเดียว, Monolith (Single Stone) เรียว
  สอบขึ้น ไม่มีฐาน แต่ละเสาจะมีรูปสัตว์มงคลด้วยสถาปัตยกรรม
  พุทธศิลป์
            มีเสาหินต้นหนึ่งสูงเรียวประมาณ 14 เมตร ส่วนบนสุดมี
  แผ่นหินใหญ่ เรียกว่า วงล้อธรรมจักร มี 32 ซี่ กางคล้ายร่ม มี
  สิงโตสี่ตัวนั่งหันหลังเข้าหากันตรงยอดเสาพอดี (Seated back to
  back) ทังสิงโตและล้อธรรมจักร ล้วนแสดงให้เห็นถึงศิลปะการ
            ้
  แกะสลักภาพนูนของชาวอินเดีย (มีมาแต่ยุคหลังพุทธปรินิพพาน
  ประมาณศตวรรษที่ 1 หรือ 2)
• อักษรที่จารึกบนเสาหินของพระเจ้าอโศกนี้ใช้อักษรที่ใช้ใน
  ราชการแผ่นดินของพระองค์ ล้วนมีความหมายสำาคัญในตัวมัน
  เอง

•  ลักษณะเด่นสี่ประการ
         1. กลีบบัวบาน (ที่คล้ายกับระฆังทีเสาหินของชาวอิหร่าน ที่
                                            ่
  เรียกเช่นนี้เพราะมีส่วนเหมือนระฆัง)
       2. ฐานที่รองรับสิงโต มีพื้นแสดงวงล้อธรรมจักรวงขนาดเล็ก
  สี่วง มีรูปสัตว์มงคลสี่ตัว ตามคลิทางศาสนาแทรกอยู่ในระหว่าง
         3. สิงโตสี่ตัวนั่งหันหลังเข้าหากัน ตรงนีถือว่าเป็นจุดเด่นที่
                                                 ้
  ทรงคุณค่า เพราะว่าช่วงหลังของสิงโตมิได้ใช้วิธเจาะ ดังนั้นมัน
                                                     ี
  จึงดูลอยเด่นเหมือนกับว่าผุดขึ้นมาจากแกนของหินแท่งเดียว
         4. ส่วนขอบล่างของวงล้อธรรมจักร ตรงที่แกนของเสาหิน
  รับนำ้าหนักอยู่แทนด้วยการให้สิงโตสี่ตัวรับนำ้าหนักไว้ ความ
  สำาคัญอยู่ที่ความหมายของวงล้อที่ 32 ซี่ ทำาให้เรานึกถึงมหาปุริ
  สลักษณะ 32 ประการ ของพระพุทธองค์
Chand Baori บ่อ นำ้า ขั้น บัน ไดโบราณ
              ของอิน เดีย
• ในรัฐทางตอนเหนือของอินเดียอย่างรัฐราชสถาน (Rajasthan)
  และรัฐคุชราต (Gujarat) มีปัญหาเรื่องนำ้า บริเวณขอบทะเลทราย
  ธาร์ (Thar Desert) จะมีนำ้ากระหนำ่าลงมาในช่วงฤดูมรสุมแล้วนำ้า
  ที่เห็นก็จะหายไปอย่างรวดเร็ว ในช่วงฤดูร้อนก็จะมีอุณหภูมิสูง
  มากและดินที่ไม่อุ้มนำ้า
         แรกเริ่มเดิมทีเพราะฝั่งแม่นำ้าลื่นจึงสร้างทางลงแม่นำ้า เป็น
  บันไดแคบๆ แต่ยาว จึงได้ประยุกต์วิธนี้มาสร้างบ่อนำ้าแบบใหม่นี้
                                           ี
  ขึ้นมา บ่อนำ้ามีชื่อเรียกหลายชื่อ ในภาษาฮินดู คือ baori, baoli,
  baudi, bawdi หรือ bavadi ในคุชราตมักเรียกว่า vav
เทวาลัย ไม้ส มัย คุป ตะที่ห ิม าจัล ประเทศ
• รูปที่ ๑ กลุ่มเทวาลัยจอราสี หรือกลุ่มเทวาลัย ๘๔ หลัง ที่ภรมอร์
• เทวาลัยสลักไม้ที่ภรมอร์ (Bharmaur) และฉัตราริ (Chatrari) เป็น
  ตัวอย่างเทวาลัยไม้ในศิลปะคุปตะเพียงสองแห่งที่ยังคงรักษาไว้
  ได้ อย่างค่อนข้างสมบูรณ์
•       เมืองภรมอร์ (Bharmaur) และฉัตราริ (Chatrari) ตั้งอยู่ในหุบ
  เขาจัมพา (Chamba Valley) ของแม่นำ้ารวี (Ravi) และสาขา ทาง
  ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐหิมาจัลประเทศ (Himachal
  Pradesh)
