SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
โครงงานประดิษฐ์บล็อกคอนกรีตจากเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าที่มีประสิทธิภาพในการทนต่อแรงกดทับ
(Pressure Proof Concrete From Cultivated Banana Fiber)
ผู้จัดท้าโครงงาน
นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ เลขที่ 16
นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล เลขที่ 21
นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 651
โครงงานนีเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ปีการศึกษา 2562
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
นางทิพย์อาภา ศรีวรางกูล
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ
รศ.ดร. ธนิต ธงทอง
อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 บทน้า
ในปัจจุบันประเทศไทยได้มีแนวโน้มในการก่อสร้างสิ่งต่างๆ เพิ่มขึน จากสถิติพบว่าในเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม
พ.ศ.2560 ได้มีการออกใบอนุญาตก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยทั่วประเทศในแนวราบทังหมด 654,053 ตารางเมตร ในแนว
สูงทังหมด 1,856,897 ตารางเมตร และปี พ.ศ. 2561 เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ได้มีการออกใบอนุญาตก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์
ประเภทที่อยู่อาศัยทั่วประเทศในแนวราบ 880,787 ตารางเมตร ในแนวสูงทังหมด 1,959,070 ตารางเมตร (อ้างอิงจาก REIC 2561) ท้า
ให้ปัจจุบันนันประเทศไทยได้ประสบปัญหาคือ บล็อกคอนกรีตจะรับแรงกดทับมากๆได้น้อย หรือก็คือต้องใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตเป็น
จ้านวนมากในการรับแรงกดทับมากๆ
1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ตารางที่ 1.1 การออกใบอนุญาติก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์
บทที่ 1 บทน้า
1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ต่อมาเมื่อมีการตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวได้มีงานวิจัยต่างๆที่ศึกษาการผสมเส้นใย
ธรรมชาติลงในคอนกรีต อันเนื่องมาจากเส้นใยนันน่าจะมีคุณสมบัติเป็นวัตถุประสานเพื่อเสริม
ความแข็งแรงให้แก่คอนกรีตได้เช่นเดียวกับทรายที่ใช้เป็นส่วนผสมในคอนกรีตนัน
ดังนันทางผู้จัดท้าโครงงานจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสมบัติของเส้นใยกาบกล้วยน้าว้า
สร้างบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่มีประสิทธิภาพในการทนแรง
กดทับ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับบนบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมจาก
เส้นใยกาบกล้วยน้าว้าในปริมาณที่มีความแตกต่างกัน
บทที่ 1 บทน้า
1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
รูปที่ 1 ทรายที่ใช้ในการก่อสร้าง
ที่มา: https://www.ruamcem0entonline.com
ซึ่งจะส่งผลให้ได้บล็อกคอนกรีตที่มีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากขึนโดยสามารถใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตที่
มีส่วนผสมของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในปริมาณที่เหมาะสมน้อยกว่าจ้านวนบล็อกคอนกรีตธรรมดาในการรับแรงกดทับ
ขนาดเท่ากัน ท้าให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง อีกทังยังเพิ่มมูลค่าของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ
ของประเทศไทยในการท้าวัสดุก่อสร้างและลดปัญหาที่เกิดจากเศษวัสดุด้วย
บทที่ 1 บทน้า
1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาสมบัติของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่
ใช้เป็นส่วนผสมในการท้าบล็อกคอนกรีต
2. เพื่อสร้างบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมของเส้นใย
จากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับ
3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับ
บนบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมจากเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าใน
ปริมาณที่ต่างกัน
1.2 วัตถุประสงค์
บทที่ 1 บทน้า
รูปที่ 2 บล็อกคอนกรีต
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
1. ถ้าเส้นใยจากาบกล้วยน้าว้ามีคุณสมบัติเพิ่มประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับแล้วบล็อกคอนกรีตที่ใช้เส้น
ใยจากกาบกล้วยน้าว้าเป็นส่วนผสมจะมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับได้มากกว่าบล็อกที่ไม่ได้ผสมเส้นใยจากกาบ
กล้วยน้าว้า
2. ถ้าเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้ามีคุณสมบัติท้าให้บล็อกคอนกรีตทนแรงกดทับได้มากขึน แล้วบล็อก
คอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยมากจะทนแรงกดทับได้มากกว่าบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้อย
1.3 สมมติฐานของการศึกษา
บทที่ 1 บทน้า
สิ่งที่น้ามาท้าการทดลอง : บล็อกคอนกรีตขนาด 10x10x10 cm3
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง : เส้นใยกล้วยที่ใช้ในการทดลองน้ามาจากกาบกล้วยน้าว้า
ปูนซีเมนต์ที่ใช้ตรานกอินทรีย์สีแดง
หินที่ใช้เป็นหินกรวด
ทรายที่ใช้เป็นทรายหยาบ
สถานที่ท้าการศึกษา : ห้องเรียนโครงงานวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ห้องปฏิบัติการของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงเวลาที่ท้าโครงงาน : เดือนพฤษภาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563
1.4 ขอบเขตของการท้าโครงงาน
บทที่ 1 บทน้า
1.บล็อกคอนกรีต คือ คอนกรีตมีลักษณะเป็นบล็อกที่มีขนาด 10x10x10 cm3 (ใช้แม่พิมพ์ที่ท้าจากเหล็ก)
2.บล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากธรรมชาติ คือบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า
3. การทดสอบแรงกดทับ คือ ค่าที่วัดได้จากแรงกดทับที่ใช้ในการท้าให้บล็อกคอนกรีตแยกออกจากกัน (หน่วยกิโลนิวตัน)
โดยใช้เครื่อง Compression-Testing-Machine ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. เส้นใยจากกล้วย คือ เส้นใยที่น้ามาจากกาบกล้วยของต้นกล้วยน้าว้าด้วยเครื่องแยกเส้นใย
1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 1 บทน้า
ตัวแปรต้น คือ ปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่ผสมในบล็อกคอนกรีต
ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับของบล็อกคอนกรีต
ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมาณน้าที่ใช้ในการผสมคอนกรีต , ปริมาณน้าที่ใช้ในการบ่มคอนกรีต , ปริมาณปูนซีเมนต์ ,
ปริมาณหิน , สภาพแวดล้อมที่ท้าให้ปูนแข็งตัว , ระยะเวลาการบ่มคอนกรีต , สถานที่ท้าการทดลอง ,
เครื่องทดสอบแรงกดทับที่ใช้ท้าการทดลอง
1.6 ตัวแปรที่ศึกษา
บทที่ 1 บทน้า
1. ได้บล็อกคอนกรีตที่มีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากขึน
2. สามารถน้าเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้ามาผสมในบล็อกคอนกรีตในอัตราส่วนที่เหมาะสม
3. เพิ่มมูลค่าของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในการท้าวัสดุก่อสร้าง
4. สามารถใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตที่มีอัตราส่วนที่เหมาะสมน้อยกว่าจ้านวนบล็อกคอนกรีตธรรมดาในการรับแรงกด
ทับขนาดเดียวกัน
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 1 บทน้า
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 กล้วยน้าว้า
กล้วยน้าว้า (Cultivated banana) มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Musa sapientum L.
จัดอยู่ในวงศ์ Musaceae มีลักษณะเป็นพืชล้มลุก ล้าต้นใต้ดินอวบน้าสูงประมาณ 2-5 ม.
ใบเป็นใบเดี่ยวมีขนาดประมาณ 40-200 ซม. ปลายและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบ
เรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านใต้ ผลของกล้วยน้าว้ามีลักษณะเป็นทรงกระบอก
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. ยาว 10 ซม. เมล็ดมีลักษณะเป็นทรงกลมสีด้า
มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.50 ซม.
