SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
คณะผู้จัดทำ
นำงสำวเพชรลดำ เจริญสกุลไชย
นำยรหัท ตั้งโสภณ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ห้อง 651
อำจำรย์ที่ปรึกษำโครงงำน
นำงทิพย์อำภำ ศรีวรำงกูล
นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสำระวิทยำศำสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ
ผลของสำรแทนนินในกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่มีผลต่อกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำในไม้ยำงพำรำ
โครงงำนวิทยำศำสตร์ประเภทกำรทดลอง
โครงงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรพัฒนำศักยภำพนักเรียนที่มีควำมสำมำรถพิเศษด้ำนวิทยำศำสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2562
อำจำรย์ที่ปรึกษำพิเศษ
รศ.ดร.สีหนำท ประสงค์สุข
ภำควิชำพฤกษศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
(The effect of tannin in Arabica coffee grounds and black tea waste against to fungi)
1.1 ที่มำและควำมสำคัญ
ในปัจจุบันเรื่องที่อยู่อำศัยนับเป็นปัจจัยสำคัญในกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยองค์ประกอบที่มีควำมสำคัญอย่ำง
หนึ่ง ก็คือเฟอร์นิเจอร์ภำยในบ้ำน ซึ่งในอดีตผู้คนมีควำมนิยมสร้ำงเฟอร์นิเจอร์จำกไม้โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งไม้ยำงพำรำ
โดยนำมำใช้ทดแทนไม้ชนิดอื่นๆ แต่ปัญหำอย่ำงหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวกับเฟอร์นิเจอร์นั่นก็คือกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำที่
อำจจะมีสำเหตุ มำจำกหลำยปัจจัย เช่น ควำมชื้น ควำมดันอำกำศ ปริมำณน้ำฝน โดยประเทศไทยนั้นตั้งอยู่ในเขต
ร้อนชื้นจึงมีระดับอุณหภูมิค่อนข้ำงสูงและฝนตกค่อนข้ำงมำกเกือบตลอดปี ทำให้ประเทศไทยมีควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย
ตลอดปี ร้อยละ 72-74 และจะลดลงเหลือร้อยละ 62-69 ในช่วงฤดูร้อน (อ้ำงอิงจำกเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยำ :
https://www.tmd.go.th/info/) ซึ่งทำให้เฟอร์นิเจอร์ไม้เกิดกำรเสื่อมสภำพ ดูไม่น่ำใช้งำนเท่ำที่ควร และต้องซื้อ
เฟอร์นิเจอร์ใหม่อย่ำงต่อเนื่องซึ่งเป็น กำรสิ้นเปลืองค่ำใช้จ่ำยโดยไม่จำเป็น อีกทั้งยังเป็นกำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงไม่คุ้มค่ำ
และเกิดปัญหำขยะจำกกำรทิ้งเฟอร์นิเจอร์ที่ขึ้นรำเพิ่มมำกขึ้น
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มำและควำมสำคัญ (ต่อ)
ต่อมำเมื่อมีกำรพัฒนำทำงด้ำนอุตสำหกรรมกำรค้นพบน้ำมันปิโตรเลียม และควำมก้ำวหน้ำในควำมเข้ำใจทำงด้ำน
เคมี ทำให้ผู้คนได้นิยมเปลี่ยนวัสดุในกำรสร้ำงเฟอร์นิเจอร์จำกไม้ นำไปสู่กำรใช้วัสดุสังเครำะห์ เช่น พลำสติก เนื่องด้วย
ระยะเวลำในกำรผลิตไม่ยำวนำน และมีต้นทุนในกำรผลิตต่ำ ทำให้รำคำถูกลงไปด้วย จำกกำรสำรวจทำงสถิติ พบว่ำมีขยะ
ถึง 27 ล้ำนตันต่อปี (อ้ำงอิงจำกเว็บไซต์ไทยพับลิก้ำ : https://thaipublica.org/2018/09/varakorn-263/) ส่งผลให้
ปัจจุบันผู้คน เกิดควำมตระหนักถึงปัญหำสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น จึงทำให้คนส่วนใหญ่หันกลับมำนิยมเฟอร์นิเจอร์จำกวัสดุ
ธรรมชำติมำกขึ้น เช่น ไม้จำกไม้ยำงพำรำ ทำให้มีควำมจำเป็นต้องใช้สำรกันรำ หรือกรดซำลิซิลิคซึ่งส่งผลให้เกิดสำรตกค้ำง
ในสิ่งแวดล้อม และมีผลเสียต่อสุขภำพ ได้แก่ ถ้ำบริโภคกรดซำลิซิลิคจนมีควำมเข้มข้นในเลือดถึง 25 – 35 มิลลิกรัม/เลือด
100 มิลลิกรัม จะมีอำกำรอำเจียน หูอื้อ มีไข้ กระวนกระวำย ชัก ไตวำยและอำจถึงเสียชีวิตได้
1.1 ที่มำและควำมสำคัญ (ต่อ)
ดังนั้น ทำงผู้จัดทำโครงงำนจึงมีควำมสนใจที่จะผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของ
เชื้อรำโดยศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำต่ำงชนิดกันและที่ควำม
เข้มข้นต่ำงๆที่ใช้ในกำรป้องกันกำรขึ้นรำของไม้ยำงพำรำที่นิยมนำมำทำเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งเป็นสำรที่ได้จำกธรรมชำติและ
สำมำรถลดปริมำณขยะจำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำเหลือทิ้งอันจะเป็นเป็นกำรรักษำสิ่งแวดล้อม อีกทั้งช่วย
ประหยัดเงินในกำรซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ใหม่
รูปที่ 2 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้ยางพารา จาก
http://www.trisinfurniture.com
รูปที่ 1 ไม้ยางพาราขึ้นรา จาก
https://www.researchgate.n
et/figure/Sapstain-or-blue-
stain-on-rubberwood-
1. เพื่อผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ
2. เพื่อศึกษำวิธีกำรสกัดสำรแทนนินในกำกชำ และกำกกำแฟในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโต
ของเชื้อรำ
3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ใช้สำรสกัดแทนนินจำก
กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ต่ำงชนิดกัน
4. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ใช้สำรสกัดแทนนินจำก
กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ควำมเข้มข้นต่ำงกัน
1.3 สมมติฐำนกำรทดลอง
ถ้ำสำรแทนนินที่สกัดจำกพืชต่ำงชนิดพันธุ์กันและควำมเข้มข้นต่ำงกันมีประสิทธิภำพในกำร
ป้องกันกำรเจริญของเชื้อรำแตกต่ำงกัน แล้วไม้ยำงพำรำที่แช่สำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ และกำกกำแฟ
อำรำบิก้ำที่ควำมเข้มข้นต่ำงกันจะส่งผลต่อระยะเวลำในกำรขึ้นรำของไม้ยำงพำรำที่แตกต่ำงกัน
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน
⊷ กำรทำโครงงำนครั้งนี้คณะผู้จัดทำมีควำมมุ่งเน้นที่จะศึกษำเฉพำะ ไม้ยำงพำรำที่ใช้ใน
กำรทดสอบ คือ ไม้ยำงพำรำที่แช่สำรสกัดแทนนินนำน 1 วัน ปริมำณ 1 มิลลิลิตร สกัดจำก
กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ ขนำดชิ้นไม้ยำงพำรำที่ใช้ทดสอบ คือ ขนำดกว้ำง 2 ซม.
ยำว 1.5 ซม. สูง 1 ซม. โดยมีกล่องพลำสติกเพื่อควบคุมควำมชื้น ขนำดกว้ำง 26 ซม.
ยำว 17.5 ซม. สูง 6 ซม. ซึ่งทำกำรทดลองที่ห้องปฏิบัติกำรวิทยำศำสตร์ คณะพฤกษศำสตร์
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย และ บ้ำนของนำงสำวเพชรลดำ เจริญสกุลไชย พุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม
1.4 ขอบเขตของโครงงำน
1.5 นิยำมเชิงปฏิบัติกำร
1. ประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ หมำยถึง ระยะเวลำก่อนกำรเจริญของเชื้อรำบนไม้โดยทำกำร
สังเกต เป็นระยะเวลำ 2 สัปดำห์ ในช่วงเดือนพฤศจิกำยน หำกเชื้อรำเจริญขึ้นไม้ช้ำแสดงว่ำไม้มีประสิทธิภำพกำร
ป้องกันกำรเจริญของเชื้อรำดี
2. ไม้กันเชื้อรำ หมำยถึง ไม้ยำงพำรำที่แช่สำรแทนนินแล้วสำมำรถป้องกัน หรือลดกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำได้
3. กำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ หมำยถึง ไม้ยำงพำรำที่มีกำรเปลี่ยนแปลงสภำพทำงกำยภำพ ได้แก่
กำรมีสีที่เปลี่ยนไป กำรมีเส้นใยเชื้อรำเกิดขึ้น หรือไม้ยำงพำรำมีลักษณะผุกร่อน ซึ่งสังเกตได้จำกลักษณะภำยนอก
4. สำรแทนนิน หมำยถึง สำรให้รสฝำด หรือรสขม ซึ่งสกัดได้จำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำ โดยใช้
ตัวทำละลำยเอทำนอลเข้มข้น 50% โดยปริมำตร/ปริมำตร ที่ควำมเข้มข้น 100% 75% 50% 25% และ 0%
โดยมวล/ปริมำตร
1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น ได้แก่
1. สำรแทนนินจำกกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ
2. ควำมเข้มข้นของสำรแทนนินที่ได้จำกกำรสกัดกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ
ตัวแปรตำม ได้แก่ ประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ยำงพำรำ (ระยะเวลำในกำรขึ้นรำ)
ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมำณของสำรสกัดที่ใช้ ขนำดชิ้นไม้ยำงพำรำ ลักษณะของชิ้นไม้
สถำนที่ทำกำรทดลอง ระยะเวลำในกำรทดลอง
1. ลดกำรใช้สำรเคมีที่เกี่ยวข้องกับสำรกันเชื้อรำในเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำ
2. ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำใหม่
3. กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่เหลือทิ้งจำกกำรบริโภคถูกนำกลับมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4. ลดปริมำณขยะที่เกิดจำกกำรทิ้งเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำที่ขึ้นรำ โดยกำรยืดอำยุกำรใช้งำน
1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
รูปที่ 3 ชาดา จาก
https://www.thehighlandte
a.com/ประเภทของชา/
ชำดำ เป็นชาที่ผ่านกระบวนการหมักอย่างสมบูรณ์ด้วยวิธีการ
บ่มเพาะอาศัยแบคทีเรียเป็นตัวทาปฏิกิริยา ซึ่งเป็นกรรมวิธีที่ทาให้ใบชา
หมักตัวได้อย่างเต็มที่ หากยิ่งบ่มนานยิ่งได้รสชาติมากขึ้น สรรพคุณชาดา
โดดเด่นในเรื่องช่วยการย่อยอาหาร ลดครอเลสเตอรอล และลดการดูดซึม
ไขมันในลาไส้ ชาดาหรือที่บ้านเรามักเรียกว่า ชาฝรั่ง ชาวตะวันตกนิยม
ชาชนิดนี้เป็นพิเศษ ชาดาที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก อาทิเช่น ชาอัสสัม
ชาซีลอน ชาดาจีลิ่ง ซึ่งมีแหล่งผลิตในประเทศอินเดียและศรีลังกา
ตามชื่อชานั่นเอง นอกจากนี้ยังนิยมนามาผสมแต่งกลิ่นเป็นรสชาติใหม่ๆ
อาทิ ชาเอริลเกรย์ (Earl Grey) ชาอิงลิชเบล็กฟาส (English Breakfast)
ส่วนทางฝั่งตะวันออกชาดาที่มีชื่อเสียง อาทิเช่น ชาผู่เอ๋อ (Puer Tea)
ชำดำ
กำแฟอำรำบิก้ำ
รูปที่ 4 กาแฟอาราบิก้า จาก
https://amprohealth.com/arabica/
กำแฟอำรำบิก้ำ ( Arabica ) เป็นสายพันธุ์ที่หายาก
ลักษณะลาต้นจะสูงกว่าเป็นพุ่มไม้ขนาดกลาง ถิ่นกาเนิดอยู่
บริเวณที่ราบสูงของเอธิโอเปียเช่นกัน และสัดส่วนของ
สายพันธุ์กาแฟอาราบิก้านี้ยังมีมากถึง 70 เปอร์เซ็นของพื้นที่
เพาะปลูกเมื่อเทียบกับโรบัสต้าแล้วว่าผลผลิตที่ได้ให้ปริมาณ
น้อย เติบโตช้า ต้องปลูกในเขตพื้นที่สูง ซึ่งเหนือกว่า
ระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 1,300 เมตรขึ้นไป และ
กาแฟอาราบิก้ามักจะอาศัยอยู่ใต้ร่มเงาของไม้ใหญ่เป็นหลัก
แทนนิน
รูปที่ 5 สารแทนนิน จาก
https://www.siamchemi.com/แทนนิน/
แทนนิน เป็นสารให้รสฝาด (astringency)
