SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
พืชสมุนไพรไทย
สมุนไพร 
หมายถึง ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสาร อื่นตามตารับยา เพื่อบาบัดโรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษหากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่ สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยัง อาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ ของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็น ต้น พืชเหล่านี้ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ
ความหมาย 
คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพร กาเนิดมาจากธรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพ และการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยาสมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยังเป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถูก หั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ในความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึง เฉพาะต้นไม้ที่นามาใช้เป็นยาเท่านั้น 
ความหมาย 
คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการ ส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยา สมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยัง เป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพร มักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ใน ความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะต้นไม้ที่นามาใช้เป็นยาเท่านั้น
ลักษณะ 
พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง 
เชื่อกันอีกด้วยว่าต้นพืชต่างๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมี คุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น 
พืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยาสมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ดังนี้ 
รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ด 
สี มองแล้วเห็นว่าเป็นสีเขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีน้าตาล สีดา 
กลิ่น ให้รู้ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไร 
รส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเย็น 
ชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็นอย่างไร ใบขี้เหล็กเป็น อย่างไร
ประเภทของยาเภสัชวัตถุ 
ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2522 ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัชวัตถุนี้ไว้เป็น 2 ประเภทคือ 
ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมี ปรากฏอยู่ในตารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผนโบราณ หรือ ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตารับยาเป็นยาแผนโบราณยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ ผสมปรุงหรือแปรสภาพสมุนไพรนอกจากจะใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้เตรียมเป็นเครื่องดื่ม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบในเครื่องสาอาง ใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่า แมลงอีกด้วย ในทางตรงกันข้าม มีสมุนไพรจานวนไม่น้อยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรือใช้เกินขนาดจะมีพิษถึง ตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังและใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการตื่นตัวในการนา สมุนไพรมาใช้พัฒนาประเทศมากขึ้น
บทบาททางเศรษฐกิจ 
สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นการนาสมุนไพรมาใช้บาบัดรักษาโรคใน สถานบริการ สาธารณสุขของรัฐมากขึ้น และ ส่งเสริมให้ปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ภายในหมู่บ้านเป็นการสนับสนุนให้มี การใช้สมุนไพรมากยิ่งขึ้น อันเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการสั่งซื้อยาสาเร็จรูป จากต่างประเทศได้ปีละเป็นจานวนมาก
การศึกษาเพิ่มเติม 
ปัจจุบันมีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนายาสมุนไพรให้สามารถนามาใช้ในรูปแบบที่ สะดวกยิ่งขึ้น เช่น นามาบดเป็นผงบรรจุแคปซูล ตอกเป็นยาเม็ด เตรียมเป็นครีมหรือยาขี้ผึ้ง เพื่อใช้ทาภายนอก เป็นต้น ในการศึกษาวิจัยเพื่อนาสมุนไพรมาใช้เป็นยาแผนปัจจุบันนั้น ได้มี การวิจัยอย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกัดสารสาคัญจากสมุนไพรเพื่อให้ได้สารที่บริสุทธิ์ ศึกษาคุณสมบัติทางด้านเคมี ฟิสิกส์ของสารเพื่อให้ทราบว่าเป็นสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธิ์ ด้านเภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองเพื่อดูให้ได้ผลดีในการรักษาโรคหรือไม่เพียงใด ศึกษาความ เป็นพิษและผลข้างเคียง เมื่อพบว่าสารชนิดใดให้ผลในการรักษาที่ดี โดยไม่มีพิษหรือมีพิษ ข้างเคียงน้อยจึงนาสารนั้นมาเตรียมเป็นยารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อทดลองใช้ต่อไป
การเก็บรักษาสมุนไพร 
1.ควรเก็บยาสมุนไพรไว้ในที่แห้งและเย็น สถานที่เก็บสมุนไพรนั้นต้องมีอากาศถ่ายเท สะดวกเพื่อขับไล่ความอับชื้นที่อาจจะก่อให้เกิดเชื้อราในสมุนไพรได้ 
2.สมุนไพรที่จะเก็บรักษานั้นต้องแห้งไม่เปียกชื้น หากเสี่ยงต่อการขึ้นราได้ ควรนาสมุนไพร นั้นออกมาตากแดดอย่างสม่าเสมอ 
3.ในการเก็บสมุนไพรนั้นควรแยกประเภทของสมุนไพรในการรักษาโรค เพื่อป้องกันการ หยิบยาผิดซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้ 
4.ควรตรวจดูความเรียบร้อยในการเก็บสมุนไพรบ่อย ๆ ว่ามีสัตว์หรือแมลงต่าง ๆ เข้าไป ทาลายหรือก่อความเสียหายกับสมุนไพรที่เก็บรักษาหรือไม่ ถ้ามีควรหาทางป้องกันเพื่อ รักษาคุณภาพของสมุนไพร
การใช้สมุนไพรที่ถูกต้อง ควรปฏิบัติดังนี้ 
1. ใช้ให้ถูกต้น สมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซ้ากันมากและบางท้องถิ่นก็เรียกไม่เหมือนกัน จึงต้องรู้จัก สมุนไพร และใช้ให้ถูกต้น 
2.ใช้ให้ถูกส่วน ต้นสมุนไพรไม่ว่าจะเป็นราก ใบ ดอก เปลือก ผล เมล็ด จะมีฤทธิ์ไม่เท่ากัน บางทีผลแก่ ผลอ่อนก็มีฤทธิ์ต่างกันด้วย จะต้องรู้ว่าส่วนใดใช้เป็นยาได้ 
3.ใช้ให้ถูกขนาด สมุนไพรถ้าใช้น้อยไป ก็รักษาไม่ได้ผล แต่ถ้ามากไปก็อาจเป็นอันตราย หรือเกิดพิษ ต่อร่างกายได้ 
4.ใช้ให้ถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดต้องใช้สด บางชนิดต้องปนกับเหล้า บางชนิดใช้ต้มจะต้องรู้วิธีใช้ให้ ถูกต้อง 
5.ใช้ให้ถูกกับโรค เช่น ท้องผูกต้องใช้ยาระบาย ถ้าใช้ยาที่มีฤทธิ์ผาดสมานจะทาให้ท้องผูกยิ่งขึ้น
ว่านหางจระเข้ 
ไม้ล้มลุกใบใหญ่หนาที่ทุกคนรู้จักกันดี แม้ถิ่นกาเนิดจะอยู่ไกลถึงฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา แต่ในประเทศไทยก็มีการปลูกว่านหางจระเข้อย่างแพร่หลาย ซึ่งในตารับยาไทยก็ใช้ ว่านหางจระเข้บาบัดอาการต่าง ๆ ได้มากมาย จนเป็นที่รู้จักว่า เป็นพืชอัศจรรย์ที่มีสรรพคุณ สารพัดประโยชน์ 
โดย "วุ้นในใบสด" สามารถนามาบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ แต่สรรพคุณเด่น ๆ ที่ทุกคน น่าจะรู้จักก็คือ นามาพอกแผลน้าร้อนลวก ไฟไหม้ แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิวที่ ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะอาหาร และช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วย สมานแผล แต่มีข้อแนะนาว่า ก่อนใช้ควรทดสอบดูก่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทาบริเวณ ท้องแขนด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้ นอกจากส่วนวุ้นในใบสดแล้ว ส่วน "ยางในใบ" ก็ สามารถนามาทาเป็นยาระบายได้ และส่วน "เหง้า" ก็นาไปต้มน้ารับประทาน แก้โรคหนองในได้ ด้วย
ขมิ้นชัน 
เรียกกันทั่วไปว่า "ขมิ้น" เป็นไม้ล้มลุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีกลิ่นหอม คน นิยมนา "เหง้า" ทั้งสดและแห้งมาใช้รักษาอาการที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร รวมทั้งแก้ท้องเสีย ท้องร่วง จุกเสียดแน่นท้อง และสามารถนาขมิ้นชันมาทาภายนอก เพื่อใช้รักษาแผลเรื้อรัง แผล สด โรคผิวหนัง พุพอง รักษาชันนะตุได้ด้วย 