•       หุบเขาจัมพามีลักษณะแคบและสูงชัน ซึ่งอาจเป็นเหตุผล
  หนึ่งที่ทำาให้ความขัดแย้งทางการเมืองและศาสนาจากภายนอก
  เข้าถึงที่ตั้งของเทวาลัยดังกล่าวได้ค่อนข้างยากและภูมิอากาศก็
  อาจเป็นอีก สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เทวาลัยไม้ยังคงปรากฏอยู่จน
  ปัจจุบัน
ประติม ากรรมสำา ริด รูป มหิษ าสูร มรรทนีภ ายในเท
          วาลัย ลัก ษณาเทวี ภรมอร์
ประติม ากรรมสำา ริด รูป โคนนทิ ซึ่ง ปรากฏจารึก ระบุ
           รัช กาลพระเจ้า เมรุว รมัน
ประตูภ ายนอกของเทวาลัย ลัก ษณาเทวี
            ที่ภ รมอร์
ประตูท างเข้า ครรภคฤหะของเทวาลัย
         ศัก ติเ ทวี ที่ฉ ัต ราริ
ประตูข องเทวาลัย เทวคฤหะ ศิล ปะสมัย
           ราชวงศ์ค ป ตะ
                    ุ
ประตูเ ทวาลัย ที่เ มือ งขชุร โห ศิล ปะสมัย
          ราชวงศ์จ ัน เทลละ
ส่ว นยื่น ของกรอบรูป ตัว ที เทวาลัย ศัก ติเ ทวี ฉัต ราริ
               ประดับ ด้ว ยรูป วยาล
เพดานสุส านของมายลาซา (The M     ausoleumof
   Mylasa) ประเทศตุร กี ศิล ปะเฮเลนิส ติค
เสาของเทวาลัย ลัก ษณาเทวี ภรมอร์
   รูป ที่ ๒๑ เสาของเทวาลัย ปิป ลเทวี
เมือ งโอเสีย น รัฐ ราชสถาน ศิล ปะสมัย
       ราชวงศ์ป ราตีห ารตอนต้น
ภาพอัก ษรจารึก ที่เ สาอโศก ที่ล ุม พิ
              นี
      ซึ่งจารึกไว้ตามหน้าผาหรือเสาหินทียกขึ้น,
                                        ่
มากมายหลายสิบแห่ง และมีอยูแห่งหนึงทีเกี่ยวกับ
                             ่      ่ ่
พระพุทธประวัติโดยตรง ได้จำาลองเอามาติดรวมกับหมู่
ภาพพุทธประวัติยคก่อนมีพระพุทธรูปที่ทำาขึ้น เพือการ
                    ุ                         ่
ศึกษาประกอบกัน, จารึกนีปรากฏอยูที่เสาหิน ทีลุมพินี
                          ้       ่         ่
อันถือกันว่าเป็นทีประสูติของพระพุทธองค์.
                  ่
• คำาแปลเท่าที่ยติกันในเวลานี้ เรียงตามบรรทัดต่อ
                   ุ
  บรรทัดเพื่อเปรียบเทียบดังนี้
       (๑) พระราชา ปิยทัสสี ซึงเป็นที่รักของเทวดา
                               ่
  รดนำ้าแล้วยี่สบปี
                 ิ
       (๒) ได้เสด็จมา ด้วยพระองค์เอง ด้วยการเตรียม
  ใหญ่ เพราะพระพุทธองค์เกิดแล้วทีนี่ ว่าศากยมุนี ดังนี้
                                      ่
       (๓) ให้กระทำาสิลาวิคฑภิดวย, ให้ยกขึ้นแล้ว ซึ่งสิ
                                 ้
  ลาถัมภะด้วย
       (๔) เพราะพระภควันเกิดแล้วทีนี่ ในลำมนคาม, ให้
                                    ่       ิ ิ
  เลิกเก็บภาษี
      (๕) ซึ่งเก็บอยู่หนึงในแปดของผลได้.
                         ่
รวมภาพศิล ปะ
   อิน เดีย
จัดทำาโดย
  นายณรงค์ท ัศ น์ บุญ มาวงค์ เลขที่ ๑
นางสาวชนนิก านต์ สมหวัง        เลขที่ ๒
 นางสาวกมลวรรณ เกตุด ำา       เลขที่๓
  นางสาววรางคณา สิง ห์ท อง เลขที่ ๔
นางสาวหทัย ภัท ร ทองบือ        เลขที่ ๕
                เสนอ
      คุณครูปราโมทย์ นวมพันธุ์