และรสขม (bitter) พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบ
ฝรั่ง ใบพลู ใบชุมเห็ด ผลไม้ดิบ เช่น กล้วยดิบ ในเปลือก
และเมล็ดของผลไม้ เช่น เปลือกมังคุด องุ่น เม็ดในของ
มะขาม เปลือกมะพร้าวอ่อน และพบในไวน์แดง แทนนินมี
ส่วนสาคัญ เป็นสารตั้งต้นในปฏิกิริยาการเกิดสีน้าตาลที่
เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ (enzymetic browning reaction)
ของผลไม้มีฤทธิ์เป็นสารกันเสีย (preservative) ยับยั้ง
การเจริญของจุลินทรีย์สารแทนนิน มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ
ของแบคทีเรียและเชื้อราได้ ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง แก้บิด
สมานแผล แผลเปื่อย
ไม้ยำงพำรำ
รูปที่ 6 ไม้ยางพารา จาก
https://www.palangkaset.com/ยาง
เศรษฐกิจ/ไม้ยางพารา-สวนยาง/
ไม้ยำงพำรำ ได้จากการแปรรูปต้นยางพาราที่มีอายุมาก
ต้นแก่ แล้วมาแปรรูป ดังนั้น ขนาดของไม้แปรรูปที่ได้จึงมีขนาด
โต 70 - 100 ซม. หรือเล็กกว่านั้น ไม้ยางพาราท่อนขนาดยาวที่
นามาแปรรูปส่วนมากจะยาว ไม่เกิน 4 เมตร ไม้ยางพาราแปรรูป
จึงมีขนาดสั้นและแผ่นไม่ค่อยใหญ่ และไม่ยาว ไม้ยางพาราเนื้อไม้
มีสีขาวอมครีม หรืออมเหลือง ขณะที่ยังสดอยู่ หลังจากแห้งแล้ว
นาไปไสผิวหน้าออกใหม่ๆ จะเป็นสีขาวแกมน้าตาลอ่อน หรือแกม
ชมพู หลังจากทิ้งไว้ให้ถูกอากาศเป็นเวลานานๆ สีจะเข้มขึ้นอีก
เล็กน้อย มีความถ่วงจาเพาะ 0.70 ที่ความชื้นในเนื้อไม้ 12 %
ลักษณะเนื้อไม้ส่วนที่เป็นกระพี้และแก่นไม่แตกต่างกัน เนื้อไม้
ค่อนข้างละเอียด เสี้ยนสนเล็กน้อยถึงมาก มักจะพบว่ามีน้ายาง
(latex) ออกมาทางด้านหัวท้ายของไม้แปรรูป
เชื้อรำในไม้
เชื้อรำที่ทำให้ไม้ผุ (Decay Fungi) เป็นเชื้อราที่เมื่อเข้าทาลายไม้แล้วจะทาให้เนื้อไม้ผุ ยุ่ย แบ่งตาม
ลักษณะที่ปรากฎบนไม้ภายหลังถูกทาลาย ได้แก่
1. รำผุสีน้ำตำล (Brown Rot) อาหารของเชื้อรา
จาพวกนี้คือ cellulose ซึ่งสะสมอยู่ตามผนังเซลล์
ของไม้เมื่อเชื้อราชนิดนี้เข้าทาลายไม้แล้วเนื้อไม้
จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล เนื้อไม้ยุบตัวลงและหักง่าย
ในทางขนานเสี้ยน
รูปที่ 7 ราผุสีน้าตาล จาก
https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay_fungus
2. รำผุสีขำว (White Rot) ราจาพวกนี้จะย่อยสลาย
สารประกอบของเซลล์ในไม้ได้ทั้ง lignin และ cellulose
ดังนั้นการทาลายในขั้นสุดท้ายพบว่าน้าหนักของไม้
อาจลดลงถึง 90 % และมีคุณสมบัติฟอกสีจะเห็นได้จาก
ไม้ที่ถูกทาลายแล้วมีสีขาวซีด เนื้อไม้จะยุ่ยเป็นเส้นใย
มองเห็นเป็นหย่อม ๆ หรือลายเส้นสีขาวสลับกันเนื้อไม้
รูปที่ 8 ราผุสีขาว จาก
https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay_
3. รำผุอ่อน (Soft Rot) พบเกิดกับไม้ที่อยู่ในที่ชื้นมากๆ
หรือเปียกน้าติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ เชื้อราจะทาลาย
รุนแรงบริเวณผิวนอกของไม้ มีการแตกขวางเสี้ยนคล้ายกับ
ราผุสีน้าตาลแต่มีขนาดเล็กกว่า บางครั้งอาจพบว่าเข้าทาลาย
ลึกถึงเนื้อไม้ ส่วนที่ถูกทาลายจะอ่อนนุ่ม ส่วนที่ไม่ถูกทาลาย
จะแข็ง และขอบเขตของการทาลายเห็นได้ชัดเจน ถ้านาไม้ไป
ทาให้เปียก ส่วนที่ถูกทาลายจะเปื่อยยุ่ย สามารถใช้เล็บขูด
รูปที่ 9 ราผุอ่อน จาก
https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay
งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.สำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำง
เข้ำถึงได้จำก http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=697
แทนนิน (tannin, tannic acid) เป็นสารประกอบ
พอลิฟีนอลมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน มีจาหน่ายเป็นการค้าในรูป
ของกรดแทนนิค (tannic acid) เป็นสารให้ความฝาด
และรสขม พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบฝรั่ง ใบพลู
ใบชุมเห็ด ผลไม้ดิบ เช่น ในเปลือกกล้วยดิบ เปลือกมังคุด
เปลือกมะพร้าวอ่อน เมล็ดของผลไม้ เช่น องุ่น
เม็ดในของมะขาม และพบในไวน์แดง
จากคุณดร.พรพิมล พิมลรัตน์
รูปที่ 10 ใบหูกวาง จาก
https://medthai.com/หูกวาง/
วิธีกำรเตรียมสำรสกัดและกำรนำสำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำงไปประยุกต์ใช้
กำรสกัดสำรแทนนินจำกใบหูกวำงโดย
วิธีกำรหมักกับน้ำ
เมื่อทาการแช่หมักใบหูกวางแห้ง
ที่ระยะเวลาและน้าหนักต่างกัน พบว่า
ปริมาณใบหูกวาง และระยะเวลาที่ต่างกัน
ส่งผลให้ได้ความเข้มข้นของสารแทนนิน
ต่างกัน ความเข้มข้นของแทนนินสูงที่สุดคือ
191.03±7.53 มิลลิกรัมต่อลิตร
การสกัดสารแทนนินจากใบหูกวางโดย
วิธีการใช้ความร้อน
การแช่ใบหูกวางแห้งเป็นวิธีการสกัดที่ง่าย
สะดวก และประหยัด แต่ใช้เวลานาน
โดยการต้มใบหูกวาง 20 กรัมต่อลิตร
มีความเข้มข้นของแทนนินมากกว่า
การแช่ใบหูกวาง 30 กรัมต่อลิตร 4.1 เท่า
2. งำนวิจัย กำรศึกษำสำรสกัดจำกพืชในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสำเหตุกำร
เน่ำเสียของเนื้อสัตว์ เข้ำถึงได้จำก http://www.research.rmutt.ac.th/?p=386
ศิริวรรณ แก้วเพ็ชร์ ได้ศึกษาสารสกัดจากพืชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็น สาเหตุการ
เน่าเสียของเนื้อสัตว์ โดยนาสารสกัดจากพืชที่มีสารแทนนินเพื่อมาใช้ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งสารแทนนิน
เป็น สารที่พบมากในพืชที่มีรสฝาดมีฤทธิ์ในการบรรเทาท้องเสียทั้งยังป้องกันการทาลายของเชื้อรา และเชื้อ
แบคทีเรียบางชนิด โดยพืชที่นามาสกัด มี 3 ชนิด ได้แก่ ใบฝรั่ง เปลือกเงาะ และเปลือกมังคุดจากการศึกษา
ปริมาณสารแทนนินในพืชที่มีรสฝาดโดยวิธีการตกตะกอนโปรตีนพบว่าใบฝรั่งมีปริมาณสารแทนนินอยู่ 18.65
กรัม
เปลือกเงาะ 17.87 กรัม และเปลือกมังคุด 15.77 กรัม ตามลาดับ การศึกษาผลของสารสกัดจากใบฝรั่ง เปลือก
เงาะ และเปลือกมังคุดมาใช้เพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุให้เนื้อสัตว์เน่าเสียในห้องปฏิบัติการ
โดยการวัดขนาด Clear zone พบว่า สารสกัดจากพืชที่มี
ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของ Escherichia coli,
Salmonella typhimurium และ Staphylococcus
aureus โดยเกิดบริเวณยับยั้งเห็นได้ชัดเจนมี 1 ชนิด คือ
สารสกัดจากเปลือกเงาะ ส่วนสารสกัดจากพืชอีก 2 ชนิด
ไม่ก่อให้เกิดการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย และ
จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกเงาะ
ในการยับยั้งแบคทีเรียบนเนื้อหมู เนื้อไก่ และเนื้อปลา
ที่เวลา 3 และ 6 ชั่วโมง พบว่าสารสกัดจากเปลือกเงาะ
ที่ระดับความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์มีประสิทธิภาพดีที่สุด
เมื่อนามาเปรียบเทียบจานวนโคโลนีที่ลดลง (%) จะพบว่า
สารสกัดจากเปลือกเงาะสามารถยับยั้ง
Staphylococcus aureus ได้ดีที่สุดทั้งบนเนื้อหมู เนื้อไก่
และเนื้อปลา
รูปที่ 11 เนื้อสัตว์ จาก
https://health.mthai.com/howto/h
ealth-care/7523.html
3. งำนวิจัย ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำคอลเลทโทรทริคั่ม
เข้ำถึงได้จำก http://old.rmutto.ac.th/fileupload/Wannasa%20Balsong6v6-bo3-53.pdf
คุณวัชรี ชัยชมภู ได้ศึกษาการใช้สารสกัดจากพืชเพ่ือยับยั้งการเจริญของเชื้อราคอลเลทโททริค่ืม โดยการ
สารวจ และ คัดเลือกสมุนไพรในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนรัปปาปอร์ต ตาบลบ่อแก้ว อาเภอสะเมิง
จังหวัดเชียงใหม่ได้พืชสมุนไพรที่คัดเลือก จานวน 6 ชนิดได้แก่ ขมิ้น ข่า ไพล มะละกอ มะรุม และเจตมูลเพลิง
แดง สกัดสมุนไพร โดยใช้ ตัวทาละลาย น้ากลั่นและเอทานอล 95% ทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดต่อการยับยั้งเชื้อ
รา โดยวิธีทดสอบบนอาหาร วุ้นที่ผสมกับสารสกัดจากพืช (poisoned food technique) ใช้สารสกัดที่ความ
เข้มข้น 500, 1,000, 2,000 และ 4,000 ส่วนในล้านส่วน ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดสมุนไพร เหง้าไพล เหง้า
ขมิ้น เหง้าข่า และใบมะละกอ ที่สกัดด้วย น้ากลั่นและเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราคอลเลทโททริคั่ม ไม่แตกต่าง
กันทางสถิติ ส่วนสารสกัดใบมะรุมและ รากเจตมูลเพลิงแดงที่สกัดด้วยน้ากลั่นและเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งแตกต่าง
กันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญท่ืความ เชื่อมั่น 0.05 สารสกัดจากเหง้าไพลและขมิ้นที่สกัดด้วยทั้งน้ากลั่นและเอทา
นอล สามารถยับยั้งเชื้อราได้ทุกความ เข้มข้น สารสกัดของเหง้า ไพล ขมิ้น ข่า รากเจตมูลเพลิงแดง ใบมะรุม
และใบมะละกอ สามารถยับยั้งได้ดีจากมากไปหาน้อย
4. งำนวิจัย ผลของสำรฝำดในใบชำต่อสุขภำพแม่และเด็ก เข้ำถึงได้จำก
https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/knowledge/files/0343.pdf
อาจารย์ ดร.นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์ ได้ศึกษาสารแทนนิน พบว่าเป็นสารในกลุ่มโพลีฟีนอล พบได้มากใน
พืชผักผลไม้ที่มีรสฝาด ซึ่งในใบชาแห้งจะพบสารแทนนินถึงร้อยละ 20-30% ของน้าหนัก คุณค่าทางอาหารของ
สารแทนนินนั้นต่ามาก สารประกอบแทนนินบางชนิดอาจก่อให้เกิดมะเร็งที่บางอวัยวะ เช่น มะเร็งปาก (จากการ
เคี้ยวหมากซึ่งมีสารแทนนินสูงถึง 11-26 % มีรายงานว่า tannin-containing fraction ของหมากนั้น มีความ
เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง) และมะเร็งที่อวัยวะอื่น เช่น มะเร็งทางเดินอาหารและตับ แต่มีงานวิจัยหลายชิ้น
รายงานว่า สารประกอบแทนนินบางชนิด มีฤทธิ์ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และช่วยป้องกัน
มะเร็งได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าสารแทนนินนั้นมีทั้งประโยชน์ และอาจมีโทษ (ถ้าดื่มมากจนเกินไป) ในทางยาสารแทน
นินมีฤทธิ์ฝาดสมาน ช่วยบรรเทาอาการท้องเสียได้ แต่ข้อเสียคือสารนี้จะสามารถยับยั้งการดูดซึมวิตามิน
และแร่ธาตุบางชนิด เช่น วิตามินบี และธาตุเหล็ก และลดการดูดซึมสารอาหารบางชนิด เช่น
โปรตีนและกรดอะมิโนจาเป็นจากอาหารทีเรารับประทานเข้าไปได้
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
1. กากชาดา 20 กรัม 2. กากกาแฟอาราบิก้า 20 กรัม 3. ไม้ยางพารา ขนาดกว้าง 2 ซม. ยาว 1.5 ซม.