นอกจากนั้น "ขมิ้นชัน" ยังอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และสารต้านอนุมูล อิสระ "คูเคอร์มิน" ที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งตับ อีกทั้งยังสร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนัง หรือใคร ที่มีแผลอักเสบ "ขมิ้นชัน" ก็มีสรรพคุณช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น เพราะมีฤทธิ์ไปลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนอง และหากรับประทานขมิ้นชันทุกวัน ตามเวลาจะช่วยให้ ความจาดีขึ้น ไม่อ่อนเพลียยามตื่นนอน และช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้นด้วย
ทองพันชัง 
เป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าไม่ต่างไปจากชื่อ "ทองพันชั่ง" หลายพื้นที่ อาจเรียกว่า "ทองคันชั่ง" หรือ "หญ้ามันไก่" เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ออกดอก สีขาว ส่วนที่ใช้ทายาคือ ใบและราก ที่หากนาปริมาณ 1 กามือมาต้ม รับประทานเช้าเย็น จะช่วยดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง ริดสีดวงทวารหนัก แก้ไอเป็นเลือด ฆ่าพยาธิ นอกจากนั้น ยังสามารถนาใบและรากมาตา ละเอียด เพื่อรักษาโรคกลาก เกลื้อน ได้ด้วย 
นอกจากสรรพคุณข้างต้นแล้ว มีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมพบว่า "ทองพันชั่ง" มีฤทธิ์ยับยั้งมะเร็งเยื่อบุช่องปาก มะเร็งเต้านม และมะเร็ง มดลูกได้ รวมทั้งช่วยขับปัสสาวะ ลดความดันโลหิตสูง แก้ผมร่วง รักษา โรคนิ่ว ฯลฯ แต่ข้อควรระวังคือ ผู้ที่เป็นโรคโลหิตจาง โรคหัวใจ โรคหืด โรคความดันโลหิตต่า โรคมะเร็งในเม็ดเลือด ไม่ควรรับประทาน
ตะไคร้หอม 
ชื่อท้องถิ่น 
ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไครมะขูด คาหอม ไคร จะไคร เซิดเกรย 
ลักษณะพืช 
พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 5-20 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่าง ใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้ม ติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาด ใหญ่ยาวได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้ง ไม่แตก ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้น และใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย 
การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก
มะละกอ 
ชื่ออื่น 
ก้วยลา (ยะลา), แตงต้น (สตูล), มะก้วยเทศ (เหนือ), ลอกอ (ใต้) หมักหุ่ง, มะเต๊ะ (ปัตตานี) 
รูปลักษณะ 
ไม้ยืนต้น สูง 3 - 6 เมตร ไม่มีแก่น ต้นอวบน้า มียางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รอบต้นบริเวณยอดรูปฝ่ามือเว้าเป็น แฉกลึก 7 แฉก ขนาดใหญ่ ดอก มีหลายประเภท คือดอกตัวผู้ ดอกตัวเมีย และดอกสมบูรณ์เพศเป็นดอกเดี่ยว หรือช่อ 2 - 3 ดอก สีนวล 
ผล เป็นผลสด รูปยาวรี ทรงกระบอก หรือกลม เมล็ดสีดา 
สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา 
รากและก้านใบ - ขับปัสสาวะ ยางขาวจากผลดิบมีเอ็นไซม์ย่อยโปรตีน ได้แก่ papain และ chymopapain ใช้ย่อย เนื้อสัตว์ให้เปื่อย นามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง 
ในอุตสาหกรรมยาใช้เอ็นไซม์ผลิตเป็นยาเม็ด ลดอาการบวมการอักเสบจากบาดแผล หรือการผ่าตัด ตาพอกแผล เรื้อรัง ฝีหนอง
ดอกอัญชัน 
ชื่อท้องถิ่น เอื้องชัน (ภาคเหนือ) แดงชัน (เชียงใหม่) 
ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก มีลักษณะเป็นเถาเลื้อยพาดพันตามต้นไม้ใหญ่ต่างๆ ใบเป็นใบ ประกอบออกเรียงสลับกัน มีใบย่อยประมาณ 5-7ใบ ลักษณะกลมโตคล้ายพุทราเนื้อ ใบด้านบนเรียบ ปลายใบมน มีกระดูกใบเห็นได้ชัดเจนดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามข้อ หรือซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ซึ่งมีชนิดดอกชั้นเดียว และดอก 2 ชั้น มีหลายสี ทั้ง สีม่วง สีน้าเงิน และสีขาว ฝักมีขนาดเล็กค่อนข้างแบน มีเมล็ดอยู่ภายใน 
สรรพคุณ 
รากมีรสเย็นจืดใช้เป็นยาขับปัสสาวะพิการเป็นยาระบาย ช่วยบารุงดวงตา แก้ตา อักเสบ ตาฟาง ตาแฉะ โดยนิยมใช้รากต้นอัญชัน ชนิดดอกสีขาว นอกจากนี้ถ้านาราก มาถูฟันจะทาให้ฟันคงทน แข็งแรงและแก้อาการปวดฟันได้ดี เมล็ดใช้เป็นยาระบาย ซึ่งใช้ชนิดดอกสีนาเงินและดอกสีขาว ส่วนดอกสดนามาทาศีรษะเพื่อใช้เป็นยาปลูก ผม