รูปที่ 3 ต้นกล้วยน้าว้า
ที่มา : https:www.technologychaoban.com
เส้นใยกล้วยมีลักษณะทางกายภาพและทางเคมีที่หลากหลายมีดังนี
1. มีความแข็งแรงมาก
2. มีน้าหนักเบา
3. มีคุณภาพการดูดซับความชืนที่ดี สามารถดูดซับและปล่อยความชืนได้
อย่างรวดเร็ว
4. สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพและไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ
สามารถจัดประเภทเป็นเส้นใยที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2 คุณสมบัติของเส้นใยกล้วย
รูปที่ 4 เส้นใยกล้วย
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
1. ปูนซีเมนต์ ท้าหน้าที่ประสานมวลในบล็อกคอนกรีต
2. วัสดุผสมย่อยอย่างละเอียด การก่อสร้างในประเทศไทย วัสดุผสมย่อยอย่างละเอียดจะใช้ทรายเป็นตัว
แทรกประสาน ที่กระจายอยู่ทั่วซีเมนต์เพสต์ ช่วยให้บล็อกคอนกรีตมีความคงทนและปริมาณไม่เปลี่ยนแปลงมาก
3. วัสดุผสมย่อยอย่างหยาบ ใช้หินย่อยขนาดที่เหมาะกับการผสมบล็อกคอนกรีต
2.3 ส่วนผสมบล็อกคอนกรีต
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4. น้าที่ใช้ผสมบล็อกคอนกรีต ต้องเป็นน้าที่สะอาด เพื่อป้องกันบล็อกคอนกรีตผุกร่อน
และการแข็งตัวช้า อุณหภูมิที่ดีที่สุดของน้าที่น้ามาผสมบล็อกคอนกรีตคือ 20 องศาเซลเซียส
5. น้ายาผสมบล็อกคอนกรีต มีหน้าที่ปรับปรุงคุณสมบัติต่างๆของบล็อกคอนกรีตให้
เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน
ส้าหรับปฏิภาคส่วนผสมของบล็อกคอนกรีตโดยทั่วไปส้าหรับใช้ในงาน จะใช้บล็อก
คอนกรีต 1:2:4 โดยน้าหนัก ซึ่งหมายถึงใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน และหิน 4 ส่วน
2.3 ส่วนผสมบล็อกคอนกรีต (ต่อ)
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รูปที่ 5 การผสมคอนกรีตด้วยมือ
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เครื่องที่ใช้ทดสอบแรงกดทับ (Compression testing machine) วิธีการทดสอบ
คือวางก้อนตัวอย่างลงบนเครื่องทดสอบโดยให้จุดศูนย์กลางของก้อนตัวอย่างและเครื่อง
ทดสอบแรงกดทับตรงกัน จากนันเลื่อน Upper Bearing Plate ของเครื่องทดสอบลงมา
สัมผัสกับผิวด้านบนของแท่งตัวอย่างทดสอบ จากนันท้าการปรับค่าแรงกระท้าที่
Compression Machine ให้อยู่ที่ต้าแหน่งศูนย์ แล้วเพิ่มแรงกดด้วยอัตราเร็วสม่้าเสมอ
เท่ากับ 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรต่อวินาที บันทึกค่าแรงที่ท้าให้บล็อกคอนกรีต
แยกออกจากกัน
2.4 การทดสอบแรงกดทับ
รูปที่ 6 compression testing machine
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์ และ อัญชิสา สันติจิตโต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการวางผังเมืองได้ศึกษาคุณสมบัติของ
วัสดุซีเมนต์เส้นใยหรือไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติส้าหรับพืนที่ ในเขตร้อนชืน เช่น ประเทศไทย โดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่
ผลิตจากซีเมนต์เพสต์ผสมเส้นใยธรรมชาติอันได้แก่ ใยมะพร้าว และ กากเยื่อใยปาล์ม ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรม
เกษตรภายในประเทศ และมีวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานเป็น กระเบืองหลังคาแผ่นเรียบและแผ่นผนัง เพื่อใช้ในการลดการ
ถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร และลดการใช้พลังงานส้าหรับ ระบบปรับอากาศในอาคารโดยมุ่งเน้นการศึกษาอิทธิพลของเส้น
ใยธรรมชาติที่มีต่อคุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติเชิงกล และคุณสมบัติทางความร้อนของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน ASTM
และ JIS
2.5 งานวิจัยการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติจากเส้นใยมะพร้าว
และเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลจากการวิจัย พบว่าการใช้เส้นใยธรรมชาติทังสองประเภทในอัตราส่วนร้อยละ 5 โดยน้าหนักซีเมนต์ในสัดส่วน
ผสม ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติทางกายภาพ และ คุณสมบัติเชิงกลตามมาตรฐานก้าหนด และมีค่าสัมประสิทธิ์การ
น้าความร้อนต่้ากว่าซีเมนต์เพสต์ควบคุมถึงร้อยละ 66 ซึ่งมี ผลต่อการประหยัดพลังงานส้าหรับระบบปรับอากาศใน
อาคารพักอาศัย
2.5 งานวิจัยการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติจากเส้นใยมะพร้าว
และเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง (ต่อ)
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6 งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต
ดร.จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยา มหาวิทยาลัยรราชภัฎบุรีรัมย์ ได้ศึกษาความเค้นอัดของคอนกรีตผสมกากใย
อ้อยทังหมดทุกชุดการทดลองพบว่าปริมาณเส้นใยที่ผสมน้อยจะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัดลดลงไม่มาก แต่ถ้า
ปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่าร้อยละ 1.5 จะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัดลดค่าลงมากซึ่งไม่เหมาะที่จะน่าไป
ประยุกต์ใช้งาน ผลการทดลองยังพบอีกว่าขนาดของเส้นใยจะมีผลต่อก่าลังอัดของคอนกรีตเมื่อผสมด้วยอัตราส่วน
เดียวกัน กล่าวคือคอนกรีตผสมเส้นใยที่มีขนาดเท่ากับหรือเล็กกว่า 1/4 นิว มีแนวโน้มรับแรงอัดได้มากกว่าที่ผสม
ด้วยเส้นใยขนาดเท่ากับหรือใหญ่กว่า 3/4 นิว ทังนีปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่าร้อยละ 1.5 ยังท่าให้ไม่สามารถ
ควบคุมคุณภาพของชินงานได้ดีเท่าที่ควร
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ปริมาณเส้นใยที่ผสมในคอนกรีตมากขึนจะท้าให้ความหนาแน่นของชินงานลดลง ถ้าคิดความหนาแน่นของ
คอนกรีตผสมเส้นใยที่ร้อยละ 2.0 จะมีค่าลดลงประมาณร้อยละ 11.95 เมื่อเทียบกับคอนกรีตทั่วไป การทดลองนียังพบว่า
ปริมาณกากใยอ้อยปริมาณมากจะเป็นอุปสรรคในการควบคุมคุณภาพคอนกรีตในขันตอนการผสมและการหล่อชินงาน
อีกทังระยะเวลาที่ใช้ในการก่อตัวของคอนกรีตจะมากขึน
2.6 งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต (ต่อ)
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อนุรักษ์ เทพกรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทดสอบคุณสมบัติด้านความ
คงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย เปรียบเทียบกับคอนกรีตธรรมดาในสภาวะแวดล้อมที่รุนแรง โดยใช้คอนกรีตที่มีอัตราส่วนน้าต่อ
ซีเมนต์เท่ากับ 0.52, 0.60 และ 0.72 และใช้เส้นใย 4 ชนิดได้แก่ เส้นใยเหล็ก เส้นใยแก้ว เส้นใยโพลีโพรพีลีนและเส้นใยพอลิไวนิล
แอลกอฮอล์ คุณสมบัติของคอนกรีตที่ทดสอบคือ การต้านทานคลอไรด์ อิออนตามมาตรฐาน ASTM C1202-97 การซึมผ่านคลอ
ไรด์ตามมาตรฐาน ASTM C1543-02 และ การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในคอนกรีตโดยการเร่งตามมาตรฐาน ASTM G109-99a
การเร่งด้วยวิธี ธรรมชาติ (เปียกสลับแห้ง) และการเร่งด้วยไฟฟ้า
2.7 งานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการศึกษาพบว่าคอนกรีตเสริมเส้นใยพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ที่ปริมาณร้อยละ 0.5 และ 1 โดยปริมาตร มี
คุณสมบัติด้านความคงทน (ทังคุณสมบัติการต้านคลอไรด์อิออนและการเกิดสนิมของ เหล็กเสริมในคอนกรีต) ดีที่สุด
เมื่อเปรียบเทียบกับเส้นใยอีก 3 ประเภท และยังดีกว่าคอนกรีต ธรรมดาที่อัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.52 แต่เมื่อ
เพิ่มอัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.60 และ 0.72 พบว่าคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใยทุกชนิด
ด้อยกว่าคอนกรีตธรรมดา
2.5 งานวิจัยการผสมเส้นใยสังเคราะห์ลงในคอนกรีต2.7 งานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย (ต่อ)
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
1. กาบกล้วยน้าว้า จ้านวน 1 กิโลกรัม
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
รูปที่ 10 ปูนซีเมนต์ตรานกอินทรีย์
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
2. หินกรวด จ้านวน 8 กิโลกรัม
3. ทราย จ้านวน 3 กิโลกรัม
4. ปูนซีเมนต์ จ้านวน 1 ถุง
รูปที่ 7 กาบกล้วยน้าว้า
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 9 ทรายหยาบ
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 8 หินกรวด
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
5. เครื่องทดสอบแรงกดทับ จ้านวน 1 เครื่อง
6. ถังผสมคอนกรีต จ้านวน 1 ถัง
7. แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3 จ้านวน 6 อัน
8. ที่ตักสาร จ้านวน 1 อัน
รูปที่ 11 เครื่องทดสอบแรงกดทับ
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 12 ถังผสมคอนกรีต
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 14 ที่ตักสาร
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 13 แบบพิมพ์ปูนขนาด 6x6x6 นิว
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
9. น้า จ้านวน 1.5 ลิตร 11. เครื่องชั่งแบบหยาบ จ้านวน 1 เครื่อง
10. เกียง จ้านวน 1 ด้าม
รูปที่ 15 น้า
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปทึ่ 17 เครื่องชั่งแบบหยาบ
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 16 เกียง
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
12. น้ามันทาแบบพิมพ์ จ้านวน 100 ml
รูปทึ่ 18 น้ามันทาแบบพิมพ์
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
13. กะละมังสแตนเลส จ้านวน 2 อัน
รูปที่ 19 กะละมังสแตนเลส
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
14. กรรไกร จ้านวน 1 อัน
รูปที่ 20 กรรไกร
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
15. เครื่องแยกเส้นใยกล้วย จ้านวน 1 เครื่อง
รูปที่ 21 เครื่องแยกเส้นใยกล้วย
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
ตอนที่ 1 การเตรียมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า
1. ตัดต้นกล้วยน้าว้าบริเวณโคนต้นที่อยู่เหนือดิน
2. ลอกกาบกล้วยออกจากต้นกล้วยน้าว้า
3. น้ากาบกล้วยล้างน้าแล้วตากแดดจนแห้ง
4. น้ากาบกล้วยน้าว้าใส่เครื่องแยกเส้นใย
5. น้าเส้นใยที่ได้จากเครื่องแยกเส้นใยมาล้างน้าสะอาด แล้วน้าไปตากแดดจนแห้ง
6. ตัดเส้นใยให้ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร
7. เก็บรักษาเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าในบริเวณที่ปลอดความชืน
3.2 วิธีด้าเนินการ
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
รูปที่ 22 การตัดเส้นใยกล้วย
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
1. ตวงส่วนผสมของปูนซีเมนต์กับทรายและเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าตาม
อัตราส่วนในตารางที่ 3.1
3.2 วิธีด้าเนินการ
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
ตอนที่ 2 การผสมคอนกรีตและท้าบล็อกคอนกรีต
2. น้าทรายกับปูนซีเมนต์ใส่ลงในกระบะผสมคอนกรีต และผสมให้เข้ากัน
รูปที่ 24 การผสมทรายกับปูนซีเมนต์
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 23 การตวงส่วนผสม
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
3.2 วิธีด้าเนินการ
สัดส่วนผสม ปูนซีเมนต์ (กรัม) น้า (กรัม) หิน (กรัม) ทราย (กรัม) เส้นใย (กรัม)
A 450.00 225.00 1200.00 450.00 0.00 (0.0%)
B 450.00 225.00 1200.00 450.00 1.35 (0.3%)
C 450.00 225.00 1200.00 450.00 2.70 (0.6%)
D 450.00 225.00 1200.00 450.00 4.05 (0.9%)
E 450.00 225.00 1200.00 450.00 5.40 (1.2%)
F 450.00 225.00 1200.00 450.00 6.75 (1.5%)
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
ตารางที่ 3.1 ส่วนผสมของคอนกรีต
หมายเหตุ : อ้างอิงจากงานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต คือปริมาณเส้นใยไม่ควรเกิน 1.5 % ของปริมาณปูนซีเมนต์
3.2 วิธีด้าเนินการ
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
3. เมื่อทรายกับปูนซีเมนต์ผสมกันรียบร้อยแล้ว ให้น้าน้าลงไปผสมใน
กระบะทีละน้อยๆ จนกระทั่งเหลือน้าประมาณครึ่งนึงของที่ตวงไว้ หลังจากนัน
ให้ใส่หินลงไปผสมไปเรื่อยๆพร้อมกับค่อยๆเทน้าที่เหลือจนหมด
รูปที่ 25 การผสมคอนกรีต
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
4. ตักปูนที่ผสมไว้ใส่แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3 แล้วใช้เกียงปาดบนพืนผิวให้
เรียบ จากนันเก็บคอนกรีตให้ปราศจากแดดหรือลมร้อน ที่อุณหภูมิ 1𝟓℃ − 𝟑𝟗℃
เป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง แล้วเริ่มบ่มคอนกรีตเป็นระยะเวลา 7 วัน
3.2 วิธีด้าเนินการ
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
รูปที่ 26 คอนกรีตในแบบพิมพ์
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
3.2 วิธีด้าเนินการ
1. น้าบล็อกคอนกรีตที่ผสมตามสัดส่วนผสมต่างๆใส่เครื่องทดสอบแรงกดทับ
2. วางบล็อกคอนกรีตลงบนเครื่องทดสอบให้จุดศูนย์กลางของก้อนตัวอย่างและเครื่อง
ทดสอบแรงกดทับตรงกัน
3. เลื่อน upper bearing plate ของเครื่องทดสอบแรงกดทับลงมา ให้สัมผัสกับผิว
ด้านบนของบล็อกคอนกรีต
4. ปรับค่าแรงกระท้าที่ Compression Machine ให้อยู่ที่ต้าแหน่งศูนย์
5. เพิ่มแรงกดด้วยอัตราเร็วสม่้าเสมอเท่ากับ 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ต่อวินาที บันทึกค่าแรงที่ท้าให้บล็อกคอนกรีตแยกออกจากกัน
6. วิเคราะห์และเปรียบเทียบบล็อกคอนกรีตในอัตราส่วนผสมเส้นใยกาบกล้วยน้าว้า
และอัตราส่วนผสมปกติ
ตอนที่ 3 การทดสอบแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในอัตราส่วนที่ต่างกัน
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
รูปที่ 27 เครื่องทดสอบกดทับ
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
ตารางที่ 3.2 แผนการปฏิบัติงาน
เวลา
รายการ
พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
1. ศึกษาคุณสมบัติของเส้นใย
กล้วยน้าว้า

2. ศึกษาวิธีการท้าคอนกรีต 
3. ศึกษาขันตอนในการทดลอง  
4. เตรียมอุปรณ์ที่ใช้ในการ
ทดลอง
 
5. ลงมือผสมคอนกรีต  
3.3 แผนการก้าหนดเวลาปฏิบัติงาน
3.3 แผนการก้าหนดเวลาปฏิบัติงาน (ต่อ)
บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน
ตารางที่ 3.2 แผนการปฏิบัติงาน(ต่อ)
เวลา
รายการ
พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
6. ตรวจสอบประสิทธิภาพใน
การทนแรงกดทับของคอนกรีต

7. บันทึกและสรุปผลการ
ทดลอง

8. จัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์ 
9. จัดท้าโปสเตอร์น้าเสนอ 
10. น้าเสนองานในนิทรรศการ 
บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ
การทดสอบแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ในแต่ละส่วนผสม
จากการทดลองพบว่าค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ในแต่ละ
ส่วนผสม ซึ่งผสมเส้นใยจากกาบกล้วยในปริมาณที่แตกต่างกัน ได้แก่ 0.0%(A),
0.3%(B), 0.6%(C), 0.9%(D), 1.2%(E), 1.5%(F)
โดยใช้เครื่องทดสอบแรงกดทับ (compression testing machine) พบว่าบล็อก