More Related Content

What's hot

ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1Natthaphong Messi
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 

What's hot (20)

ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Similar to ศ ลปะอ นเด_ย

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Similar to ศ ลปะอ นเด_ย (20)

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
12 feb b750
12 feb b75012 feb b750
12 feb b750
 
12 feb b750
12 feb b75012 feb b750
12 feb b750
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

More from กมลวรรณ เกตุดำ (9)

Missles flight control systems
Missles flight control systemsMissles flight control systems
Missles flight control systems
 
Aerospace Organization Management #3
Aerospace Organization Management #3Aerospace Organization Management #3
Aerospace Organization Management #3
 
Soul sat
Soul satSoul sat
Soul sat
 
Illuminati
IlluminatiIlluminati
Illuminati
 
Illuminati
IlluminatiIlluminati
Illuminati
 
Illuminati
IlluminatiIlluminati
Illuminati
 
ติ่มซำ
ติ่มซำติ่มซำ
ติ่มซำ
 
Illuminati
IlluminatiIlluminati
Illuminati
 
Soul sat
Soul satSoul sat
Soul sat
 

ศ ลปะอ นเด_ย

  • 2. ประวัต ิค วามเป็น มา ประมาณพ.ศ.๒๐๐ - พ.ศ. ๖๐๐ ในประเทศอินเดีย ศิลปะ ในช่วงสมัยพระเจ้าอโศกเราเรียกว่า “ศิลปะอินเดียโบราณ” สมัยก่อนหน้านั้นอินเดียมีอยู่ ๒ ชนเผ่า ชนเผ่าแรกเป็นพวกผิว ดำา อีกชนเผ่าหนึ่งเป็น พวกผิวขาว ที่อพยพมาจากนอกอินเดีย อพยพแล้วก็ทำานาไม่ได้ในขณะที่คนพื้นที่ทำานาทำาการเกษตรได้นี่ คือความเจริญที่ต่างกัน เพราะฉะนั้นเมื่อพวกทำานาได้เลยสร้าง เมืองที่เป็นถาวรวัตถุ เช่น วัดเชตวัน วัดราชคฤห์ ทุก อย่างนั้นสร้างด้วยไม้หมดเลยพอเราขุดดินลงไปจนถึงชั้นที่ ช่วงพุทธกาลปรากฏว่า ไม่เหลือสถาปัตยกรรมเลยเพราะทุกอย่างสร้างด้วยไม้ เหลือแต่เศษ
  • 3. • คราวนี้พอต่อมาสมัยพระเจ้าอโศกเดิมขยายอาณาจักรด้วย สงคราม ต่อมาเปลี่ยนพระทัยมานับถือพุทธเถรวาทและก็อุปถัมภ์ ศาสนา เปลี่ยนจากที่สร้างด้วยไม้เปลี่ยนเป็นสร้างด้วยอิฐ กับหินแทนเพราะฉะนั้นศิลปะอินเดียจึงเริ่มในสมัยพระเจ้า อโศก ไม่ได้เริ่มต้นก่อนตั้งแต่พุทธกาล เนื่องจากเป็นพุทธเถรวาทจึงสร้างเสาจารึกที่เราเรียกว่า “เสาพระเจ้าอโศก” ทั่วอินเดีย