สูง 1 ซม. จานวน 30 ชิ้น
รูปที่ 12 กากชาดา
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 13 กากกาแฟอาราบิก้า
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
รูปที่ 14 ไม้ยางพารา
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
4. เครื่องชั่งน้าหนัก 1 เครื่อง 7. ทิมเบอร์ 2 อัน5. กระบอกตวง 1 อัน
รูปที่ 15 เครื่องชั่งน้าหนัก
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 18 ทิมเบอร์
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
รูปที่ 16 กระบอกตวง
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
6. ช้อนตักสาร 1 อัน
รูปที่ 17 ช้อนตักสาร
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
8. ขวดปริมาตรรูปชมพู่ 2 ขวด 10. กรวยบุชเนอร์ 1 อัน 11. กระดาษกรอง 4 แผ่น
รูปที่ 19 ขวดปริมาตรรูปชมพู่
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 21 กรวยบุชเนอร์
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
รูปที่ 22 กระดาษกรอง
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
9. บีกเกอร์ 2 ใบ
รูปที่ 20 บีกเกอร์
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
12. ชุดอุปกรณ์ soxhlet 1 ชุด 13. เครื่องอังไอน้า 1 เครื่อง 14. เครื่องsuction 1 เครื่อง
รูปที่ 23 ชุดอุปกรณ์ soxhlet
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 24 เครื่องอังไอน้า
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 25 เครื่องปรับความดัน
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
15. ครกหิน 1 ชุด 16. Magnetic stirrer 1 เครื่อง 17. Magnetic bar 2 อัน
รูปที่ 26 ครกหิน
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 27 Magnetic stirrer
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 28 Magnetic bar
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
18. เครื่อง Centrifuge 1 เครื่อง
รูปที่ 29 เครื่อง Spectrafuge
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
21. เอทานอลเข้มข้น 95 %
474 มิลลิลิตร
24. โซเดียมคลอไรด์ 30 กรัม22. น้ากลั่น 426 มิลลิลิตร
รูปที่ 30 เอทานอล
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
รูปที่ 33 โซเดียมคลอไรด์
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
รูปที่ 31 น้ากลั่น
นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
23. น้าแข็ง 3 กิโลกรัม
รูปที่ 32 น้าแข็ง
จากนายรหัท ตั้งโสภณ
3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ)
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี
25. กล่องใส ขนาดกว้าง 26 ซม. ยาว 17.5 ซม. สูง 6 ซม.
รูปที่ 34 กล่องใส
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
20. แท่งแก้วคนสาร
รูปที่ 35 แท่งแก้วคนสาร
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
ตอนที่1 เตรียมสำรสกัด
เตรียมกากชาและกาแฟ ได้แก่ ชาดา กาแฟอาราบิก้า เพื่อนามาสกัดสารแทนนิน ซึ่งการสกัด
สารแทนนินจากกากชาและกากกาแฟสายพันธุ์ต่างๆ มีขั้นตอนดังนี้
1.1 ชั่งกากชาและกาแฟมาอย่างละ 20 กรัม และใส่ใน thimble
วิธีดำเนินกำร
รูปที่ 36 ชั่งกากชา และกากกาแฟ
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 37 ใส่กากชา และกากกาแฟลงใน thimble
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
1.2 เตรียมเอทานอลเข้มข้น 50% จานวน 800 มิลลิลิตร
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
รูปที่ 38 และ 39 เตรียมสารละลายเอทานอล
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
1.3 นาสารที่ได้จากขั้นตอนที่ 1.1และ1.2 ไปสกัดแบบ
ไหลย้อนกลับด้วย Soxhlet apparatus ใช้เวลานาน
2 ชั่วโมง
รูปที่ 40 การสกัดแบบไหลย้อนกลับด้วย soxhlet apparatus
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
1.4 นาสารที่ได้จากข้อ 1.3 ไประเหยเอาเอทานอลออก
จากสารแทนนินโดยใช้อ่างอังไอน้า ใช้เวลา 40 นาที
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
1.5 นาสารที่ได้จากข้อ 1.4 ไป กรองผ่านกรวยบุชเนอร์
ออกโดยใช้เครื่อง suction กรองจนกว่าสารจะหมด
รูปที่ 41 การระเหยเอทานอล
ออกด้วยอ่างอังไอน้า
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 43 และ 44 การกรองสารด้วยกรวยบุชเนอร์
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
รูปที่ 42 การเติมน้าแข็ง
ในอ่างอังไอน้า
จาก นางสาวเพชรลดา
เจริญสกุลไชย
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
1.6 บด NaCl จานวน 30 กรัมให้ละเอียดโดยใช้ครก
และนา NaCl ที่บดแล้วใส่ลงในสารที่ได้จากข้อ 1.5
รูปที่ 45 การบด NaCl
จาก นางสาวเพชรลดา
เจริญสกุลไชย
1.7 นา magnetic bar ใส่ลงในขวดรูปชมพู่
และนาภาชนะวางบน magnetic stirrer
เพื่อคนสารให้เข้ากัน
รูปที่ 46 การเติม NaCl
ลงในสารที่กรองได้
จาก นางสาวเพชรลดา
เจริญสกุลไชย
รูปที่ 47 นาภาชนะวางผล Magnetic stirrer
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
1.8 นาสารที่ได้จากข้อ 1.7 มาปั่นเหวี่ยงโดยใช้ เครื่อง centrifuge
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
รูปที่ 48 นาสารมาปั่นเหวี่ยงโดยใช้เครื่อง centrifuge
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
1.9 นาสารที่ได้จากข้อ 1.8 มาเข้าเครื่องอบ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 วัน
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
รูปที่ 49 นาสารเข้าเครื่องอบ
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
1.10 นาสารที่ได้จากข้อ 1.9 มาบดโดยใช้ครกหิน และ จัดเก็บสารแทนนินที่สกัดได้เพื่อนาไป
เตรียมสารละลายในขั้นตอนต่อไป
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
รูปที่ 50 นาสารมาบด
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
ตอนที่ 2 เตรียมควำมเข้มข้น
นาสารแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความเข้มข้น
100 เปอร์เซ็นต์ 75 เปอร์เซ็นต์ 50 เปอร์เซ็นต์ 25 เปอร์เซ็นต์ และ 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
2.1 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น
ที่ความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
โดยใช้สารแทนนิน 0.068 กรัม และใช้น้า 0.017 มิลลิลิตร
2.2 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น
ที่ความเข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
โดยใช้สารแทนนิน 0.051 กรัม และใช้น้า 0.034 มิลลิลิตร
2.3 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น
ที่ความเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
โดยใช้สารแทนนิน 0.034 กรัม และใช้น้า 0.051 มิลลิลิตร
2.4 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น
ที่ความเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
โดยใช้สารแทนนิน 0.017 กรัม และใช้น้า 0.068 มิลลิลิตร
2.5 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น
ที่ความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
รูปกำรเตรียมควำมเข้มข้น
รูปที่ 51 ชั่งมวลสารแทนนิน รูปที่ 52 วัดปริมาตรน้ากลั่น รูปที่ 53 ผสมสารแทนนินในน้ากลั่น
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย เพื่อเตรียมผสมสารละลาย
จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
ตอนที่ 3 แช่สำรแทนนินกับไม้ยำงพำรำ โดยใช้เวลำแช่ 1 วัน
3.1 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
3.2 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
3.3 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
3.4 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
3.5 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร
รูปที่ 54 การแช่ไม้ยางพารา รูปที่ 55 การแช่ไม้ยางพารา
ในสารละลายแทนนินที่สกัดจากกากกาแฟ ในสารละลายแทนนินที่สกัดจากกากชา
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
ตอนที่ 4 ทดสอบ
4.1 ตากแห้งไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินแล้ว เป็นเวลา 1 วัน
4.2 จัดใส่กล่องขนาด 26 เซนติเมตร x 17.5 เซนติเมตร x 6 เซนติเมตร
ที่มีการควบคุมให้มี ความชื้น 70เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
4.3 สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไม้ยางพารา โดยดูจากการมีสีที่เปลี่ยนไป
การมีเส้นใยเชื้อราเกิดขึ้น หรือไม้ยางพารามีลักษณะผุกร่อน และสังเกตดูทุกหนึ่งสัปดาห์
4.4 วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล
รูปที่ 56 จัดไม้ยางพาราใส่กล่อง
เพื่อทาการทดลอง
จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
วิธีดำเนินกำร
ตำรำงแสดงกระบวนกำรปฏิบัติงำน
ปี 2562 ปี 2563
เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค
1.ศึกษาคุณสมบัติของสารแทนนิน √
2.ศึกษาวิธีการสกัดสารแทนนิน √
3. ศึกษาคุณสมบัติกากชา กาแฟ √ √
4. นาเสนอเค้าโครงโครงงาน √
5. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง √ √
6. ลงมือสกัดสารแทนนิน √ √ √
7. แช่ไม้ยางพารากับสารสกัดจากแทนนินที่สกัดได้ √
8. ทดสอบประสิทธิภาพในการกันเชื้อรา สังเกตและ
สรุปผล
√
9. จัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ √ √
10. จัดทา poster นาเสนอ √
11. นาเสนอในงานนิทรรศการ √
ภาพที่ 69
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 15 / 11 / 62
ภาพที่ 70
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 71
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 72
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 73
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 74
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 75
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 76
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 77
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
บทที่ 4 ผลกำรทดลอง และวิเครำะห์ผลกำรทดลอง
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง
ภาพที่ 78
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 17 / 11 / 62
ภาพที่ 79
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 80
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 81
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 82
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 83
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 84
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 85
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 86
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 87
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 19 / 11 / 62
ภาพที่ 88
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 89
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 90
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 91
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 92
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 93
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 94
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 95
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 96
แสดงตัวแปรควบคุม
ภาพที่ 97
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 98
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 99
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 100
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 101
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 102
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 103
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 104
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
วันที่ 21 / 11 / 62
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 105
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 23 / 11 / 62
ภาพที่ 106
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 107
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 108
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 109
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 110
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 111
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 112
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 113
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 114
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 25 / 11 / 62
ภาพที่ 115
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 116
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 117
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 118
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 119
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 120
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่121
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 122
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 123
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 27 / 11 / 62
ภาพที่ 124
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 125
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 126
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 127
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 128
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 129
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่130
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 131
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ภาพที่ 132
แสดงตัวแปรควบคุม
วันที่ 29 / 11 / 62
ภาพที่ 133
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 134
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 135
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 136
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากชาดา 100% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 137
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 138
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่139
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/
ปริมาตร
ภาพที่ 140
แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย
มวล/ปริมาตร
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
ความเข้มข้นสารแทนนิน(%)
ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้
15 พ.ย.