กระเจี๊ยบแดง 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 
ไม้พุ่ม สูง 50-180 ซม. มีหลายพันธุ์ ลาต้นสีม่วงแดง ใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ 3 หรือ 5 แฉก กว้างและยาวใกล้เคียงกัน 8-15 ซม. ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ กลีบดอกสีชมพูหรือเหลืองบริเวณกลางดอกสีม่วงแดง เกสรตัวผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลเป็นผลแห้ง แตกได้ มีกลีบ เลี้ยงสีแดงฉ่าน้าหุ้มไว้ 
สรรพคุณ 
กลีบเลี้ยงของดอก หรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล 
เป็นยาลดไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย 
ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลร้ายแต่อย่างใด 
น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง 
ช่วยรักษาโรคเส้นโลหิตแข็งเปราะได้ดี 
น้ากระเจี๊ยบยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ เป็นการช่วยลดความดันอีกทางหนึ่งช่วยย่อยอาหาร เพราะไม่เพิ่มการหลั่งของกรดในกระเพาะ เพิ่มการหลั่งน้าดีจากตับเป็นเครื่องดื่มที่ช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพราะมีกรดซีตริคอยู่ด้วย 
ใบ แก้โรคพยาธิตัวจี๊ด ยากัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาคอ ให้ลงสู่ทวารหนัก 
ดอก แก้โรคนิ่วในไต แก้โรคนิ่วในกระเพราะปัสสาวะ ขัดเบา ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ขับเมือกในลาไส้ให้ลงสู่ทวาร หนักผล ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายน้า รักษาแผลในกระเพาะเมล็ด บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมัน ในเส้นเลือดนอกจากนี้ได้บ่งสรรพคุณโดยไม่ได้ระบุว่าใช้ส่วนใด ดังนี้คือ แก้อ่อนเพลีย บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ดีพิการ แก้ ปัสสาวะพิการ แก้คอแห้งกระหายน้า แก้ความดันโลหิตสูง กัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาไส้ ลดไขมันในเลือด บารุงโลหิต ลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้โรคเบาหวาน แก้เส้นเลือดตีบตันนอกจากใช้เดี่ยวๆ แล้ว ยังใช้ผสมในตารับยาร่วมกับสมุนไพรอื่น ใช้ ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด
กานพลู 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 9-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นรูปกรวยคว่า แตกกิ่งต่า ลา ต้นตั้งตรง เปลือกเรียบ สีเทา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก รูปรี หรือรูปไข่กลับแคบๆ กว้าง 8-11 ซม. ยาว 32-37 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนเป็นมัน มีต่อมน้ามันมาก เส้น แขนงใบข้างละ 15-20 เส้น กานพลูเป็นพรรณไม้พื้นเมืองของหมู่เกาะโมลุกกะ น้าไปปลูกในเขตร้อนทั่ว โลก ในปะเทศไทยนามาปลูกบ้างแต่ไม่แพร่หลาย ชอบขึ้นในดินร่วนซุย การระบายน้าดี ความชื้นสูง ฝนตกชุก ขึ้นได้ดีบนพื้นที่ราบถึงที่สูงจากระดับน้าทะเล 800-900 เมตร 
ส่วนที่ใช้ เปลือกต้น ใบ ดอกตูม ผล น้ามันหอมระเหยกานพลุ 
สรรพคุณ 
เปลือกต้น - แก้ปวดท้อง แก้ลม คุมธาตุ 
ใบ - แก้ปวดมวนดอกตูม - รับประทานขับลม ใช้แต่งกลิ่น 
ดอกกานพลูแห้ง ที่ยังไม่ได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นหอมจัด มีน้ามันหอมระเหยมาก รสเผ็ด ช่วยขับลม แก้ อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และแน่นจุกเสียด แก้อุจจาระพิการ แก้โรคเหน็บชา แก้หืด แก้ไอ แก้น้าเหลือง เสีย แก้เลือดเสีย ขับน้าคาวปลา แก้ลม แก้ธาตุพิการ บารุงธาตุ ขับเสมหะ แก้เสมหะเหนียว ขับผายลม ขับลมใน ลาไส้ แก้ท้องเสียในเด็ก แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้รามะนาด กับกลิ่นเหล้า แก้ปวดฟัน 
ผล - ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นตัวช่วยให้มีกลิ่นหอม 
น้ามันหอมระเหยกานพลู - ใช้เป็นยาชาเฉพาะแห่ง แก้ปวดฟัน ฆ่าเชื้อทางทันตกรรม เป็นยาระงับการชักกระตุก ทาให้ผิวหนังชา