  • 4.
  • 5. จุด เด่น ของศิล ปะอิน เดีย • เน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความ สวยงาม • เกี่ยวข้องกับศาสนา • ความสามารถในการวาดเส้นและการ อาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทำาให้ ภาพแลดูเคลื่อนไหว ให้ความรู้สก ึ สมจริง
  • 6. “ศิล ปะอิน เดีย โบราณ ” มีอ ะไร บ้า ง • 1.สถูป สร้างที่ภารหุตกับสาญจี
  • 7. • 2. วัด ถำ้า อินเดียนั้นจะสร้างโดยไปที่หน้าผาและขุดด้วย ฝีมือมนุษย์เข้าไปเป็นถำ้าวัดถำ้าต้องไปที่บอมเบย์
  • 9. จิต รกรรมอิน เดีย • รัง โกลี (Rangoli) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของศิลปะที่นิยม มากที่สดในอินเดียป็นการวาดภาพด้วยทรายหรือผงสี บนพื้น ุ ขาวหรือพื้นสี ซึ่งมักใช้ตกแต่งหน้าบ้านของชาวอินเดีย ในงานเทศกาลต่างๆ หรือในสถานที่จัดงานสำาคัญๆ หมายถึง การต้อนรับขับสู้อย่างอบอุ่นของเจ้าบ้านหรือเจ้าภาพต่อแขกที่มา เยือน
  • 10. • รังโกลี (Rangoli) มีทีมาจากศัพท์คำาว่า rang หมายถึง สี และ aavalli หมายถึง แถวของสี ลวดลายที่นิยมวาดที่มาจาก ธรรมชาติ เช่น ลายดอกไม้ ใบไม้ ไม้เลือย นกยูง หงส์ ้ จุดสำาคัญ เป็นต้น รวมทั้งลายเลขาคณิต สวัสดิกะ ตรีศูลย์ ของการวาดภาพแบบรังโกลี คือการพยายามให้เส้นที่ วาดต่อเนืองกัน โดยไม่ขาดตอน ่
  • 12. พระพุท ธรูป อิน เดีย (Idian Style)  • ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 – 18 • พระพุทธรูปของอินเดียรุ่นแรก สามารถแบ่งได้เป็น 3 รุนหลัก ๆ ่ ได้แก่        1. ศิลปะคันธารราฐ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 - 10) เกิด ขึ้นโดยศิลปินกรีก - โรมัน ในแคว้นคันธารราฐ ประเทศ ปากีสถาน ลักษณะของพระพุทธรูปมีความคล้ายกับสามัญมนุษย์ มากที่สุด        2. ศิลปะแบบมถุรา (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 9) กำาเนิด ขึ้นทางภาคเหนือของอินเดีย พุทธลักษณะมีความเข้มแข็งบึกบึน ซึ่งต่างไปจากแบบคันธารราฐมาก        3. ศิลปะแบบอมรวดี (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 10) กำาเนิดที่อาณาจักรอันทรา เมืองหลวงคืออมรวดี ซึ่งนับได้ว่าเป็น
  • 13. พระพุท ธรูป อิน เดีย ศิล ปะคัน ธาราฐ