คอนกรีตชุดควบคุม(A)นันสามารถรับแรงกดทับได้ 285.4 kN ซึ่งในชุดการทดลอง
ถัดๆมาที่มีการผสมเส้นใยจากกาบกล้วยลงไป ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตรองรับ
ได้เพิ่มขึนถึง 322.8 kN แต่ก็ลดลงในชุดการทดลอง E และ F
ส่วนผสม ค่าแรงกดทับที่คอนกรีตสามารถรองรับได้
ในแต่ละส่วนผสม (kN)
A 285.4
B 317.2
C 321.5
D 322.8
E 218.5
F 198.0
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงผลการทดสอบแรงกดทับ
0
50
100
150
200
250
300
350
400
A B C D E F
ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้
บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ
กราฟที่ 4.1 แสดงค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้
0
100
200
300
400
B C D E F
ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตผสมเส้นใยสามารถรองรับได้เปรียบเทียบกับบล็อกคอนกรีตปกติ
ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตที่มีเส้นใยกล้วยสามารถรองรับได้ ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้
บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ
กราฟที่ 4.2 กราฟแสดงค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตผสมเส้นใยสามารถรองรับได้เปรียบเทียบกับบล็อกคอนกรีตปกติ
บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ
ส่วนผสม ค่าแรงกดทับที่บล็อก
คอนกรีตสามารถรองรับได้
ในแต่ละส่วนผสม (kN)
ประสิทธิภาพที่บล็อก
คอนกรีตทนต่อแรงกดทับ
(kN)
ประสิทธิภาพที่บล็อก
คอนกรีตทนต่อแรงกดทับ
(%)
A 285.4 - -
B 317.2 31.8 11.14
C 321.5 36.1 12.65
D 322.8 37.4 13.10
E 218.5 -66.9 -23.44
F 198.0 -87.4 -30.62
ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงประสิทธิภาพที่บล็อกคอนกรีตต่อแรงกดทับ
5.1 สรุปผล
1. จากการศึกษาสมบัติของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าพบว่ามีความแข็งแรงมาก น้าหนักเบาและยังมีคุณภาพการดูดซับ
ความชืนที่ดี สามารถน้ามาเป็นส่วนผสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตได้
2. บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากที่สุด คือ บล็อก
คอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใย 0.9 % (ส่วนผสม D) ซึ่งสามารถรับแรงกดทับได้มากถึง 322.8 kN
3. ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับบนบล็อกคอนกรีตในชุดควบคุมนันมีค่า 285.4 kN ซึ่งในชุดการทดลองถัดๆมาที่มา
การผสมเส้นใยจากกาบกล้วยลงไป ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับนันเพิ่มขึนเรื่อยจนถึง 322.8 kN (ส่วนผสม D) แต่ก็ลดลง
ในส่วนผสม E และ F
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.2 อภิปรายผล
1. เส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้านันมีคุณสมบัติในการเสริมประสิทธิภาพการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีต
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติต้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใยของนายอนุรักษ์ เทพกรณ์
กล่าวว่าการผสมเส้นใยลงในคอนกรีตในปริมาณเหมาะสมจะเสริมคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีต
2. บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากที่สุด คือ
บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใย 0.9 % ซึ่งสอดคล้องการงานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีตของ ดร.จิรวัฒน์
วิมุตติสุขวิริยา ที่กล่าวว่าการผสมเส้นใยมากกว่า ท้าให้คุณสมบัติการต้านทานแรงอัดนันลดลงมาก
3. ประสิทฺธิภาพในการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าจะสูงขึน เมื่อเพิ่ม
ปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยตังแต่ 0.3%-0.9% แต่ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณเส้นใยตังแต่ 1.2% ขึนไป ซึ่งสอดคล้องการ
งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีตของ ดร.จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยาที่กล่าวว่าการผสมเส้นใยในปริมาณน้อยจ้าท้าให้
คุณสมบัติในการต้านทานแรงอัดนันเพิ่มขึน แต่ถ้าปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่า 1.5% จะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัด
นันลดลงมาก
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.2 อภิปรายผล (ต่อ)
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ผลการทดสอบในด้านความคงทนของบล็อกคอนกรีตมีการคลาดเคลื่อนง่าย ทังนีอาจเกิดจาก
1.1 วัสดุที่น้ามาใช้ในการทดสอบมีสิ่งเจือปนผสม เช่น ในการผสมคอนกรีต หินที่น้ามาผสมต้องท้าความสะอาด
ก่อนน้ามาผสม และแบบพิมพ์คอนกรีตต้องไม่มีสนิม เป็นต้น
1.2 การผสมบล็อกคอนกรีตยังไม่เป็นมาตรฐาน วิธีการบ่มและระยะเวลาส้าหรับบ่มของบล็อกคอนกรีต การ
ควบคุมระหว่างท้าการทดสอบที่ไม่ดีและอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบอาจจะไม่เหมาะกับตัวอย่างทดสอบ เป็นต้น เพราะฉะนัน
ในการผสมและการด้าเนินการทดสอบนันต้องมีการควบคุม ให้ดีที่สุด
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
2. ควรศึกษาและทดลองเรื่องการทดสอบบล็อกคอนกรีตด้านอื่นๆ เช่น ความเค้น ความคงทน การยุบตัว ความ
ยืดหยุ่น เพื่อยืนยันประสิทธิภาพของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า
3. ควรศึกษาและทดลองบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยชนิดอื่น เช่น กากมะพร้าว อ้อย ข้าวโพดเป็นต้น
4. ควรศึกษาและทดลองการกดทับคอนกรีตในลัษณะอื่นๆ เช่น ในลักษณะแผ่น ทรงกระบอก เป็นต้น
5.3 ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
การทดสอบกดทับ ปริญญา พวงนาค. 2543 “การทดสอบกดทับ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.material.chula.ac.th/RADIO44/MAY/RADIO5-3.HTM
สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562.
“การผสมคอนกรีต” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://mixconcrete.wordpress.com/2016/10/18/การผสมคอนกรีต-เป็นการน้า/
สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562.
ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์. “คุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติ จากเส้นใยมะพร้าวและเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง.” [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: http://www.tds.tu.ac.th/jars/download/jars/ สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562.
วิธีการผสมคอนกรีต pavitization04. 2558 ผลิต, 20 มิถุนายน. “วิธีการผสมคอนกรีต.” [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก:https://concretemixed.wordpress.com/ สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562.
วินิต ช่อวิเชียร. “คอนกรีตเทคโนโลยี”. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2526.
“กล้วยน้าว้า” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https:www.technologychaoban.com/
สืบค้น 15 ตุลาคม 2562.
มาตรฐานคอนกรีต คณะอนุกรรมการคอนกรีตและวัสดุ. 2561 [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0143
สืบค้น 17 ตุลาคม 2562.
ประโยชน์ของทราย “ทรายก่อสร้าง” 2557 [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ruamcem0entonline.com
สืบค้น 28 ตุลาคม 2562.