More Related Content

What's hot

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดMa' Nor
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งMa' Nor
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาAom Warisara
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงGuenu Nam
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionWarakamon Udomsri
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @homePim_sai
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรWaree Wera
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 

What's hot (20)

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดา
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุง
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depression
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @home
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 

Viewers also liked

ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรaemporn gaewkhiew
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยWaree01
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1fruit_jakgrapan
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1Thanggwa Taemin
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมteerarat55
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยRose Banioki
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Viewers also liked (12)

ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1
 
Plant extraction 4 04 2015
Plant extraction  4  04 2015Plant extraction  4  04 2015
Plant extraction 4 04 2015
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริงบรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to พืชสมุนไพร

กลุ่มที่ 33
กลุ่มที่ 33กลุ่มที่ 33
กลุ่มที่ 33Kan Chaya
 
หลักการคิด
หลักการคิด หลักการคิด
หลักการคิด Kan Chaya
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณsekzazo
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
ชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนpolykamon15
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 

Similar to พืชสมุนไพร (20)

กลุ่มที่ 33
กลุ่มที่ 33กลุ่มที่ 33
กลุ่มที่ 33
 
หลักการคิด
หลักการคิด หลักการคิด
หลักการคิด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
7
77
7
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
ชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียนชุดประจำชาติอาเวียน
ชุดประจำชาติอาเวียน
 
Ks ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfbKs ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfb
 
Ks ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfbKs ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfb
 
Ks ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfbKs ghve dxwbfb
Ks ghve dxwbfb
 
2562_computer project
2562_computer project2562_computer project
2562_computer project
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
Thai herbs
Thai herbsThai herbs
Thai herbs
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 