62
17 พ.ย.
62
19 พ.ย.
62
21 พ.ย.
62
23 พ.ย.
62
25 พ.ย.
62
27 พ.ย.
62
29 พ.ย.
62
25% 0.10 0.34 0.70 0.85 1.32 1.90 2.34 2.70
50% 0.09 0.22 0.54 0.73 0.97 1.45 1.71 1.99
75% 0.10 0.13 0.24 0.44 0.55 0.66 0.76 0.78
100% 0.03 0.19 0.19 0.23 0.29 0.34 0.47 0.52
ชุดควบคุม 3.97 4.41 6.28 9.01 10.75 11.91 13.48 14.94
4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดาที่ความเข้มข้นต่างๆ
จากตารางข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 100% สามารถ
ชะลอการเจริญของเชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 0.52 ประสิทธิภาพ
รองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ50% ของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้
คือ 0.78 และ 1.99 ตามลาดับ
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ)
ความเข้มข้นสารแทนนิน
(%)
ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้
15 พ.ย.
62
17 พ.ย.
62
19 พ.ย.
62
21 พ.ย.
62
23 พ.ย.
62
25 พ.ย.
62
27 พ.ย.
62
29 พ.ย.
62
25% 6.88 7.30 7.60 8.30 8.90 9.78 10.23 11.46
50% 1.13 1.23 1.42 1.57 1.79 2.13 2.18 2.34
75% 0.43 0.53 0.57 0.66 0.86 0.96 1.03 1.14
100% 0.14 0.30 0.38 0.5 0.63 0.74 0.82 1.13
ชุดควบคุม 3.97 4.41 6.28 9.01 10.75 11.91 13.48 14.94
ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้นต่างๆ
จากตารางข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้น 100% สามารถ
ชะลอการเจริญของเชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 1.13 ประสิทธิภาพ
รองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ 50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่
ไม้คือ 1.14 และ 2.34 ตามลาดับ
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ)
ความเข้มข้น
สารแทนนิน(%)
ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้
กากชา กากกาแฟ
25% 1.28 8.81
50% 0.96 1.72
75% 0.46 0.77
100% 0.28 0.58
ชุดควบคุม 9.34
ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงการเปรียบเทียบร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดา และกากกาแฟ
อาราบิก้าที่ความเข้มข้นต่างๆ
จากผลการทดลอง พบว่าไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินจากใบชาดา ความเข้มข้น 100% มี
ประสิทธิภาพสูงสุดในการชะลอการเจริญของเชื้อรา โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราเฉลี่ยร้อยละ 0.28 ประสิทธิภาพ
รองลงมาคือไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจากกากใบชาดา ความเข้มข้น 75% และไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า ความเข้มข้น 100% โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราร้อยละ 0.46 และ 0.58 ตามลาดับ
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง
กราฟที่ 4.1 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดา
จากกราฟข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 100% สามารถชะลอการเจริญของเชื้อ
รามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 0.52 ประสิทธิภาพรองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกาก
ชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 0.78 และ 1.99 ตามลาดับ
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ)
กราฟที่ 4.2 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้า
จากกราฟข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้น 100% สามารถชะลอการเจริญของ
เชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 1.13 ประสิทธิภาพรองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนิน
ในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ 50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 1.14 และ 2.34 ตามลาดับ
ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ)
กราฟที่ 4.3 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดาและกากกาแฟ
จากผลการทดลอง พบว่าไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินจากใบชาดาความเข้มข้น 100% มีประสิทธิภาพสูงสุดในการชะลอการเจริญของเชื้อ
รา โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราเฉลี่ยร้อยละ 0.28 ประสิทธิภาพรองลงมาคือไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจากกากใบชาดาความเข้มข้น 75% และไม้ยางพารา
จากสารสกัดแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้า ความเข้มข้น 100% โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราร้อยละ 0.46 และ 0.58 ตามลาดับ
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลกำรทดลอง และอภิปรำยผลกำรทดลอง
1. จำกกำรศึกษำกำรผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ พบว่ำสำรแทนนินมีประสิทธิภำพใน
กำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ยำงพำรำได้จริงเนื่องจำกที่ควำมเข้มข้นร้อยละ100โดยมวลต่อปริมำตรสำมำรถชะลอได้
มำกกว่ำ สอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณ คุณวัชรี ชัยชมภู เรื่อง ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำ
คอลเลทโทรทริคั่ม
2. จำกกำรศึกษำวิธีกำรสกัดสำรแทนนินในกำกชำ และกำกกำแฟในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ พบว่ำ
สอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ เรื่อง วิธีกำรสกัดสำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำง โดยกำรสกัดแบบไหล
ย้อนกลับ พบว่ำมีข้อดีคือ เป็นวิธีกำรที่ไม่ซับซ้อน ใช้เวลำไม่มำก แต่มีข้อเสียคือ ค่ำใช้จ่ำยสูง และสกัดในแต่ละครั้งได้
ปริมำณน้อย
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลกำรทดลอง และอภิปรำยผลกำรทดลอง (ต่อ)
3. จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำจำกสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ และกำก
กำแฟอำรำบิก้ำ พบว่ำสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำมีประสิทธิภำพในกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำสูงกว่ำสำรสกัดแทน
นินจำกกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ทุกควำมเข้มข้นที่เท่ำกัน ซึ่งสอดคล้องกับงำนวิจัย ของดร.นิศำรัตน์ ศิริวัฒนเมธำนนท์ เรื่องผล
ของสำรฝำดในใบชำที่มีผลต่อแม่และเด็ก โดยพบว่ำสำรแทนนินในกำกชำสูงกว่ำในกำกกำแฟ
4. จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ควำมเข้มข้น
ต่ำงๆ พบว่ำที่ควำมเข้มข้น 100% ของสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ มีประสิทธิภำพสูงสุด
โดยมีกำรเจริญของเชื้อรำเพียงร้อยละ 0.52 ซึ่งสอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณวัชรี ชัยชมภู เรื่อง
ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำคอลเลทโทรทริคั่ม
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ(ต่อ)
5.2 ข้อเสนอแนะ
1) ควรใช้สารสกัดแทนนินจากพืชต่างชนิดมากขึ้น เพื่อจะได้เปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินในพืชแต่ละชนิด
ได้ว่าพืชชนิดใดมีปริมาณสารแทนนินมากที่สุด
2) ควรทากับไม้หลายชนิดมากขึ้น เพื่อจะได้ยืนยันประสิทธิภาพการชะลอการเจริญเชื้อราของสารแทนนิน
3) ควรเพิ่มระยะเวลาในการแช่ไม้ยางพารามากขึ้น เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเจริญของเชื้อรา
4) ควรเตรียมสารสกัดปริมาณมากขึ้น เพื่อสกัดสารแทนนินปริมาณมากขึ้น และสามารถเพิ่มชุดการทดลองได้
หลากหลายขึ้น
5) ควรควบคุมอุณหภูมิ และแสงให้คงที่ตลอดการทดลอง เพื่อลดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลอง
6) ควรศึกษาสายพันธุ์ของเชื้อราที่เกิดขึ้นกับการทดลอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา
“แทนนิน.” พิมเพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2376/tannin-แทนนิน. สืบค้น 25 เมษายน
2562.
“สารกันรา หรือ กรดซาลิซิลิค.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/
passaworn571110073/. สืบค้น 25 เมษายน 2562.
“รู้ทันสารปนเปื้อนในอาหาร - สารกันรา (กรดซาลิซิลิค).” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
https://www.greenshopcafe.com/greennews861.html. สืบค้น 25 เมษายน 2562.
“ขยะพลาสติกคือมหันตภัย.” วรากรณ์ สามโกเศศ. 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
https://thaipublica.org/2018/09/varakorn-263/. สืบค้น 25 เมษายน 2562.
“ความชื้นสัมพัทธ์.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.tmd.go.th/info/info.php?
FileID=56 สืบค้น 25 เมษายน 2562.
ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ “สารสกัดแทนนินจากใบหูกวาง” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=697. สืบค้น 2 มิถุนายน 2562.
เอกสำรอ้ำงอิง
ศิริวรรณ แก้วเพ็ชร์ “การศึกษาสารสกัดจากพืชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็น
สาเหตุการเน่าเสียของเนื้อสัตว์.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.research.rmutt.ac.th/?p=386 สืบค้น 2 มิถุนายน 2562.
วัชรี ชัยชมภู “ผลของสารสกัดจากพืชต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อราคอลเลทโทรทริคั่ม.” 2561.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://old.rmutto.ac.th/fileupload/Wannasa%20Balsong6v6-bo3-
53.pdf สืบค้น 2 มิถุนายน 2562.
ดร.นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์ “ผลของสารฝาดในใบชาต่อสุขภาพแม่และเด็ก.” 2559. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/knowledge/files/0343.pdf
สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562.