บรรณานุกรม (ต่อ)
ภาคผนวก
รูปที่ 1 แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 2 เส้นใยกาบกล้วยน้าว้า
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 3 คอนกรีตหลังผ่านการทดสอบแรงกดทับ
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 4 น้าคอนกรีตออกจากแบบพิมพ์
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
ภาคผนวก
รูปที่ 5 คอนกรีตในแบบพิมพ์ที่ยังไม่แข็งตัว
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 6 คอนกรีตในแบบพิมพ์ที่แข็งตัวแล้ว
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
ภาคผนวก
รูปที่ 7 การตวงส่วนผสม
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
รูปที่ 8 การผสมคอนกรีต
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 9 การตักส่วนผสม
ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
รูปที่ 10 การอ่านน้าหนักของส่วนผสม
ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
Pptgst uprojectbanana62

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกWichai Likitponrak
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62Pptgst uprojectsmall62
Pptgst uprojectsmall62
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowthLesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 

Similar to Pptgst uprojectbanana62

ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8pair paplern
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน Piya_jo
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8'Fixation Tar
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติkhuwawa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pair paplern
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 

Similar to Pptgst uprojectbanana62 (20)

ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน
รายละเอียดโครงการจิตอาสา ภูผาม่าน
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8
 
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากรงานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62
 

Pptgst uprojectbanana62

  • 1. โครงงานประดิษฐ์บล็อกคอนกรีตจากเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าที่มีประสิทธิภาพในการทนต่อแรงกดทับ (Pressure Proof Concrete From Cultivated Banana Fiber) ผู้จัดท้าโครงงาน นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ เลขที่ 16 นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล เลขที่ 21 นักเรียนระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 651 โครงงานนีเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2562 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางทิพย์อาภา ศรีวรางกูล นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ รศ.ดร. ธนิต ธงทอง อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. บทที่ 1 บทน้า ในปัจจุบันประเทศไทยได้มีแนวโน้มในการก่อสร้างสิ่งต่างๆ เพิ่มขึน จากสถิติพบว่าในเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2560 ได้มีการออกใบอนุญาตก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัยทั่วประเทศในแนวราบทังหมด 654,053 ตารางเมตร ในแนว สูงทังหมด 1,856,897 ตารางเมตร และปี พ.ศ. 2561 เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม ได้มีการออกใบอนุญาตก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ ประเภทที่อยู่อาศัยทั่วประเทศในแนวราบ 880,787 ตารางเมตร ในแนวสูงทังหมด 1,959,070 ตารางเมตร (อ้างอิงจาก REIC 2561) ท้า ให้ปัจจุบันนันประเทศไทยได้ประสบปัญหาคือ บล็อกคอนกรีตจะรับแรงกดทับมากๆได้น้อย หรือก็คือต้องใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตเป็น จ้านวนมากในการรับแรงกดทับมากๆ 1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
  • 3. ตารางที่ 1.1 การออกใบอนุญาติก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ บทที่ 1 บทน้า 1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
  • 4. ต่อมาเมื่อมีการตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวได้มีงานวิจัยต่างๆที่ศึกษาการผสมเส้นใย ธรรมชาติลงในคอนกรีต อันเนื่องมาจากเส้นใยนันน่าจะมีคุณสมบัติเป็นวัตถุประสานเพื่อเสริม ความแข็งแรงให้แก่คอนกรีตได้เช่นเดียวกับทรายที่ใช้เป็นส่วนผสมในคอนกรีตนัน ดังนันทางผู้จัดท้าโครงงานจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสมบัติของเส้นใยกาบกล้วยน้าว้า สร้างบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่มีประสิทธิภาพในการทนแรง กดทับ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับบนบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมจาก เส้นใยกาบกล้วยน้าว้าในปริมาณที่มีความแตกต่างกัน บทที่ 1 บทน้า 1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน รูปที่ 1 ทรายที่ใช้ในการก่อสร้าง ที่มา: https://www.ruamcem0entonline.com
  • 5. ซึ่งจะส่งผลให้ได้บล็อกคอนกรีตที่มีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากขึนโดยสามารถใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตที่ มีส่วนผสมของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในปริมาณที่เหมาะสมน้อยกว่าจ้านวนบล็อกคอนกรีตธรรมดาในการรับแรงกดทับ ขนาดเท่ากัน ท้าให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง อีกทังยังเพิ่มมูลค่าของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในการท้าวัสดุก่อสร้างและลดปัญหาที่เกิดจากเศษวัสดุด้วย บทที่ 1 บทน้า 1.1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
  • 6. 1. เพื่อศึกษาสมบัติของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่ ใช้เป็นส่วนผสมในการท้าบล็อกคอนกรีต 2. เพื่อสร้างบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมของเส้นใย จากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับ 3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับ บนบล็อกคอนกรีตที่มีส่วนผสมจากเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าใน ปริมาณที่ต่างกัน 1.2 วัตถุประสงค์ บทที่ 1 บทน้า รูปที่ 2 บล็อกคอนกรีต ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 7. 1. ถ้าเส้นใยจากาบกล้วยน้าว้ามีคุณสมบัติเพิ่มประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับแล้วบล็อกคอนกรีตที่ใช้เส้น ใยจากกาบกล้วยน้าว้าเป็นส่วนผสมจะมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับได้มากกว่าบล็อกที่ไม่ได้ผสมเส้นใยจากกาบ กล้วยน้าว้า 2. ถ้าเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้ามีคุณสมบัติท้าให้บล็อกคอนกรีตทนแรงกดทับได้มากขึน แล้วบล็อก คอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยมากจะทนแรงกดทับได้มากกว่าบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้อย 1.3 สมมติฐานของการศึกษา บทที่ 1 บทน้า
  • 8. สิ่งที่น้ามาท้าการทดลอง : บล็อกคอนกรีตขนาด 10x10x10 cm3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง : เส้นใยกล้วยที่ใช้ในการทดลองน้ามาจากกาบกล้วยน้าว้า ปูนซีเมนต์ที่ใช้ตรานกอินทรีย์สีแดง หินที่ใช้เป็นหินกรวด ทรายที่ใช้เป็นทรายหยาบ สถานที่ท้าการศึกษา : ห้องเรียนโครงงานวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ห้องปฏิบัติการของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงเวลาที่ท้าโครงงาน : เดือนพฤษภาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563 1.4 ขอบเขตของการท้าโครงงาน บทที่ 1 บทน้า
  • 9. 1.บล็อกคอนกรีต คือ คอนกรีตมีลักษณะเป็นบล็อกที่มีขนาด 10x10x10 cm3 (ใช้แม่พิมพ์ที่ท้าจากเหล็ก) 2.บล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากธรรมชาติ คือบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า 3. การทดสอบแรงกดทับ คือ ค่าที่วัดได้จากแรงกดทับที่ใช้ในการท้าให้บล็อกคอนกรีตแยกออกจากกัน (หน่วยกิโลนิวตัน) โดยใช้เครื่อง Compression-Testing-Machine ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. เส้นใยจากกล้วย คือ เส้นใยที่น้ามาจากกาบกล้วยของต้นกล้วยน้าว้าด้วยเครื่องแยกเส้นใย 1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ บทที่ 1 บทน้า