  • 14. • พระพุทธรูปอินเดียในยุคต่อไป (พุทธศตวรรษที่ 10 - 18) 1.ศิลปะแบบคุปตะ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 10- 12) กำาเนิด ขึ้นในสมัยราชวงศ์คุปตะ ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่มีสกุลช่างที่ดีที่สุด ของ พุทธลักษณะทีสำาคัญได้แก่ พระอังสากว้าง ห่มจีวรแนบเนื้อ ่ แสดงให้เห็นส่วนสัดอันงดงามได้อย่างเด่นชัด พระพักตร์แสดง แสดงออกแบบสงบนิ่ง        2. ศิลปะปาละ (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-16) กำาเนิดขึ้น ณ แคว้นแบงคอล ในสมันราชวงศ์ปาละ พุทธลักษณะที่สำาคัญ ได้แก่ พระวรกายเพรียวบาง จีวรแนบเนื้อ ซึ่งได้รับอิทธิพลมา จากศิลปะคุปตะ พระนาสิกงุ้ม พระเนตรอยู่ในลักษณะครึงหลับ ่        3. ศิลปะปาละ-เสนา (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-18) กำาเนิดขึ้นในช่วงปลายของราชวงศ์ปาละ ต่อเนื่องถึงราชวงศ์ เสนา ถือกันว่าเป็นศิลปะทางพระพุทธศาสนารุ่นสุดท้ายของ อินเดีย   
  • 15. พระพุท ธรูป ศิล ปะอิน เดีย แบบคุป ตะ (Gupta Indian Style)
  • 16. พระพุท ธรูป อิน เดีย แบบปาละ
  • 17. พระพุท ธรูป ยุค แรกของโลก ศิล ปะ คัน ธาระ • การสร้างพระพุทธรูปหรือพุทธปฎิมา เกิดขึ้นครั้งแรกของ โลก โดยฝีมือของ ช่างแคว้นคันธารราฐ ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีกและโรมัน ประดิษฐ์สร้างพระพุทธรูปขึน เมื่อพวกเขาหันมานับถือศาสนา ้ พุทธ การสร้างพระพุทธรูป ครั้งแรกจึงเกิดขึ้นที่นี่จึงถือว่า เป็นการผสมผสานระหว่างกรีกโรมัน (อิทธิพล Grego- Roman) และอินเดียโบราณ ที่สัมพันธ์กับมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ของพระพุทธเจ้า อย่างลงตัว
  • 18. พระพุท ธรูป ยุค แรกของโลก : ศิล ปะคัน ธาระ
  • 19. ปางลีล า ศิล ปแบบคัน ธาระ
  • 25. หัว สิง ห์บ นเสาพระเจ้า อโศก • ลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรม ได้รับอิทธิพลมาจากทั้งโลกตะวัน ตกและโลกตะวันออก บ่งบอกถึงความพิเศษของวัฒนธรรม อินเดียอิหร่าน (Indo-Iranian Culture) เพราะมีอักษร "ขโรสถิ" (Kharoshthi) ที่จารึกเป็นเครื่องหมายบนเสาหิน "เสาหินแห่ง ธรรม" (Dharma-Stambhas) ข้อมูลที่ได้มาจากพระสงฆ์จีนก็คือ เสาหินมีลักษณะเป็นแท่งเดียว, Monolith (Single Stone) เรียว สอบขึ้น ไม่มีฐาน แต่ละเสาจะมีรูปสัตว์มงคลด้วยสถาปัตยกรรม พุทธศิลป์           มีเสาหินต้นหนึ่งสูงเรียวประมาณ 14 เมตร ส่วนบนสุดมี แผ่นหินใหญ่ เรียกว่า วงล้อธรรมจักร มี 32 ซี่ กางคล้ายร่ม มี สิงโตสี่ตัวนั่งหันหลังเข้าหากันตรงยอดเสาพอดี (Seated back to back) ทังสิงโตและล้อธรรมจักร ล้วนแสดงให้เห็นถึงศิลปะการ ้ แกะสลักภาพนูนของชาวอินเดีย (มีมาแต่ยุคหลังพุทธปรินิพพาน ประมาณศตวรรษที่ 1 หรือ 2)