เอกสำรอ้ำงอิง (ต่อ)
ภำคผนวก
ภาพที่ 57 แสดงการเตรียมกากชาดา
ที่มานายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 58 แสดงการนากากชาดาไป
ตากแดดเพื่อระเหยความชื้นจนกาแฟแห้ง
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 59 แสดงสารแทนนินจาก
กากชาที่ได้จากการสกัด
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภำคผนวก (ต่อ)
ภาพที่ 60 แสดงการเตรียม
กากกาแฟอาราบิก้า
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 61 แสดงการนากากกาแฟไป
ตากแดดเพื่อระเหยความชื้นจนกาแฟแห้ง
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 62 แสดงสารแทนนินจาก
กากกาแฟที่ได้จากการสกัด
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภำคผนวก (ต่อ)
ภาพที่ 65 และ 66
แสดงการนาไม้มาทาการทดลอง
ที่มา นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
ภาพที่ 63
แสดงสารละลายแทนนินจาก
กากกาแฟอาราบิก้า
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 64
แสดงสารละลายแทนนินจาก
กากชาดา
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภำคผนวก (ต่อ)
ภาพที่ 67
แสดงการสกัดสารแทนนิน
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ภาพที่ 68
แสดงการเตรียมสารละลาย
ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
ขอบคุณทุกท่ำนที่รับฟังครับ/ค่ะ

More Related Content

What's hot

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณsekzazo
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 

What's hot (20)

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 

Similar to Pptgst uprojecttannin62

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้Sompop Petkleang
 
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับ
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับโครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับ
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับTHEPHIM
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมjirapatte
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพKobwit Piriyawat
 

Similar to Pptgst uprojecttannin62 (11)

โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
 
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับ
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับโครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับ
โครงงานดูดซับสารฟอร์มาลดีไฮด์ด้วยไม้ประดับ
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

Pptgst uprojecttannin62

  • 1. คณะผู้จัดทำ นำงสำวเพชรลดำ เจริญสกุลไชย นำยรหัท ตั้งโสภณ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 ห้อง 651 อำจำรย์ที่ปรึกษำโครงงำน นำงทิพย์อำภำ ศรีวรำงกูล นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสำระวิทยำศำสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ผลของสำรแทนนินในกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่มีผลต่อกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำในไม้ยำงพำรำ โครงงำนวิทยำศำสตร์ประเภทกำรทดลอง โครงงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรพัฒนำศักยภำพนักเรียนที่มีควำมสำมำรถพิเศษด้ำนวิทยำศำสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2562 อำจำรย์ที่ปรึกษำพิเศษ รศ.ดร.สีหนำท ประสงค์สุข ภำควิชำพฤกษศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย (The effect of tannin in Arabica coffee grounds and black tea waste against to fungi)
  • 2. 1.1 ที่มำและควำมสำคัญ ในปัจจุบันเรื่องที่อยู่อำศัยนับเป็นปัจจัยสำคัญในกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยองค์ประกอบที่มีควำมสำคัญอย่ำง หนึ่ง ก็คือเฟอร์นิเจอร์ภำยในบ้ำน ซึ่งในอดีตผู้คนมีควำมนิยมสร้ำงเฟอร์นิเจอร์จำกไม้โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งไม้ยำงพำรำ โดยนำมำใช้ทดแทนไม้ชนิดอื่นๆ แต่ปัญหำอย่ำงหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวกับเฟอร์นิเจอร์นั่นก็คือกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำที่ อำจจะมีสำเหตุ มำจำกหลำยปัจจัย เช่น ควำมชื้น ควำมดันอำกำศ ปริมำณน้ำฝน โดยประเทศไทยนั้นตั้งอยู่ในเขต ร้อนชื้นจึงมีระดับอุณหภูมิค่อนข้ำงสูงและฝนตกค่อนข้ำงมำกเกือบตลอดปี ทำให้ประเทศไทยมีควำมชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย ตลอดปี ร้อยละ 72-74 และจะลดลงเหลือร้อยละ 62-69 ในช่วงฤดูร้อน (อ้ำงอิงจำกเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยำ : https://www.tmd.go.th/info/) ซึ่งทำให้เฟอร์นิเจอร์ไม้เกิดกำรเสื่อมสภำพ ดูไม่น่ำใช้งำนเท่ำที่ควร และต้องซื้อ เฟอร์นิเจอร์ใหม่อย่ำงต่อเนื่องซึ่งเป็น กำรสิ้นเปลืองค่ำใช้จ่ำยโดยไม่จำเป็น อีกทั้งยังเป็นกำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงไม่คุ้มค่ำ และเกิดปัญหำขยะจำกกำรทิ้งเฟอร์นิเจอร์ที่ขึ้นรำเพิ่มมำกขึ้น บทที่ 1 บทนำ
  • 3. 1.1 ที่มำและควำมสำคัญ (ต่อ) ต่อมำเมื่อมีกำรพัฒนำทำงด้ำนอุตสำหกรรมกำรค้นพบน้ำมันปิโตรเลียม และควำมก้ำวหน้ำในควำมเข้ำใจทำงด้ำน เคมี ทำให้ผู้คนได้นิยมเปลี่ยนวัสดุในกำรสร้ำงเฟอร์นิเจอร์จำกไม้ นำไปสู่กำรใช้วัสดุสังเครำะห์ เช่น พลำสติก เนื่องด้วย ระยะเวลำในกำรผลิตไม่ยำวนำน และมีต้นทุนในกำรผลิตต่ำ ทำให้รำคำถูกลงไปด้วย จำกกำรสำรวจทำงสถิติ พบว่ำมีขยะ ถึง 27 ล้ำนตันต่อปี (อ้ำงอิงจำกเว็บไซต์ไทยพับลิก้ำ : https://thaipublica.org/2018/09/varakorn-263/) ส่งผลให้ ปัจจุบันผู้คน เกิดควำมตระหนักถึงปัญหำสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น จึงทำให้คนส่วนใหญ่หันกลับมำนิยมเฟอร์นิเจอร์จำกวัสดุ ธรรมชำติมำกขึ้น เช่น ไม้จำกไม้ยำงพำรำ ทำให้มีควำมจำเป็นต้องใช้สำรกันรำ หรือกรดซำลิซิลิคซึ่งส่งผลให้เกิดสำรตกค้ำง ในสิ่งแวดล้อม และมีผลเสียต่อสุขภำพ ได้แก่ ถ้ำบริโภคกรดซำลิซิลิคจนมีควำมเข้มข้นในเลือดถึง 25 – 35 มิลลิกรัม/เลือด 100 มิลลิกรัม จะมีอำกำรอำเจียน หูอื้อ มีไข้ กระวนกระวำย ชัก ไตวำยและอำจถึงเสียชีวิตได้
  • 4. 1.1 ที่มำและควำมสำคัญ (ต่อ) ดังนั้น ทำงผู้จัดทำโครงงำนจึงมีควำมสนใจที่จะผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของ เชื้อรำโดยศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำต่ำงชนิดกันและที่ควำม เข้มข้นต่ำงๆที่ใช้ในกำรป้องกันกำรขึ้นรำของไม้ยำงพำรำที่นิยมนำมำทำเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งเป็นสำรที่ได้จำกธรรมชำติและ สำมำรถลดปริมำณขยะจำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำเหลือทิ้งอันจะเป็นเป็นกำรรักษำสิ่งแวดล้อม อีกทั้งช่วย ประหยัดเงินในกำรซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ใหม่ รูปที่ 2 เฟอร ์นิเจอร ์ไม้ยางพารา จาก http://www.trisinfurniture.com รูปที่ 1 ไม้ยางพาราขึ้นรา จาก https://www.researchgate.n et/figure/Sapstain-or-blue- stain-on-rubberwood-
  • 5. 1. เพื่อผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ 2. เพื่อศึกษำวิธีกำรสกัดสำรแทนนินในกำกชำ และกำกกำแฟในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโต ของเชื้อรำ 3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ใช้สำรสกัดแทนนินจำก กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ต่ำงชนิดกัน 4. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ใช้สำรสกัดแทนนินจำก กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ควำมเข้มข้นต่ำงกัน 1.3 สมมติฐำนกำรทดลอง ถ้ำสำรแทนนินที่สกัดจำกพืชต่ำงชนิดพันธุ์กันและควำมเข้มข้นต่ำงกันมีประสิทธิภำพในกำร ป้องกันกำรเจริญของเชื้อรำแตกต่ำงกัน แล้วไม้ยำงพำรำที่แช่สำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ และกำกกำแฟ อำรำบิก้ำที่ควำมเข้มข้นต่ำงกันจะส่งผลต่อระยะเวลำในกำรขึ้นรำของไม้ยำงพำรำที่แตกต่ำงกัน 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน
  • 6. ⊷ กำรทำโครงงำนครั้งนี้คณะผู้จัดทำมีควำมมุ่งเน้นที่จะศึกษำเฉพำะ ไม้ยำงพำรำที่ใช้ใน กำรทดสอบ คือ ไม้ยำงพำรำที่แช่สำรสกัดแทนนินนำน 1 วัน ปริมำณ 1 มิลลิลิตร สกัดจำก กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ ขนำดชิ้นไม้ยำงพำรำที่ใช้ทดสอบ คือ ขนำดกว้ำง 2 ซม. ยำว 1.5 ซม. สูง 1 ซม. โดยมีกล่องพลำสติกเพื่อควบคุมควำมชื้น ขนำดกว้ำง 26 ซม. ยำว 17.5 ซม. สูง 6 ซม. ซึ่งทำกำรทดลองที่ห้องปฏิบัติกำรวิทยำศำสตร์ คณะพฤกษศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย และ บ้ำนของนำงสำวเพชรลดำ เจริญสกุลไชย พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 1.4 ขอบเขตของโครงงำน
  • 7. 1.5 นิยำมเชิงปฏิบัติกำร 1. ประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ หมำยถึง ระยะเวลำก่อนกำรเจริญของเชื้อรำบนไม้โดยทำกำร สังเกต เป็นระยะเวลำ 2 สัปดำห์ ในช่วงเดือนพฤศจิกำยน หำกเชื้อรำเจริญขึ้นไม้ช้ำแสดงว่ำไม้มีประสิทธิภำพกำร ป้องกันกำรเจริญของเชื้อรำดี 2. ไม้กันเชื้อรำ หมำยถึง ไม้ยำงพำรำที่แช่สำรแทนนินแล้วสำมำรถป้องกัน หรือลดกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำได้ 3. กำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ หมำยถึง ไม้ยำงพำรำที่มีกำรเปลี่ยนแปลงสภำพทำงกำยภำพ ได้แก่ กำรมีสีที่เปลี่ยนไป กำรมีเส้นใยเชื้อรำเกิดขึ้น หรือไม้ยำงพำรำมีลักษณะผุกร่อน ซึ่งสังเกตได้จำกลักษณะภำยนอก 4. สำรแทนนิน หมำยถึง สำรให้รสฝำด หรือรสขม ซึ่งสกัดได้จำกกำกชำดำและกำกกำแฟอำรำบิก้ำ โดยใช้ ตัวทำละลำยเอทำนอลเข้มข้น 50% โดยปริมำตร/ปริมำตร ที่ควำมเข้มข้น 100% 75% 50% 25% และ 0% โดยมวล/ปริมำตร
  • 8. 1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น ได้แก่ 1. สำรแทนนินจำกกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ 2. ควำมเข้มข้นของสำรแทนนินที่ได้จำกกำรสกัดกำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำ ตัวแปรตำม ได้แก่ ประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ยำงพำรำ (ระยะเวลำในกำรขึ้นรำ) ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมำณของสำรสกัดที่ใช้ ขนำดชิ้นไม้ยำงพำรำ ลักษณะของชิ้นไม้ สถำนที่ทำกำรทดลอง ระยะเวลำในกำรทดลอง
  • 9. 1. ลดกำรใช้สำรเคมีที่เกี่ยวข้องกับสำรกันเชื้อรำในเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำ 2. ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำใหม่ 3. กำกชำดำ และกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่เหลือทิ้งจำกกำรบริโภคถูกนำกลับมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. ลดปริมำณขยะที่เกิดจำกกำรทิ้งเฟอร์นิเจอร์ไม้ยำงพำรำที่ขึ้นรำ โดยกำรยืดอำยุกำรใช้งำน 1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
  • 10. บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง รูปที่ 3 ชาดา จาก https://www.thehighlandte a.com/ประเภทของชา/ ชำดำ เป็นชาที่ผ่านกระบวนการหมักอย่างสมบูรณ์ด้วยวิธีการ บ่มเพาะอาศัยแบคทีเรียเป็นตัวทาปฏิกิริยา ซึ่งเป็นกรรมวิธีที่ทาให้ใบชา หมักตัวได้อย่างเต็มที่ หากยิ่งบ่มนานยิ่งได้รสชาติมากขึ้น สรรพคุณชาดา โดดเด่นในเรื่องช่วยการย่อยอาหาร ลดครอเลสเตอรอล และลดการดูดซึม ไขมันในลาไส้ ชาดาหรือที่บ้านเรามักเรียกว่า ชาฝรั่ง ชาวตะวันตกนิยม ชาชนิดนี้เป็นพิเศษ ชาดาที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก อาทิเช่น ชาอัสสัม ชาซีลอน ชาดาจีลิ่ง ซึ่งมีแหล่งผลิตในประเทศอินเดียและศรีลังกา ตามชื่อชานั่นเอง นอกจากนี้ยังนิยมนามาผสมแต่งกลิ่นเป็นรสชาติใหม่ๆ อาทิ ชาเอริลเกรย์ (Earl Grey) ชาอิงลิชเบล็กฟาส (English Breakfast) ส่วนทางฝั่งตะวันออกชาดาที่มีชื่อเสียง อาทิเช่น ชาผู่เอ๋อ (Puer Tea) ชำดำ
  • 11. กำแฟอำรำบิก้ำ รูปที่ 4 กาแฟอาราบิก้า จาก https://amprohealth.com/arabica/ กำแฟอำรำบิก้ำ ( Arabica ) เป็นสายพันธุ์ที่หายาก ลักษณะลาต้นจะสูงกว่าเป็นพุ่มไม้ขนาดกลาง ถิ่นกาเนิดอยู่ บริเวณที่ราบสูงของเอธิโอเปียเช่นกัน และสัดส่วนของ สายพันธุ์กาแฟอาราบิก้านี้ยังมีมากถึง 70 เปอร์เซ็นของพื้นที่ เพาะปลูกเมื่อเทียบกับโรบัสต้าแล้วว่าผลผลิตที่ได้ให้ปริมาณ น้อย เติบโตช้า ต้องปลูกในเขตพื้นที่สูง ซึ่งเหนือกว่า ระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 1,300 เมตรขึ้นไป และ กาแฟอาราบิก้ามักจะอาศัยอยู่ใต้ร่มเงาของไม้ใหญ่เป็นหลัก