  • 10. ตัวแปรต้น คือ ปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าที่ผสมในบล็อกคอนกรีต ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับของบล็อกคอนกรีต ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมาณน้าที่ใช้ในการผสมคอนกรีต , ปริมาณน้าที่ใช้ในการบ่มคอนกรีต , ปริมาณปูนซีเมนต์ , ปริมาณหิน , สภาพแวดล้อมที่ท้าให้ปูนแข็งตัว , ระยะเวลาการบ่มคอนกรีต , สถานที่ท้าการทดลอง , เครื่องทดสอบแรงกดทับที่ใช้ท้าการทดลอง 1.6 ตัวแปรที่ศึกษา บทที่ 1 บทน้า
  • 11. 1. ได้บล็อกคอนกรีตที่มีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากขึน 2. สามารถน้าเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้ามาผสมในบล็อกคอนกรีตในอัตราส่วนที่เหมาะสม 3. เพิ่มมูลค่าของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในการท้าวัสดุก่อสร้าง 4. สามารถใช้จ้านวนบล็อกคอนกรีตที่มีอัตราส่วนที่เหมาะสมน้อยกว่าจ้านวนบล็อกคอนกรีตธรรมดาในการรับแรงกด ทับขนาดเดียวกัน 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 1 บทน้า
  • 12. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 กล้วยน้าว้า กล้วยน้าว้า (Cultivated banana) มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Musa sapientum L. จัดอยู่ในวงศ์ Musaceae มีลักษณะเป็นพืชล้มลุก ล้าต้นใต้ดินอวบน้าสูงประมาณ 2-5 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวมีขนาดประมาณ 40-200 ซม. ปลายและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบ เรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านใต้ ผลของกล้วยน้าว้ามีลักษณะเป็นทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. ยาว 10 ซม. เมล็ดมีลักษณะเป็นทรงกลมสีด้า มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.50 ซม. รูปที่ 3 ต้นกล้วยน้าว้า ที่มา : https:www.technologychaoban.com
  • 13. เส้นใยกล้วยมีลักษณะทางกายภาพและทางเคมีที่หลากหลายมีดังนี 1. มีความแข็งแรงมาก 2. มีน้าหนักเบา 3. มีคุณภาพการดูดซับความชืนที่ดี สามารถดูดซับและปล่อยความชืนได้ อย่างรวดเร็ว 4. สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพและไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ สามารถจัดประเภทเป็นเส้นใยที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2 คุณสมบัติของเส้นใยกล้วย รูปที่ 4 เส้นใยกล้วย ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 14. 1. ปูนซีเมนต์ ท้าหน้าที่ประสานมวลในบล็อกคอนกรีต 2. วัสดุผสมย่อยอย่างละเอียด การก่อสร้างในประเทศไทย วัสดุผสมย่อยอย่างละเอียดจะใช้ทรายเป็นตัว แทรกประสาน ที่กระจายอยู่ทั่วซีเมนต์เพสต์ ช่วยให้บล็อกคอนกรีตมีความคงทนและปริมาณไม่เปลี่ยนแปลงมาก 3. วัสดุผสมย่อยอย่างหยาบ ใช้หินย่อยขนาดที่เหมาะกับการผสมบล็อกคอนกรีต 2.3 ส่วนผสมบล็อกคอนกรีต บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 15. 4. น้าที่ใช้ผสมบล็อกคอนกรีต ต้องเป็นน้าที่สะอาด เพื่อป้องกันบล็อกคอนกรีตผุกร่อน และการแข็งตัวช้า อุณหภูมิที่ดีที่สุดของน้าที่น้ามาผสมบล็อกคอนกรีตคือ 20 องศาเซลเซียส 5. น้ายาผสมบล็อกคอนกรีต มีหน้าที่ปรับปรุงคุณสมบัติต่างๆของบล็อกคอนกรีตให้ เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน ส้าหรับปฏิภาคส่วนผสมของบล็อกคอนกรีตโดยทั่วไปส้าหรับใช้ในงาน จะใช้บล็อก คอนกรีต 1:2:4 โดยน้าหนัก ซึ่งหมายถึงใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน และหิน 4 ส่วน 2.3 ส่วนผสมบล็อกคอนกรีต (ต่อ) บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง รูปที่ 5 การผสมคอนกรีตด้วยมือ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 16. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง เครื่องที่ใช้ทดสอบแรงกดทับ (Compression testing machine) วิธีการทดสอบ คือวางก้อนตัวอย่างลงบนเครื่องทดสอบโดยให้จุดศูนย์กลางของก้อนตัวอย่างและเครื่อง ทดสอบแรงกดทับตรงกัน จากนันเลื่อน Upper Bearing Plate ของเครื่องทดสอบลงมา สัมผัสกับผิวด้านบนของแท่งตัวอย่างทดสอบ จากนันท้าการปรับค่าแรงกระท้าที่ Compression Machine ให้อยู่ที่ต้าแหน่งศูนย์ แล้วเพิ่มแรงกดด้วยอัตราเร็วสม่้าเสมอ เท่ากับ 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรต่อวินาที บันทึกค่าแรงที่ท้าให้บล็อกคอนกรีต แยกออกจากกัน 2.4 การทดสอบแรงกดทับ รูปที่ 6 compression testing machine ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 17. ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์ และ อัญชิสา สันติจิตโต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการวางผังเมืองได้ศึกษาคุณสมบัติของ วัสดุซีเมนต์เส้นใยหรือไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติส้าหรับพืนที่ ในเขตร้อนชืน เช่น ประเทศไทย โดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตจากซีเมนต์เพสต์ผสมเส้นใยธรรมชาติอันได้แก่ ใยมะพร้าว และ กากเยื่อใยปาล์ม ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรม เกษตรภายในประเทศ และมีวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานเป็น กระเบืองหลังคาแผ่นเรียบและแผ่นผนัง เพื่อใช้ในการลดการ ถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร และลดการใช้พลังงานส้าหรับ ระบบปรับอากาศในอาคารโดยมุ่งเน้นการศึกษาอิทธิพลของเส้น ใยธรรมชาติที่มีต่อคุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติเชิงกล และคุณสมบัติทางความร้อนของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน ASTM และ JIS 2.5 งานวิจัยการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติจากเส้นใยมะพร้าว และเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 18. ผลจากการวิจัย พบว่าการใช้เส้นใยธรรมชาติทังสองประเภทในอัตราส่วนร้อยละ 5 โดยน้าหนักซีเมนต์ในสัดส่วน ผสม ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติทางกายภาพ และ คุณสมบัติเชิงกลตามมาตรฐานก้าหนด และมีค่าสัมประสิทธิ์การ น้าความร้อนต่้ากว่าซีเมนต์เพสต์ควบคุมถึงร้อยละ 66 ซึ่งมี ผลต่อการประหยัดพลังงานส้าหรับระบบปรับอากาศใน อาคารพักอาศัย 2.5 งานวิจัยการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติจากเส้นใยมะพร้าว และเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง (ต่อ) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 19. 2.6 งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต ดร.จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยา มหาวิทยาลัยรราชภัฎบุรีรัมย์ ได้ศึกษาความเค้นอัดของคอนกรีตผสมกากใย อ้อยทังหมดทุกชุดการทดลองพบว่าปริมาณเส้นใยที่ผสมน้อยจะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัดลดลงไม่มาก แต่ถ้า ปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่าร้อยละ 1.5 จะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัดลดค่าลงมากซึ่งไม่เหมาะที่จะน่าไป ประยุกต์ใช้งาน ผลการทดลองยังพบอีกว่าขนาดของเส้นใยจะมีผลต่อก่าลังอัดของคอนกรีตเมื่อผสมด้วยอัตราส่วน เดียวกัน กล่าวคือคอนกรีตผสมเส้นใยที่มีขนาดเท่ากับหรือเล็กกว่า 1/4 นิว มีแนวโน้มรับแรงอัดได้มากกว่าที่ผสม ด้วยเส้นใยขนาดเท่ากับหรือใหญ่กว่า 3/4 นิว ทังนีปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่าร้อยละ 1.5 ยังท่าให้ไม่สามารถ ควบคุมคุณภาพของชินงานได้ดีเท่าที่ควร บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 20. ปริมาณเส้นใยที่ผสมในคอนกรีตมากขึนจะท้าให้ความหนาแน่นของชินงานลดลง ถ้าคิดความหนาแน่นของ คอนกรีตผสมเส้นใยที่ร้อยละ 2.0 จะมีค่าลดลงประมาณร้อยละ 11.95 เมื่อเทียบกับคอนกรีตทั่วไป การทดลองนียังพบว่า ปริมาณกากใยอ้อยปริมาณมากจะเป็นอุปสรรคในการควบคุมคุณภาพคอนกรีตในขันตอนการผสมและการหล่อชินงาน อีกทังระยะเวลาที่ใช้ในการก่อตัวของคอนกรีตจะมากขึน 2.6 งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต (ต่อ) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 21. อนุรักษ์ เทพกรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทดสอบคุณสมบัติด้านความ คงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย เปรียบเทียบกับคอนกรีตธรรมดาในสภาวะแวดล้อมที่รุนแรง โดยใช้คอนกรีตที่มีอัตราส่วนน้าต่อ ซีเมนต์เท่ากับ 0.52, 0.60 และ 0.72 และใช้เส้นใย 4 ชนิดได้แก่ เส้นใยเหล็ก เส้นใยแก้ว เส้นใยโพลีโพรพีลีนและเส้นใยพอลิไวนิล แอลกอฮอล์ คุณสมบัติของคอนกรีตที่ทดสอบคือ การต้านทานคลอไรด์ อิออนตามมาตรฐาน ASTM C1202-97 การซึมผ่านคลอ ไรด์ตามมาตรฐาน ASTM C1543-02 และ การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในคอนกรีตโดยการเร่งตามมาตรฐาน ASTM G109-99a การเร่งด้วยวิธี ธรรมชาติ (เปียกสลับแห้ง) และการเร่งด้วยไฟฟ้า 2.7 งานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 22. ผลการศึกษาพบว่าคอนกรีตเสริมเส้นใยพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ที่ปริมาณร้อยละ 0.5 และ 1 โดยปริมาตร มี คุณสมบัติด้านความคงทน (ทังคุณสมบัติการต้านคลอไรด์อิออนและการเกิดสนิมของ เหล็กเสริมในคอนกรีต) ดีที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับเส้นใยอีก 3 ประเภท และยังดีกว่าคอนกรีต ธรรมดาที่อัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.52 แต่เมื่อ เพิ่มอัตราส่วนน้าต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.60 และ 0.72 พบว่าคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใยทุกชนิด ด้อยกว่าคอนกรีตธรรมดา 2.5 งานวิจัยการผสมเส้นใยสังเคราะห์ลงในคอนกรีต2.7 งานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใย (ต่อ) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 23. บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน 1. กาบกล้วยน้าว้า จ้านวน 1 กิโลกรัม 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ รูปที่ 10 ปูนซีเมนต์ตรานกอินทรีย์ ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ 2. หินกรวด จ้านวน 8 กิโลกรัม 3. ทราย จ้านวน 3 กิโลกรัม 4. ปูนซีเมนต์ จ้านวน 1 ถุง รูปที่ 7 กาบกล้วยน้าว้า ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 9 ทรายหยาบ ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 8 หินกรวด ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 24. บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ 5. เครื่องทดสอบแรงกดทับ จ้านวน 1 เครื่อง 6. ถังผสมคอนกรีต จ้านวน 1 ถัง 7. แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3 จ้านวน 6 อัน 8. ที่ตักสาร จ้านวน 1 อัน รูปที่ 11 เครื่องทดสอบแรงกดทับ ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 12 ถังผสมคอนกรีต ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 14 ที่ตักสาร ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 13 แบบพิมพ์ปูนขนาด 6x6x6 นิว ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 25. บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ 9. น้า จ้านวน 1.5 ลิตร 11. เครื่องชั่งแบบหยาบ จ้านวน 1 เครื่อง 10. เกียง จ้านวน 1 ด้าม รูปที่ 15 น้า ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปทึ่ 17 เครื่องชั่งแบบหยาบ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 16 เกียง ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ 12. น้ามันทาแบบพิมพ์ จ้านวน 100 ml รูปทึ่ 18 น้ามันทาแบบพิมพ์ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 26. บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ 13. กะละมังสแตนเลส จ้านวน 2 อัน รูปที่ 19 กะละมังสแตนเลส ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล 14. กรรไกร จ้านวน 1 อัน รูปที่ 20 กรรไกร ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ 15. เครื่องแยกเส้นใยกล้วย จ้านวน 1 เครื่อง รูปที่ 21 เครื่องแยกเส้นใยกล้วย ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 27. ตอนที่ 1 การเตรียมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า 1. ตัดต้นกล้วยน้าว้าบริเวณโคนต้นที่อยู่เหนือดิน 2. ลอกกาบกล้วยออกจากต้นกล้วยน้าว้า 3. น้ากาบกล้วยล้างน้าแล้วตากแดดจนแห้ง 4. น้ากาบกล้วยน้าว้าใส่เครื่องแยกเส้นใย 5. น้าเส้นใยที่ได้จากเครื่องแยกเส้นใยมาล้างน้าสะอาด แล้วน้าไปตากแดดจนแห้ง 6. ตัดเส้นใยให้ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร 7. เก็บรักษาเส้นใยกาบกล้วยน้าว้าในบริเวณที่ปลอดความชืน 3.2 วิธีด้าเนินการ บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน รูปที่ 22 การตัดเส้นใยกล้วย ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 28. 1. ตวงส่วนผสมของปูนซีเมนต์กับทรายและเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าตาม อัตราส่วนในตารางที่ 3.1 3.2 วิธีด้าเนินการ บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน ตอนที่ 2 การผสมคอนกรีตและท้าบล็อกคอนกรีต 2. น้าทรายกับปูนซีเมนต์ใส่ลงในกระบะผสมคอนกรีต และผสมให้เข้ากัน รูปที่ 24 การผสมทรายกับปูนซีเมนต์ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 23 การตวงส่วนผสม ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 29. 3.2 วิธีด้าเนินการ สัดส่วนผสม ปูนซีเมนต์ (กรัม) น้า (กรัม) หิน (กรัม) ทราย (กรัม) เส้นใย (กรัม) A 450.00 225.00 1200.00 450.00 0.00 (0.0%) B 450.00 225.00 1200.00 450.00 1.35 (0.3%) C 450.00 225.00 1200.00 450.00 2.70 (0.6%) D 450.00 225.00 1200.00 450.00 4.05 (0.9%) E 450.00 225.00 1200.00 450.00 5.40 (1.2%) F 450.00 225.00 1200.00 450.00 6.75 (1.5%) บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน ตารางที่ 3.1 ส่วนผสมของคอนกรีต หมายเหตุ : อ้างอิงจากงานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีต คือปริมาณเส้นใยไม่ควรเกิน 1.5 % ของปริมาณปูนซีเมนต์
  • 30. 3.2 วิธีด้าเนินการ บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน 3. เมื่อทรายกับปูนซีเมนต์ผสมกันรียบร้อยแล้ว ให้น้าน้าลงไปผสมใน กระบะทีละน้อยๆ จนกระทั่งเหลือน้าประมาณครึ่งนึงของที่ตวงไว้ หลังจากนัน ให้ใส่หินลงไปผสมไปเรื่อยๆพร้อมกับค่อยๆเทน้าที่เหลือจนหมด รูปที่ 25 การผสมคอนกรีต ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 31. 4. ตักปูนที่ผสมไว้ใส่แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3 แล้วใช้เกียงปาดบนพืนผิวให้ เรียบ จากนันเก็บคอนกรีตให้ปราศจากแดดหรือลมร้อน ที่อุณหภูมิ 1𝟓℃ − 𝟑𝟗℃ เป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง แล้วเริ่มบ่มคอนกรีตเป็นระยะเวลา 7 วัน 3.2 วิธีด้าเนินการ บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน รูปที่ 26 คอนกรีตในแบบพิมพ์ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล
  • 32. 3.2 วิธีด้าเนินการ 1. น้าบล็อกคอนกรีตที่ผสมตามสัดส่วนผสมต่างๆใส่เครื่องทดสอบแรงกดทับ 2. วางบล็อกคอนกรีตลงบนเครื่องทดสอบให้จุดศูนย์กลางของก้อนตัวอย่างและเครื่อง ทดสอบแรงกดทับตรงกัน 3. เลื่อน upper bearing plate ของเครื่องทดสอบแรงกดทับลงมา ให้สัมผัสกับผิว ด้านบนของบล็อกคอนกรีต 4. ปรับค่าแรงกระท้าที่ Compression Machine ให้อยู่ที่ต้าแหน่งศูนย์ 5. เพิ่มแรงกดด้วยอัตราเร็วสม่้าเสมอเท่ากับ 1.12-2.72 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ต่อวินาที บันทึกค่าแรงที่ท้าให้บล็อกคอนกรีตแยกออกจากกัน 6. วิเคราะห์และเปรียบเทียบบล็อกคอนกรีตในอัตราส่วนผสมเส้นใยกาบกล้วยน้าว้า และอัตราส่วนผสมปกติ ตอนที่ 3 การทดสอบแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าในอัตราส่วนที่ต่างกัน บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน รูปที่ 27 เครื่องทดสอบกดทับ ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 33. บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน ตารางที่ 3.2 แผนการปฏิบัติงาน เวลา รายการ พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 1. ศึกษาคุณสมบัติของเส้นใย กล้วยน้าว้า  2. ศึกษาวิธีการท้าคอนกรีต  3. ศึกษาขันตอนในการทดลอง   4. เตรียมอุปรณ์ที่ใช้ในการ ทดลอง   5. ลงมือผสมคอนกรีต   3.3 แผนการก้าหนดเวลาปฏิบัติงาน
  • 34. 3.3 แผนการก้าหนดเวลาปฏิบัติงาน (ต่อ) บทที่ 3 วิธีการด้าเนินงาน ตารางที่ 3.2 แผนการปฏิบัติงาน(ต่อ) เวลา รายการ พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 6. ตรวจสอบประสิทธิภาพใน การทนแรงกดทับของคอนกรีต  7. บันทึกและสรุปผลการ ทดลอง  8. จัดท้ารายงานฉบับสมบูรณ์  9. จัดท้าโปสเตอร์น้าเสนอ  10. น้าเสนองานในนิทรรศการ 