  • 26.
  • 27. • อักษรที่จารึกบนเสาหินของพระเจ้าอโศกนี้ใช้อักษรที่ใช้ใน ราชการแผ่นดินของพระองค์ ล้วนมีความหมายสำาคัญในตัวมัน เอง •  ลักษณะเด่นสี่ประการ        1. กลีบบัวบาน (ที่คล้ายกับระฆังทีเสาหินของชาวอิหร่าน ที่ ่ เรียกเช่นนี้เพราะมีส่วนเหมือนระฆัง) 2. ฐานที่รองรับสิงโต มีพื้นแสดงวงล้อธรรมจักรวงขนาดเล็ก สี่วง มีรูปสัตว์มงคลสี่ตัว ตามคลิทางศาสนาแทรกอยู่ในระหว่าง        3. สิงโตสี่ตัวนั่งหันหลังเข้าหากัน ตรงนีถือว่าเป็นจุดเด่นที่ ้ ทรงคุณค่า เพราะว่าช่วงหลังของสิงโตมิได้ใช้วิธเจาะ ดังนั้นมัน ี จึงดูลอยเด่นเหมือนกับว่าผุดขึ้นมาจากแกนของหินแท่งเดียว        4. ส่วนขอบล่างของวงล้อธรรมจักร ตรงที่แกนของเสาหิน รับนำ้าหนักอยู่แทนด้วยการให้สิงโตสี่ตัวรับนำ้าหนักไว้ ความ สำาคัญอยู่ที่ความหมายของวงล้อที่ 32 ซี่ ทำาให้เรานึกถึงมหาปุริ สลักษณะ 32 ประการ ของพระพุทธองค์
  • 28.
  • 29. Chand Baori บ่อ นำ้า ขั้น บัน ไดโบราณ ของอิน เดีย • ในรัฐทางตอนเหนือของอินเดียอย่างรัฐราชสถาน (Rajasthan) และรัฐคุชราต (Gujarat) มีปัญหาเรื่องนำ้า บริเวณขอบทะเลทราย ธาร์ (Thar Desert) จะมีนำ้ากระหนำ่าลงมาในช่วงฤดูมรสุมแล้วนำ้า ที่เห็นก็จะหายไปอย่างรวดเร็ว ในช่วงฤดูร้อนก็จะมีอุณหภูมิสูง มากและดินที่ไม่อุ้มนำ้า        แรกเริ่มเดิมทีเพราะฝั่งแม่นำ้าลื่นจึงสร้างทางลงแม่นำ้า เป็น บันไดแคบๆ แต่ยาว จึงได้ประยุกต์วิธนี้มาสร้างบ่อนำ้าแบบใหม่นี้ ี ขึ้นมา บ่อนำ้ามีชื่อเรียกหลายชื่อ ในภาษาฮินดู คือ baori, baoli, baudi, bawdi หรือ bavadi ในคุชราตมักเรียกว่า vav
  • 30.
  • 31. เทวาลัย ไม้ส มัย คุป ตะที่ห ิม าจัล ประเทศ • รูปที่ ๑ กลุ่มเทวาลัยจอราสี หรือกลุ่มเทวาลัย ๘๔ หลัง ที่ภรมอร์ • เทวาลัยสลักไม้ที่ภรมอร์ (Bharmaur) และฉัตราริ (Chatrari) เป็น ตัวอย่างเทวาลัยไม้ในศิลปะคุปตะเพียงสองแห่งที่ยังคงรักษาไว้ ได้ อย่างค่อนข้างสมบูรณ์ •       เมืองภรมอร์ (Bharmaur) และฉัตราริ (Chatrari) ตั้งอยู่ในหุบ เขาจัมพา (Chamba Valley) ของแม่นำ้ารวี (Ravi) และสาขา ทาง ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐหิมาจัลประเทศ (Himachal Pradesh) •       หุบเขาจัมพามีลักษณะแคบและสูงชัน ซึ่งอาจเป็นเหตุผล หนึ่งที่ทำาให้ความขัดแย้งทางการเมืองและศาสนาจากภายนอก เข้าถึงที่ตั้งของเทวาลัยดังกล่าวได้ค่อนข้างยากและภูมิอากาศก็ อาจเป็นอีก สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เทวาลัยไม้ยังคงปรากฏอยู่จน ปัจจุบัน