  • 12. แทนนิน รูปที่ 5 สารแทนนิน จาก https://www.siamchemi.com/แทนนิน/ แทนนิน เป็นสารให้รสฝาด (astringency) และรสขม (bitter) พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบ ฝรั่ง ใบพลู ใบชุมเห็ด ผลไม้ดิบ เช่น กล้วยดิบ ในเปลือก และเมล็ดของผลไม้ เช่น เปลือกมังคุด องุ่น เม็ดในของ มะขาม เปลือกมะพร้าวอ่อน และพบในไวน์แดง แทนนินมี ส่วนสาคัญ เป็นสารตั้งต้นในปฏิกิริยาการเกิดสีน้าตาลที่ เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ (enzymetic browning reaction) ของผลไม้มีฤทธิ์เป็นสารกันเสีย (preservative) ยับยั้ง การเจริญของจุลินทรีย์สารแทนนิน มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ ของแบคทีเรียและเชื้อราได้ ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง แก้บิด สมานแผล แผลเปื่อย
  • 13. ไม้ยำงพำรำ รูปที่ 6 ไม้ยางพารา จาก https://www.palangkaset.com/ยาง เศรษฐกิจ/ไม้ยางพารา-สวนยาง/ ไม้ยำงพำรำ ได้จากการแปรรูปต้นยางพาราที่มีอายุมาก ต้นแก่ แล้วมาแปรรูป ดังนั้น ขนาดของไม้แปรรูปที่ได้จึงมีขนาด โต 70 - 100 ซม. หรือเล็กกว่านั้น ไม้ยางพาราท่อนขนาดยาวที่ นามาแปรรูปส่วนมากจะยาว ไม่เกิน 4 เมตร ไม้ยางพาราแปรรูป จึงมีขนาดสั้นและแผ่นไม่ค่อยใหญ่ และไม่ยาว ไม้ยางพาราเนื้อไม้ มีสีขาวอมครีม หรืออมเหลือง ขณะที่ยังสดอยู่ หลังจากแห้งแล้ว นาไปไสผิวหน้าออกใหม่ๆ จะเป็นสีขาวแกมน้าตาลอ่อน หรือแกม ชมพู หลังจากทิ้งไว้ให้ถูกอากาศเป็นเวลานานๆ สีจะเข้มขึ้นอีก เล็กน้อย มีความถ่วงจาเพาะ 0.70 ที่ความชื้นในเนื้อไม้ 12 % ลักษณะเนื้อไม้ส่วนที่เป็นกระพี้และแก่นไม่แตกต่างกัน เนื้อไม้ ค่อนข้างละเอียด เสี้ยนสนเล็กน้อยถึงมาก มักจะพบว่ามีน้ายาง (latex) ออกมาทางด้านหัวท้ายของไม้แปรรูป
  • 14. เชื้อรำในไม้ เชื้อรำที่ทำให้ไม้ผุ (Decay Fungi) เป็นเชื้อราที่เมื่อเข้าทาลายไม้แล้วจะทาให้เนื้อไม้ผุ ยุ่ย แบ่งตาม ลักษณะที่ปรากฎบนไม้ภายหลังถูกทาลาย ได้แก่ 1. รำผุสีน้ำตำล (Brown Rot) อาหารของเชื้อรา จาพวกนี้คือ cellulose ซึ่งสะสมอยู่ตามผนังเซลล์ ของไม้เมื่อเชื้อราชนิดนี้เข้าทาลายไม้แล้วเนื้อไม้ จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล เนื้อไม้ยุบตัวลงและหักง่าย ในทางขนานเสี้ยน รูปที่ 7 ราผุสีน้าตาล จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay_fungus
  • 15. 2. รำผุสีขำว (White Rot) ราจาพวกนี้จะย่อยสลาย สารประกอบของเซลล์ในไม้ได้ทั้ง lignin และ cellulose ดังนั้นการทาลายในขั้นสุดท้ายพบว่าน้าหนักของไม้ อาจลดลงถึง 90 % และมีคุณสมบัติฟอกสีจะเห็นได้จาก ไม้ที่ถูกทาลายแล้วมีสีขาวซีด เนื้อไม้จะยุ่ยเป็นเส้นใย มองเห็นเป็นหย่อม ๆ หรือลายเส้นสีขาวสลับกันเนื้อไม้ รูปที่ 8 ราผุสีขาว จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay_ 3. รำผุอ่อน (Soft Rot) พบเกิดกับไม้ที่อยู่ในที่ชื้นมากๆ หรือเปียกน้าติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ เชื้อราจะทาลาย รุนแรงบริเวณผิวนอกของไม้ มีการแตกขวางเสี้ยนคล้ายกับ ราผุสีน้าตาลแต่มีขนาดเล็กกว่า บางครั้งอาจพบว่าเข้าทาลาย ลึกถึงเนื้อไม้ ส่วนที่ถูกทาลายจะอ่อนนุ่ม ส่วนที่ไม่ถูกทาลาย จะแข็ง และขอบเขตของการทาลายเห็นได้ชัดเจน ถ้านาไม้ไป ทาให้เปียก ส่วนที่ถูกทาลายจะเปื่อยยุ่ย สามารถใช้เล็บขูด รูปที่ 9 ราผุอ่อน จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wood-decay
  • 16. งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.สำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำง เข้ำถึงได้จำก http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=697 แทนนิน (tannin, tannic acid) เป็นสารประกอบ พอลิฟีนอลมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน มีจาหน่ายเป็นการค้าในรูป ของกรดแทนนิค (tannic acid) เป็นสารให้ความฝาด และรสขม พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบฝรั่ง ใบพลู ใบชุมเห็ด ผลไม้ดิบ เช่น ในเปลือกกล้วยดิบ เปลือกมังคุด เปลือกมะพร้าวอ่อน เมล็ดของผลไม้ เช่น องุ่น เม็ดในของมะขาม และพบในไวน์แดง จากคุณดร.พรพิมล พิมลรัตน์ รูปที่ 10 ใบหูกวาง จาก https://medthai.com/หูกวาง/
  • 17. วิธีกำรเตรียมสำรสกัดและกำรนำสำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำงไปประยุกต์ใช้ กำรสกัดสำรแทนนินจำกใบหูกวำงโดย วิธีกำรหมักกับน้ำ เมื่อทาการแช่หมักใบหูกวางแห้ง ที่ระยะเวลาและน้าหนักต่างกัน พบว่า ปริมาณใบหูกวาง และระยะเวลาที่ต่างกัน ส่งผลให้ได้ความเข้มข้นของสารแทนนิน ต่างกัน ความเข้มข้นของแทนนินสูงที่สุดคือ 191.03±7.53 มิลลิกรัมต่อลิตร การสกัดสารแทนนินจากใบหูกวางโดย วิธีการใช้ความร้อน การแช่ใบหูกวางแห้งเป็นวิธีการสกัดที่ง่าย สะดวก และประหยัด แต่ใช้เวลานาน โดยการต้มใบหูกวาง 20 กรัมต่อลิตร มีความเข้มข้นของแทนนินมากกว่า การแช่ใบหูกวาง 30 กรัมต่อลิตร 4.1 เท่า
  • 18. 2. งำนวิจัย กำรศึกษำสำรสกัดจำกพืชในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสำเหตุกำร เน่ำเสียของเนื้อสัตว์ เข้ำถึงได้จำก http://www.research.rmutt.ac.th/?p=386 ศิริวรรณ แก้วเพ็ชร์ ได้ศึกษาสารสกัดจากพืชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็น สาเหตุการ เน่าเสียของเนื้อสัตว์ โดยนาสารสกัดจากพืชที่มีสารแทนนินเพื่อมาใช้ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งสารแทนนิน เป็น สารที่พบมากในพืชที่มีรสฝาดมีฤทธิ์ในการบรรเทาท้องเสียทั้งยังป้องกันการทาลายของเชื้อรา และเชื้อ แบคทีเรียบางชนิด โดยพืชที่นามาสกัด มี 3 ชนิด ได้แก่ ใบฝรั่ง เปลือกเงาะ และเปลือกมังคุดจากการศึกษา ปริมาณสารแทนนินในพืชที่มีรสฝาดโดยวิธีการตกตะกอนโปรตีนพบว่าใบฝรั่งมีปริมาณสารแทนนินอยู่ 18.65 กรัม เปลือกเงาะ 17.87 กรัม และเปลือกมังคุด 15.77 กรัม ตามลาดับ การศึกษาผลของสารสกัดจากใบฝรั่ง เปลือก เงาะ และเปลือกมังคุดมาใช้เพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุให้เนื้อสัตว์เน่าเสียในห้องปฏิบัติการ
  • 19. โดยการวัดขนาด Clear zone พบว่า สารสกัดจากพืชที่มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของ Escherichia coli, Salmonella typhimurium และ Staphylococcus aureus โดยเกิดบริเวณยับยั้งเห็นได้ชัดเจนมี 1 ชนิด คือ สารสกัดจากเปลือกเงาะ ส่วนสารสกัดจากพืชอีก 2 ชนิด ไม่ก่อให้เกิดการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย และ จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากเปลือกเงาะ ในการยับยั้งแบคทีเรียบนเนื้อหมู เนื้อไก่ และเนื้อปลา ที่เวลา 3 และ 6 ชั่วโมง พบว่าสารสกัดจากเปลือกเงาะ ที่ระดับความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์มีประสิทธิภาพดีที่สุด เมื่อนามาเปรียบเทียบจานวนโคโลนีที่ลดลง (%) จะพบว่า สารสกัดจากเปลือกเงาะสามารถยับยั้ง Staphylococcus aureus ได้ดีที่สุดทั้งบนเนื้อหมู เนื้อไก่ และเนื้อปลา รูปที่ 11 เนื้อสัตว์ จาก https://health.mthai.com/howto/h ealth-care/7523.html
  • 20. 3. งำนวิจัย ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำคอลเลทโทรทริคั่ม เข้ำถึงได้จำก http://old.rmutto.ac.th/fileupload/Wannasa%20Balsong6v6-bo3-53.pdf คุณวัชรี ชัยชมภู ได้ศึกษาการใช้สารสกัดจากพืชเพ่ือยับยั้งการเจริญของเชื้อราคอลเลทโททริค่ืม โดยการ สารวจ และ คัดเลือกสมุนไพรในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนรัปปาปอร์ต ตาบลบ่อแก้ว อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ได้พืชสมุนไพรที่คัดเลือก จานวน 6 ชนิดได้แก่ ขมิ้น ข่า ไพล มะละกอ มะรุม และเจตมูลเพลิง แดง สกัดสมุนไพร โดยใช้ ตัวทาละลาย น้ากลั่นและเอทานอล 95% ทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดต่อการยับยั้งเชื้อ รา โดยวิธีทดสอบบนอาหาร วุ้นที่ผสมกับสารสกัดจากพืช (poisoned food technique) ใช้สารสกัดที่ความ เข้มข้น 500, 1,000, 2,000 และ 4,000 ส่วนในล้านส่วน ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดสมุนไพร เหง้าไพล เหง้า ขมิ้น เหง้าข่า และใบมะละกอ ที่สกัดด้วย น้ากลั่นและเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราคอลเลทโททริคั่ม ไม่แตกต่าง กันทางสถิติ ส่วนสารสกัดใบมะรุมและ รากเจตมูลเพลิงแดงที่สกัดด้วยน้ากลั่นและเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งแตกต่าง กันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญท่ืความ เชื่อมั่น 0.05 สารสกัดจากเหง้าไพลและขมิ้นที่สกัดด้วยทั้งน้ากลั่นและเอทา นอล สามารถยับยั้งเชื้อราได้ทุกความ เข้มข้น สารสกัดของเหง้า ไพล ขมิ้น ข่า รากเจตมูลเพลิงแดง ใบมะรุม และใบมะละกอ สามารถยับยั้งได้ดีจากมากไปหาน้อย
  • 21. 4. งำนวิจัย ผลของสำรฝำดในใบชำต่อสุขภำพแม่และเด็ก เข้ำถึงได้จำก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/knowledge/files/0343.pdf อาจารย์ ดร.นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์ ได้ศึกษาสารแทนนิน พบว่าเป็นสารในกลุ่มโพลีฟีนอล พบได้มากใน พืชผักผลไม้ที่มีรสฝาด ซึ่งในใบชาแห้งจะพบสารแทนนินถึงร้อยละ 20-30% ของน้าหนัก คุณค่าทางอาหารของ สารแทนนินนั้นต่ามาก สารประกอบแทนนินบางชนิดอาจก่อให้เกิดมะเร็งที่บางอวัยวะ เช่น มะเร็งปาก (จากการ เคี้ยวหมากซึ่งมีสารแทนนินสูงถึง 11-26 % มีรายงานว่า tannin-containing fraction ของหมากนั้น มีความ เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง) และมะเร็งที่อวัยวะอื่น เช่น มะเร็งทางเดินอาหารและตับ แต่มีงานวิจัยหลายชิ้น รายงานว่า สารประกอบแทนนินบางชนิด มีฤทธิ์ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และช่วยป้องกัน มะเร็งได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าสารแทนนินนั้นมีทั้งประโยชน์ และอาจมีโทษ (ถ้าดื่มมากจนเกินไป) ในทางยาสารแทน นินมีฤทธิ์ฝาดสมาน ช่วยบรรเทาอาการท้องเสียได้ แต่ข้อเสียคือสารนี้จะสามารถยับยั้งการดูดซึมวิตามิน และแร่ธาตุบางชนิด เช่น วิตามินบี และธาตุเหล็ก และลดการดูดซึมสารอาหารบางชนิด เช่น โปรตีนและกรดอะมิโนจาเป็นจากอาหารทีเรารับประทานเข้าไปได้
  • 22. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 1. กากชาดา 20 กรัม 2. กากกาแฟอาราบิก้า 20 กรัม 3. ไม้ยางพารา ขนาดกว้าง 2 ซม. ยาว 1.5 ซม. สูง 1 ซม. จานวน 30 ชิ้น รูปที่ 12 กากชาดา จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 13 กากกาแฟอาราบิก้า จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 14 ไม้ยางพารา จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 23. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 4. เครื่องชั่งน้าหนัก 1 เครื่อง 7. ทิมเบอร์ 2 อัน5. กระบอกตวง 1 อัน รูปที่ 15 เครื่องชั่งน้าหนัก จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 18 ทิมเบอร์ นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 16 กระบอกตวง จาก นายรหัท ตั้งโสภณ 6. ช้อนตักสาร 1 อัน รูปที่ 17 ช้อนตักสาร นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 24. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 8. ขวดปริมาตรรูปชมพู่ 2 ขวด 10. กรวยบุชเนอร์ 1 อัน 11. กระดาษกรอง 4 แผ่น รูปที่ 19 ขวดปริมาตรรูปชมพู่ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 21 กรวยบุชเนอร์ นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 22 กระดาษกรอง นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย 9. บีกเกอร์ 2 ใบ รูปที่ 20 บีกเกอร์ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 25. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 12. ชุดอุปกรณ์ soxhlet 1 ชุด 13. เครื่องอังไอน้า 1 เครื่อง 14. เครื่องsuction 1 เครื่อง รูปที่ 23 ชุดอุปกรณ์ soxhlet จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 24 เครื่องอังไอน้า จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 25 เครื่องปรับความดัน นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 26. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 15. ครกหิน 1 ชุด 16. Magnetic stirrer 1 เครื่อง 17. Magnetic bar 2 อัน รูปที่ 26 ครกหิน จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 27 Magnetic stirrer จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 28 Magnetic bar จาก นายรหัท ตั้งโสภณ 18. เครื่อง Centrifuge 1 เครื่อง รูปที่ 29 เครื่อง Spectrafuge จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 27. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 21. เอทานอลเข้มข้น 95 % 474 มิลลิลิตร 24. โซเดียมคลอไรด์ 30 กรัม22. น้ากลั่น 426 มิลลิลิตร รูปที่ 30 เอทานอล นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 33 โซเดียมคลอไรด์ นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 31 น้ากลั่น นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย 23. น้าแข็ง 3 กิโลกรัม รูปที่ 32 น้าแข็ง จากนายรหัท ตั้งโสภณ