  • 35. บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ การทดสอบแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ในแต่ละส่วนผสม จากการทดลองพบว่าค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ในแต่ละ ส่วนผสม ซึ่งผสมเส้นใยจากกาบกล้วยในปริมาณที่แตกต่างกัน ได้แก่ 0.0%(A), 0.3%(B), 0.6%(C), 0.9%(D), 1.2%(E), 1.5%(F) โดยใช้เครื่องทดสอบแรงกดทับ (compression testing machine) พบว่าบล็อก คอนกรีตชุดควบคุม(A)นันสามารถรับแรงกดทับได้ 285.4 kN ซึ่งในชุดการทดลอง ถัดๆมาที่มีการผสมเส้นใยจากกาบกล้วยลงไป ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตรองรับ ได้เพิ่มขึนถึง 322.8 kN แต่ก็ลดลงในชุดการทดลอง E และ F ส่วนผสม ค่าแรงกดทับที่คอนกรีตสามารถรองรับได้ ในแต่ละส่วนผสม (kN) A 285.4 B 317.2 C 321.5 D 322.8 E 218.5 F 198.0 ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงผลการทดสอบแรงกดทับ
  • 36. 0 50 100 150 200 250 300 350 400 A B C D E F ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ กราฟที่ 4.1 แสดงค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้
  • 37. 0 100 200 300 400 B C D E F ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตผสมเส้นใยสามารถรองรับได้เปรียบเทียบกับบล็อกคอนกรีตปกติ ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตที่มีเส้นใยกล้วยสามารถรองรับได้ ค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตสามารถรองรับได้ บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ กราฟที่ 4.2 กราฟแสดงค่าแรงกดทับที่บล็อกคอนกรีตผสมเส้นใยสามารถรองรับได้เปรียบเทียบกับบล็อกคอนกรีตปกติ
  • 38. บทที่ 4 ผลการด้าเนินการ ส่วนผสม ค่าแรงกดทับที่บล็อก คอนกรีตสามารถรองรับได้ ในแต่ละส่วนผสม (kN) ประสิทธิภาพที่บล็อก คอนกรีตทนต่อแรงกดทับ (kN) ประสิทธิภาพที่บล็อก คอนกรีตทนต่อแรงกดทับ (%) A 285.4 - - B 317.2 31.8 11.14 C 321.5 36.1 12.65 D 322.8 37.4 13.10 E 218.5 -66.9 -23.44 F 198.0 -87.4 -30.62 ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงประสิทธิภาพที่บล็อกคอนกรีตต่อแรงกดทับ
  • 39. 5.1 สรุปผล 1. จากการศึกษาสมบัติของเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าพบว่ามีความแข็งแรงมาก น้าหนักเบาและยังมีคุณภาพการดูดซับ ความชืนที่ดี สามารถน้ามาเป็นส่วนผสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตได้ 2. บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากที่สุด คือ บล็อก คอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใย 0.9 % (ส่วนผสม D) ซึ่งสามารถรับแรงกดทับได้มากถึง 322.8 kN 3. ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับบนบล็อกคอนกรีตในชุดควบคุมนันมีค่า 285.4 kN ซึ่งในชุดการทดลองถัดๆมาที่มา การผสมเส้นใยจากกาบกล้วยลงไป ประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับนันเพิ่มขึนเรื่อยจนถึง 322.8 kN (ส่วนผสม D) แต่ก็ลดลง ในส่วนผสม E และ F บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • 40. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.2 อภิปรายผล 1. เส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้านันมีคุณสมบัติในการเสริมประสิทธิภาพการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีต ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยการทดสอบคุณสมบัติต้านความคงทนของคอนกรีตเสริมเส้นใยของนายอนุรักษ์ เทพกรณ์ กล่าวว่าการผสมเส้นใยลงในคอนกรีตในปริมาณเหมาะสมจะเสริมคุณสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีต 2. บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าและมีประสิทธิภาพในการทนแรงกดทับมากที่สุด คือ บล็อกคอนกรีตที่มีปริมาณเส้นใย 0.9 % ซึ่งสอดคล้องการงานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีตของ ดร.จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยา ที่กล่าวว่าการผสมเส้นใยมากกว่า ท้าให้คุณสมบัติการต้านทานแรงอัดนันลดลงมาก
  • 41. 3. ประสิทฺธิภาพในการทนต่อแรงกดทับของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้าจะสูงขึน เมื่อเพิ่ม ปริมาณเส้นใยจากกาบกล้วยตังแต่ 0.3%-0.9% แต่ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณเส้นใยตังแต่ 1.2% ขึนไป ซึ่งสอดคล้องการ งานวิจัยการผสมกากใยอ้อยลงในคอนกรีตของ ดร.จิรวัฒน์ วิมุตติสุขวิริยาที่กล่าวว่าการผสมเส้นใยในปริมาณน้อยจ้าท้าให้ คุณสมบัติในการต้านทานแรงอัดนันเพิ่มขึน แต่ถ้าปริมาณเส้นใยที่ผสมมากกว่า 1.5% จะท้าให้คุณสมบัติต้านทานแรงอัด นันลดลงมาก บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.2 อภิปรายผล (ต่อ)
  • 42. 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ผลการทดสอบในด้านความคงทนของบล็อกคอนกรีตมีการคลาดเคลื่อนง่าย ทังนีอาจเกิดจาก 1.1 วัสดุที่น้ามาใช้ในการทดสอบมีสิ่งเจือปนผสม เช่น ในการผสมคอนกรีต หินที่น้ามาผสมต้องท้าความสะอาด ก่อนน้ามาผสม และแบบพิมพ์คอนกรีตต้องไม่มีสนิม เป็นต้น 1.2 การผสมบล็อกคอนกรีตยังไม่เป็นมาตรฐาน วิธีการบ่มและระยะเวลาส้าหรับบ่มของบล็อกคอนกรีต การ ควบคุมระหว่างท้าการทดสอบที่ไม่ดีและอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบอาจจะไม่เหมาะกับตัวอย่างทดสอบ เป็นต้น เพราะฉะนัน ในการผสมและการด้าเนินการทดสอบนันต้องมีการควบคุม ให้ดีที่สุด บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • 43. 2. ควรศึกษาและทดลองเรื่องการทดสอบบล็อกคอนกรีตด้านอื่นๆ เช่น ความเค้น ความคงทน การยุบตัว ความ ยืดหยุ่น เพื่อยืนยันประสิทธิภาพของบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยจากกาบกล้วยน้าว้า 3. ควรศึกษาและทดลองบล็อกคอนกรีตที่ผสมเส้นใยชนิดอื่น เช่น กากมะพร้าว อ้อย ข้าวโพดเป็นต้น 4. ควรศึกษาและทดลองการกดทับคอนกรีตในลัษณะอื่นๆ เช่น ในลักษณะแผ่น ทรงกระบอก เป็นต้น 5.3 ข้อเสนอแนะ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • 44. บรรณานุกรม การทดสอบกดทับ ปริญญา พวงนาค. 2543 “การทดสอบกดทับ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.material.chula.ac.th/RADIO44/MAY/RADIO5-3.HTM สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562. “การผสมคอนกรีต” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://mixconcrete.wordpress.com/2016/10/18/การผสมคอนกรีต-เป็นการน้า/ สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562. ภูษิต เลิศวัฒนารักษ์. “คุณสมบัติของวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์ผสมเส้นใยธรรมชาติ จากเส้นใยมะพร้าวและเส้นใยปาล์มเพื่อผลิตวัสดุก่อสร้าง.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.tds.tu.ac.th/jars/download/jars/ สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562. วิธีการผสมคอนกรีต pavitization04. 2558 ผลิต, 20 มิถุนายน. “วิธีการผสมคอนกรีต.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://concretemixed.wordpress.com/ สืบค้น 23 พฤษภาคม 2562. วินิต ช่อวิเชียร. “คอนกรีตเทคโนโลยี”. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2526.
  • 45. “กล้วยน้าว้า” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https:www.technologychaoban.com/ สืบค้น 15 ตุลาคม 2562. มาตรฐานคอนกรีต คณะอนุกรรมการคอนกรีตและวัสดุ. 2561 [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0143 สืบค้น 17 ตุลาคม 2562. ประโยชน์ของทราย “ทรายก่อสร้าง” 2557 [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ruamcem0entonline.com สืบค้น 28 ตุลาคม 2562. บรรณานุกรม (ต่อ)
  • 46. ภาคผนวก รูปที่ 1 แบบพิมพ์ขนาด 10x10x10 cm3 ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 2 เส้นใยกาบกล้วยน้าว้า ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 3 คอนกรีตหลังผ่านการทดสอบแรงกดทับ ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 4 น้าคอนกรีตออกจากแบบพิมพ์ ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 47. ภาคผนวก รูปที่ 5 คอนกรีตในแบบพิมพ์ที่ยังไม่แข็งตัว ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 6 คอนกรีตในแบบพิมพ์ที่แข็งตัวแล้ว ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์
  • 48. ภาคผนวก รูปที่ 7 การตวงส่วนผสม ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล รูปที่ 8 การผสมคอนกรีต ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 9 การตักส่วนผสม ที่มา : นายณรงค์เดช รุ่งเรืองชัยบูรณ์ รูปที่ 10 การอ่านน้าหนักของส่วนผสม ที่มา : นายธนภัทร ธนาโรจน์กุล