  • 32.
  • 33. ประติม ากรรมสำา ริด รูป มหิษ าสูร มรรทนีภ ายในเท วาลัย ลัก ษณาเทวี ภรมอร์
  • 34. ประติม ากรรมสำา ริด รูป โคนนทิ ซึ่ง ปรากฏจารึก ระบุ รัช กาลพระเจ้า เมรุว รมัน
  • 35. ประตูภ ายนอกของเทวาลัย ลัก ษณาเทวี ที่ภ รมอร์
  • 36. ประตูท างเข้า ครรภคฤหะของเทวาลัย ศัก ติเ ทวี ที่ฉ ัต ราริ
  • 37. ประตูข องเทวาลัย เทวคฤหะ ศิล ปะสมัย ราชวงศ์ค ป ตะ ุ
  • 38. ประตูเ ทวาลัย ที่เ มือ งขชุร โห ศิล ปะสมัย ราชวงศ์จ ัน เทลละ
  • 39. ส่ว นยื่น ของกรอบรูป ตัว ที เทวาลัย ศัก ติเ ทวี ฉัต ราริ ประดับ ด้ว ยรูป วยาล
  • 40. เพดานสุส านของมายลาซา (The M ausoleumof Mylasa) ประเทศตุร กี ศิล ปะเฮเลนิส ติค
  • 41. เสาของเทวาลัย ลัก ษณาเทวี ภรมอร์  รูป ที่ ๒๑ เสาของเทวาลัย ปิป ลเทวี เมือ งโอเสีย น รัฐ ราชสถาน ศิล ปะสมัย ราชวงศ์ป ราตีห ารตอนต้น
  • 42. ภาพอัก ษรจารึก ที่เ สาอโศก ที่ล ุม พิ นี ซึ่งจารึกไว้ตามหน้าผาหรือเสาหินทียกขึ้น, ่ มากมายหลายสิบแห่ง และมีอยูแห่งหนึงทีเกี่ยวกับ ่ ่ ่ พระพุทธประวัติโดยตรง ได้จำาลองเอามาติดรวมกับหมู่ ภาพพุทธประวัติยคก่อนมีพระพุทธรูปที่ทำาขึ้น เพือการ ุ ่ ศึกษาประกอบกัน, จารึกนีปรากฏอยูที่เสาหิน ทีลุมพินี ้ ่ ่ อันถือกันว่าเป็นทีประสูติของพระพุทธองค์. ่
  • 43. • คำาแปลเท่าที่ยติกันในเวลานี้ เรียงตามบรรทัดต่อ ุ บรรทัดเพื่อเปรียบเทียบดังนี้      (๑) พระราชา ปิยทัสสี ซึงเป็นที่รักของเทวดา ่ รดนำ้าแล้วยี่สบปี ิ      (๒) ได้เสด็จมา ด้วยพระองค์เอง ด้วยการเตรียม ใหญ่ เพราะพระพุทธองค์เกิดแล้วทีนี่ ว่าศากยมุนี ดังนี้ ่      (๓) ให้กระทำาสิลาวิคฑภิดวย, ให้ยกขึ้นแล้ว ซึ่งสิ ้ ลาถัมภะด้วย      (๔) เพราะพระภควันเกิดแล้วทีนี่ ในลำมนคาม, ให้ ่ ิ ิ เลิกเก็บภาษี     (๕) ซึ่งเก็บอยู่หนึงในแปดของผลได้. ่
  • 44.
  • 45. รวมภาพศิล ปะ อิน เดีย
  • 46.
  • 47.
  • 48. จัดทำาโดย นายณรงค์ท ัศ น์ บุญ มาวงค์ เลขที่ ๑ นางสาวชนนิก านต์ สมหวัง เลขที่ ๒ นางสาวกมลวรรณ เกตุด ำา เลขที่๓ นางสาววรางคณา สิง ห์ท อง เลขที่ ๔ นางสาวหทัย ภัท ร ทองบือ เลขที่ ๕ เสนอ คุณครูปราโมทย์ นวมพันธุ์