  • 28. 3.1 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี (ต่อ) บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และสำรเคมี 25. กล่องใส ขนาดกว้าง 26 ซม. ยาว 17.5 ซม. สูง 6 ซม. รูปที่ 34 กล่องใส จาก นายรหัท ตั้งโสภณ 20. แท่งแก้วคนสาร รูปที่ 35 แท่งแก้วคนสาร จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 29. ตอนที่1 เตรียมสำรสกัด เตรียมกากชาและกาแฟ ได้แก่ ชาดา กาแฟอาราบิก้า เพื่อนามาสกัดสารแทนนิน ซึ่งการสกัด สารแทนนินจากกากชาและกากกาแฟสายพันธุ์ต่างๆ มีขั้นตอนดังนี้ 1.1 ชั่งกากชาและกาแฟมาอย่างละ 20 กรัม และใส่ใน thimble วิธีดำเนินกำร รูปที่ 36 ชั่งกากชา และกากกาแฟ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 37 ใส่กากชา และกากกาแฟลงใน thimble จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 30. 1.2 เตรียมเอทานอลเข้มข้น 50% จานวน 800 มิลลิลิตร วิธีดำเนินกำร (ต่อ) รูปที่ 38 และ 39 เตรียมสารละลายเอทานอล จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย 1.3 นาสารที่ได้จากขั้นตอนที่ 1.1และ1.2 ไปสกัดแบบ ไหลย้อนกลับด้วย Soxhlet apparatus ใช้เวลานาน 2 ชั่วโมง รูปที่ 40 การสกัดแบบไหลย้อนกลับด้วย soxhlet apparatus จาก นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 31. 1.4 นาสารที่ได้จากข้อ 1.3 ไประเหยเอาเอทานอลออก จากสารแทนนินโดยใช้อ่างอังไอน้า ใช้เวลา 40 นาที วิธีดำเนินกำร (ต่อ) 1.5 นาสารที่ได้จากข้อ 1.4 ไป กรองผ่านกรวยบุชเนอร์ ออกโดยใช้เครื่อง suction กรองจนกว่าสารจะหมด รูปที่ 41 การระเหยเอทานอล ออกด้วยอ่างอังไอน้า จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 43 และ 44 การกรองสารด้วยกรวยบุชเนอร์ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ รูปที่ 42 การเติมน้าแข็ง ในอ่างอังไอน้า จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 32. วิธีดำเนินกำร (ต่อ) 1.6 บด NaCl จานวน 30 กรัมให้ละเอียดโดยใช้ครก และนา NaCl ที่บดแล้วใส่ลงในสารที่ได้จากข้อ 1.5 รูปที่ 45 การบด NaCl จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย 1.7 นา magnetic bar ใส่ลงในขวดรูปชมพู่ และนาภาชนะวางบน magnetic stirrer เพื่อคนสารให้เข้ากัน รูปที่ 46 การเติม NaCl ลงในสารที่กรองได้ จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย รูปที่ 47 นาภาชนะวางผล Magnetic stirrer จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 33. 1.8 นาสารที่ได้จากข้อ 1.7 มาปั่นเหวี่ยงโดยใช้ เครื่อง centrifuge วิธีดำเนินกำร (ต่อ) รูปที่ 48 นาสารมาปั่นเหวี่ยงโดยใช้เครื่อง centrifuge จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 34. 1.9 นาสารที่ได้จากข้อ 1.8 มาเข้าเครื่องอบ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 วัน วิธีดำเนินกำร (ต่อ) รูปที่ 49 นาสารเข้าเครื่องอบ จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 35. 1.10 นาสารที่ได้จากข้อ 1.9 มาบดโดยใช้ครกหิน และ จัดเก็บสารแทนนินที่สกัดได้เพื่อนาไป เตรียมสารละลายในขั้นตอนต่อไป วิธีดำเนินกำร (ต่อ) รูปที่ 50 นาสารมาบด จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 36. วิธีดำเนินกำร (ต่อ) ตอนที่ 2 เตรียมควำมเข้มข้น นาสารแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ 75 เปอร์เซ็นต์ 50 เปอร์เซ็นต์ 25 เปอร์เซ็นต์ และ 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร 2.1 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น ที่ความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร โดยใช้สารแทนนิน 0.068 กรัม และใช้น้า 0.017 มิลลิลิตร 2.2 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น ที่ความเข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร โดยใช้สารแทนนิน 0.051 กรัม และใช้น้า 0.034 มิลลิลิตร 2.3 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น ที่ความเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร โดยใช้สารแทนนิน 0.034 กรัม และใช้น้า 0.051 มิลลิลิตร 2.4 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น ที่ความเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร โดยใช้สารแทนนิน 0.017 กรัม และใช้น้า 0.068 มิลลิลิตร 2.5 นาสารสกัดแทนนินที่สกัดได้จากกากชาดา และ กากกาแฟอาราบิก้ามาเตรียมความเข้มข้น ที่ความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตรจานวน 1 มิลลิลิตร
  • 37. วิธีดำเนินกำร (ต่อ) รูปกำรเตรียมควำมเข้มข้น รูปที่ 51 ชั่งมวลสารแทนนิน รูปที่ 52 วัดปริมาตรน้ากลั่น รูปที่ 53 ผสมสารแทนนินในน้ากลั่น จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย เพื่อเตรียมผสมสารละลาย จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย จาก นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย
  • 38. ตอนที่ 3 แช่สำรแทนนินกับไม้ยำงพำรำ โดยใช้เวลำแช่ 1 วัน 3.1 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร 3.2 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร 3.3 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร 3.4 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร 3.5 แช่ไม้ยางพาราลงในสารสกัดแทนนินที่มีความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์ โดยมวล/ปริมาตร รูปที่ 54 การแช่ไม้ยางพารา รูปที่ 55 การแช่ไม้ยางพารา ในสารละลายแทนนินที่สกัดจากกากกาแฟ ในสารละลายแทนนินที่สกัดจากกากชา จาก นายรหัท ตั้งโสภณ จาก นายรหัท ตั้งโสภณ วิธีดำเนินกำร (ต่อ)
  • 39. ตอนที่ 4 ทดสอบ 4.1 ตากแห้งไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินแล้ว เป็นเวลา 1 วัน 4.2 จัดใส่กล่องขนาด 26 เซนติเมตร x 17.5 เซนติเมตร x 6 เซนติเมตร ที่มีการควบคุมให้มี ความชื้น 70เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 4.3 สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไม้ยางพารา โดยดูจากการมีสีที่เปลี่ยนไป การมีเส้นใยเชื้อราเกิดขึ้น หรือไม้ยางพารามีลักษณะผุกร่อน และสังเกตดูทุกหนึ่งสัปดาห์ 4.4 วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล รูปที่ 56 จัดไม้ยางพาราใส่กล่อง เพื่อทาการทดลอง จาก นายรหัท ตั้งโสภณ วิธีดำเนินกำร
  • 40. ตำรำงแสดงกระบวนกำรปฏิบัติงำน ปี 2562 ปี 2563 เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค 1.ศึกษาคุณสมบัติของสารแทนนิน √ 2.ศึกษาวิธีการสกัดสารแทนนิน √ 3. ศึกษาคุณสมบัติกากชา กาแฟ √ √ 4. นาเสนอเค้าโครงโครงงาน √ 5. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง √ √ 6. ลงมือสกัดสารแทนนิน √ √ √ 7. แช่ไม้ยางพารากับสารสกัดจากแทนนินที่สกัดได้ √ 8. ทดสอบประสิทธิภาพในการกันเชื้อรา สังเกตและ สรุปผล √ 9. จัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ √ √ 10. จัดทา poster นาเสนอ √ 11. นาเสนอในงานนิทรรศการ √
  • 41. ภาพที่ 69 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 15 / 11 / 62 ภาพที่ 70 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 71 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 72 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 73 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 74 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 75 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 76 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 77 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร บทที่ 4 ผลกำรทดลอง และวิเครำะห์ผลกำรทดลอง ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง
  • 42. ภาพที่ 78 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 17 / 11 / 62 ภาพที่ 79 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 80 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 81 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 82 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 83 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 84 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 85 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 86 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 43. ภาพที่ 87 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 19 / 11 / 62 ภาพที่ 88 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 89 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 90 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 91 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 92 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 93 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 94 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 95 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 44. ภาพที่ 96 แสดงตัวแปรควบคุม ภาพที่ 97 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 98 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 99 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 100 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 101 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 102 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 103 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 104 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร วันที่ 21 / 11 / 62 ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 45. ภาพที่ 105 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 23 / 11 / 62 ภาพที่ 106 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 107 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 108 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 109 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 110 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 111 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 112 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 113 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 46. ภาพที่ 114 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 25 / 11 / 62 ภาพที่ 115 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 116 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 117 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 118 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 119 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 120 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่121 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 122 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 47. ภาพที่ 123 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 27 / 11 / 62 ภาพที่ 124 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 125 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 126 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 127 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 128 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 129 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่130 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 131 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 48. ภาพที่ 132 แสดงตัวแปรควบคุม วันที่ 29 / 11 / 62 ภาพที่ 133 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 134 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 135 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 136 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากชาดา 100% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 137 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 25% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 138 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 50% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่139 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 75% โดยมวล/ ปริมาตร ภาพที่ 140 แสดงไม้แช่สารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า 100% โดย มวล/ปริมาตร ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ)
  • 49. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) ความเข้มข้นสารแทนนิน(%) ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ 15 พ.ย. 62 17 พ.ย. 62 19 พ.ย. 62 21 พ.ย. 62 23 พ.ย. 62 25 พ.ย. 62 27 พ.ย. 62 29 พ.ย. 62 25% 0.10 0.34 0.70 0.85 1.32 1.90 2.34 2.70 50% 0.09 0.22 0.54 0.73 0.97 1.45 1.71 1.99 75% 0.10 0.13 0.24 0.44 0.55 0.66 0.76 0.78 100% 0.03 0.19 0.19 0.23 0.29 0.34 0.47 0.52 ชุดควบคุม 3.97 4.41 6.28 9.01 10.75 11.91 13.48 14.94 4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดาที่ความเข้มข้นต่างๆ จากตารางข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 100% สามารถ ชะลอการเจริญของเชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 0.52 ประสิทธิภาพ รองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ50% ของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 0.78 และ 1.99 ตามลาดับ
  • 50. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) 4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ) ความเข้มข้นสารแทนนิน (%) ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ 15 พ.ย. 62 17 พ.ย. 62 19 พ.ย. 62 21 พ.ย. 62 23 พ.ย. 62 25 พ.ย. 62 27 พ.ย. 62 29 พ.ย. 62 25% 6.88 7.30 7.60 8.30 8.90 9.78 10.23 11.46 50% 1.13 1.23 1.42 1.57 1.79 2.13 2.18 2.34 75% 0.43 0.53 0.57 0.66 0.86 0.96 1.03 1.14 100% 0.14 0.30 0.38 0.5 0.63 0.74 0.82 1.13 ชุดควบคุม 3.97 4.41 6.28 9.01 10.75 11.91 13.48 14.94 ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้นต่างๆ จากตารางข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้น 100% สามารถ ชะลอการเจริญของเชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 1.13 ประสิทธิภาพ รองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ 50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ ไม้คือ 1.14 และ 2.34 ตามลาดับ
  • 51. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) 4.2 ตำรำงแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ) ความเข้มข้น สารแทนนิน(%) ร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ กากชา กากกาแฟ 25% 1.28 8.81 50% 0.96 1.72 75% 0.46 0.77 100% 0.28 0.58 ชุดควบคุม 9.34 ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงการเปรียบเทียบร้อยละการเจริญของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดา และกากกาแฟ อาราบิก้าที่ความเข้มข้นต่างๆ จากผลการทดลอง พบว่าไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินจากใบชาดา ความเข้มข้น 100% มี ประสิทธิภาพสูงสุดในการชะลอการเจริญของเชื้อรา โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราเฉลี่ยร้อยละ 0.28 ประสิทธิภาพ รองลงมาคือไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจากกากใบชาดา ความเข้มข้น 75% และไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า ความเข้มข้น 100% โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราร้อยละ 0.46 และ 0.58 ตามลาดับ
  • 52. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) 4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง กราฟที่ 4.1 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดา จากกราฟข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากชาดาที่ความเข้มข้น 100% สามารถชะลอการเจริญของเชื้อ รามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 0.52 ประสิทธิภาพรองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนินในกาก ชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 0.78 และ 1.99 ตามลาดับ
  • 53. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) 4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ) กราฟที่ 4.2 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้า จากกราฟข้างต้นพบว่า ความเข้มข้นของสารแทนนินในกากกาแฟอาราบิก้าที่ความเข้มข้น 100% สามารถชะลอการเจริญของ เชื้อรามีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้ คือ 1.13 ประสิทธิภาพรองลงมาคือ ความเข้มข้นของสารแทนนิน ในกากชาดาที่ความเข้มข้น 75% และ 50% มีร้อยละของพื้นที่การขึ้นราต่อพื้นที่ไม้คือ 1.14 และ 2.34 ตามลาดับ
  • 54. ผลและวิเครำะห์ผลกำรทดลอง (ต่อ) 4.3 กรำฟแสดงผลกำรทดลอง (ต่อ) กราฟที่ 4.3 แสดงร้อยละการเจริญเติบโตของเชื้อราในสารละลายแทนนินจากกากชาดาและกากกาแฟ จากผลการทดลอง พบว่าไม้ยางพาราที่แช่ในสารสกัดแทนนินจากใบชาดาความเข้มข้น 100% มีประสิทธิภาพสูงสุดในการชะลอการเจริญของเชื้อ รา โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราเฉลี่ยร้อยละ 0.28 ประสิทธิภาพรองลงมาคือไม้ยางพาราจากสารสกัดแทนนินจากกากใบชาดาความเข้มข้น 75% และไม้ยางพารา จากสารสกัดแทนนินจากกากกาแฟอาราบิก้า ความเข้มข้น 100% โดยมีอัตราการเจริญของเชื้อราร้อยละ 0.46 และ 0.58 ตามลาดับ
  • 55. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลกำรทดลอง และอภิปรำยผลกำรทดลอง 1. จำกกำรศึกษำกำรผลิตไม้ยำงพำรำที่มีประสิทธิภำพในกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ พบว่ำสำรแทนนินมีประสิทธิภำพใน กำรชะลอกำรเจริญเชื้อรำของไม้ยำงพำรำได้จริงเนื่องจำกที่ควำมเข้มข้นร้อยละ100โดยมวลต่อปริมำตรสำมำรถชะลอได้ มำกกว่ำ สอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณ คุณวัชรี ชัยชมภู เรื่อง ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำ คอลเลทโทรทริคั่ม 2. จำกกำรศึกษำวิธีกำรสกัดสำรแทนนินในกำกชำ และกำกกำแฟในกำรป้องกันกำรเจริญเติบโตของเชื้อรำ พบว่ำ สอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ เรื่อง วิธีกำรสกัดสำรสกัดแทนนินจำกใบหูกวำง โดยกำรสกัดแบบไหล ย้อนกลับ พบว่ำมีข้อดีคือ เป็นวิธีกำรที่ไม่ซับซ้อน ใช้เวลำไม่มำก แต่มีข้อเสียคือ ค่ำใช้จ่ำยสูง และสกัดในแต่ละครั้งได้ ปริมำณน้อย
  • 56. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลกำรทดลอง และอภิปรำยผลกำรทดลอง (ต่อ) 3. จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรป้องกันเชื้อรำของไม้ยำงพำรำจำกสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ และกำก กำแฟอำรำบิก้ำ พบว่ำสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำมีประสิทธิภำพในกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำสูงกว่ำสำรสกัดแทน นินจำกกำกกำแฟอำรำบิก้ำที่ทุกควำมเข้มข้นที่เท่ำกัน ซึ่งสอดคล้องกับงำนวิจัย ของดร.นิศำรัตน์ ศิริวัฒนเมธำนนท์ เรื่องผล ของสำรฝำดในใบชำที่มีผลต่อแม่และเด็ก โดยพบว่ำสำรแทนนินในกำกชำสูงกว่ำในกำกกำแฟ 4. จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพกำรชะลอกำรเจริญของเชื้อรำของไม้ยำงพำรำที่ควำมเข้มข้น ต่ำงๆ พบว่ำที่ควำมเข้มข้น 100% ของสำรสกัดแทนนินจำกกำกชำดำ มีประสิทธิภำพสูงสุด โดยมีกำรเจริญของเชื้อรำเพียงร้อยละ 0.52 ซึ่งสอดคล้องกับงำนวิจัยของคุณวัชรี ชัยชมภู เรื่อง ผลของสำรสกัดจำกพืชต่อกำรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อรำคอลเลทโทรทริคั่ม
  • 57. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ(ต่อ) 5.2 ข้อเสนอแนะ 1) ควรใช้สารสกัดแทนนินจากพืชต่างชนิดมากขึ้น เพื่อจะได้เปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินในพืชแต่ละชนิด ได้ว่าพืชชนิดใดมีปริมาณสารแทนนินมากที่สุด 2) ควรทากับไม้หลายชนิดมากขึ้น เพื่อจะได้ยืนยันประสิทธิภาพการชะลอการเจริญเชื้อราของสารแทนนิน 3) ควรเพิ่มระยะเวลาในการแช่ไม้ยางพารามากขึ้น เพื่อศึกษาแนวโน้มในการเจริญของเชื้อรา 4) ควรเตรียมสารสกัดปริมาณมากขึ้น เพื่อสกัดสารแทนนินปริมาณมากขึ้น และสามารถเพิ่มชุดการทดลองได้ หลากหลายขึ้น 5) ควรควบคุมอุณหภูมิ และแสงให้คงที่ตลอดการทดลอง เพื่อลดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลอง 6) ควรศึกษาสายพันธุ์ของเชื้อราที่เกิดขึ้นกับการทดลอง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา
  • 58. “แทนนิน.” พิมเพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2376/tannin-แทนนิน. สืบค้น 25 เมษายน 2562. “สารกันรา หรือ กรดซาลิซิลิค.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/ passaworn571110073/. สืบค้น 25 เมษายน 2562. “รู้ทันสารปนเปื้อนในอาหาร - สารกันรา (กรดซาลิซิลิค).” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.greenshopcafe.com/greennews861.html. สืบค้น 25 เมษายน 2562. “ขยะพลาสติกคือมหันตภัย.” วรากรณ์ สามโกเศศ. 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://thaipublica.org/2018/09/varakorn-263/. สืบค้น 25 เมษายน 2562. “ความชื้นสัมพัทธ์.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.tmd.go.th/info/info.php? FileID=56 สืบค้น 25 เมษายน 2562. ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ “สารสกัดแทนนินจากใบหูกวาง” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=697. สืบค้น 2 มิถุนายน 2562. เอกสำรอ้ำงอิง
  • 59. ศิริวรรณ แก้วเพ็ชร์ “การศึกษาสารสกัดจากพืชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็น สาเหตุการเน่าเสียของเนื้อสัตว์.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.research.rmutt.ac.th/?p=386 สืบค้น 2 มิถุนายน 2562. วัชรี ชัยชมภู “ผลของสารสกัดจากพืชต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อราคอลเลทโทรทริคั่ม.” 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://old.rmutto.ac.th/fileupload/Wannasa%20Balsong6v6-bo3- 53.pdf สืบค้น 2 มิถุนายน 2562. ดร.นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์ “ผลของสารฝาดในใบชาต่อสุขภาพแม่และเด็ก.” 2559. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/knowledge/files/0343.pdf สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2562. เอกสำรอ้ำงอิง (ต่อ)
  • 60. ภำคผนวก ภาพที่ 57 แสดงการเตรียมกากชาดา ที่มานายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 58 แสดงการนากากชาดาไป ตากแดดเพื่อระเหยความชื้นจนกาแฟแห้ง ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 59 แสดงสารแทนนินจาก กากชาที่ได้จากการสกัด ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 61. ภำคผนวก (ต่อ) ภาพที่ 60 แสดงการเตรียม กากกาแฟอาราบิก้า ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 61 แสดงการนากากกาแฟไป ตากแดดเพื่อระเหยความชื้นจนกาแฟแห้ง ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 62 แสดงสารแทนนินจาก กากกาแฟที่ได้จากการสกัด ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 62. ภำคผนวก (ต่อ) ภาพที่ 65 และ 66 แสดงการนาไม้มาทาการทดลอง ที่มา นางสาวเพชรลดา เจริญสกุลไชย ภาพที่ 63 แสดงสารละลายแทนนินจาก กากกาแฟอาราบิก้า ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 64 แสดงสารละลายแทนนินจาก กากชาดา ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ
  • 63. ภำคผนวก (ต่อ) ภาพที่ 67 แสดงการสกัดสารแทนนิน ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ ภาพที่ 68 แสดงการเตรียมสารละลาย ที่มา นายรหัท ตั้งโสภณ