พืชสมุนไพร

  • 2. สมุนไพร หมายถึง ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสาร อื่นตามตารับยา เพื่อบาบัดโรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษหากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่ สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยัง อาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ ของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็น ต้น พืชเหล่านี้ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ
  • 3. ความหมาย คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพร กาเนิดมาจากธรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพ และการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยาสมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยังเป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถูก หั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ในความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึง เฉพาะต้นไม้ที่นามาใช้เป็นยาเท่านั้น ความหมาย คาว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการ ส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยา สมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยัง เป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพร มักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ใน ความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะต้นไม้ที่นามาใช้เป็นยาเท่านั้น
  • 4. ลักษณะ พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่าต้นพืชต่างๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมี คุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น พืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยาสมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ดังนี้ รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ด สี มองแล้วเห็นว่าเป็นสีเขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีน้าตาล สีดา กลิ่น ให้รู้ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไร รส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเย็น ชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็นอย่างไร ใบขี้เหล็กเป็น อย่างไร
  • 5. ประเภทของยาเภสัชวัตถุ ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2522 ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัชวัตถุนี้ไว้เป็น 2 ประเภทคือ ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมี ปรากฏอยู่ในตารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผนโบราณ หรือ ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตารับยาเป็นยาแผนโบราณยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ ผสมปรุงหรือแปรสภาพสมุนไพรนอกจากจะใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้เตรียมเป็นเครื่องดื่ม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบในเครื่องสาอาง ใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่า แมลงอีกด้วย ในทางตรงกันข้าม มีสมุนไพรจานวนไม่น้อยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรือใช้เกินขนาดจะมีพิษถึง ตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังและใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการตื่นตัวในการนา สมุนไพรมาใช้พัฒนาประเทศมากขึ้น
  • 6. บทบาททางเศรษฐกิจ สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นการนาสมุนไพรมาใช้บาบัดรักษาโรคใน สถานบริการ สาธารณสุขของรัฐมากขึ้น และ ส่งเสริมให้ปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ภายในหมู่บ้านเป็นการสนับสนุนให้มี การใช้สมุนไพรมากยิ่งขึ้น อันเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการสั่งซื้อยาสาเร็จรูป จากต่างประเทศได้ปีละเป็นจานวนมาก
  • 7. การศึกษาเพิ่มเติม ปัจจุบันมีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนายาสมุนไพรให้สามารถนามาใช้ในรูปแบบที่ สะดวกยิ่งขึ้น เช่น นามาบดเป็นผงบรรจุแคปซูล ตอกเป็นยาเม็ด เตรียมเป็นครีมหรือยาขี้ผึ้ง เพื่อใช้ทาภายนอก เป็นต้น ในการศึกษาวิจัยเพื่อนาสมุนไพรมาใช้เป็นยาแผนปัจจุบันนั้น ได้มี การวิจัยอย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกัดสารสาคัญจากสมุนไพรเพื่อให้ได้สารที่บริสุทธิ์ ศึกษาคุณสมบัติทางด้านเคมี ฟิสิกส์ของสารเพื่อให้ทราบว่าเป็นสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธิ์ ด้านเภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองเพื่อดูให้ได้ผลดีในการรักษาโรคหรือไม่เพียงใด ศึกษาความ เป็นพิษและผลข้างเคียง เมื่อพบว่าสารชนิดใดให้ผลในการรักษาที่ดี โดยไม่มีพิษหรือมีพิษ ข้างเคียงน้อยจึงนาสารนั้นมาเตรียมเป็นยารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อทดลองใช้ต่อไป
  • 8. การเก็บรักษาสมุนไพร 1.ควรเก็บยาสมุนไพรไว้ในที่แห้งและเย็น สถานที่เก็บสมุนไพรนั้นต้องมีอากาศถ่ายเท สะดวกเพื่อขับไล่ความอับชื้นที่อาจจะก่อให้เกิดเชื้อราในสมุนไพรได้ 2.สมุนไพรที่จะเก็บรักษานั้นต้องแห้งไม่เปียกชื้น หากเสี่ยงต่อการขึ้นราได้ ควรนาสมุนไพร นั้นออกมาตากแดดอย่างสม่าเสมอ 3.ในการเก็บสมุนไพรนั้นควรแยกประเภทของสมุนไพรในการรักษาโรค เพื่อป้องกันการ หยิบยาผิดซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้ 4.ควรตรวจดูความเรียบร้อยในการเก็บสมุนไพรบ่อย ๆ ว่ามีสัตว์หรือแมลงต่าง ๆ เข้าไป ทาลายหรือก่อความเสียหายกับสมุนไพรที่เก็บรักษาหรือไม่ ถ้ามีควรหาทางป้องกันเพื่อ รักษาคุณภาพของสมุนไพร
  • 9. การใช้สมุนไพรที่ถูกต้อง ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ใช้ให้ถูกต้น สมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซ้ากันมากและบางท้องถิ่นก็เรียกไม่เหมือนกัน จึงต้องรู้จัก สมุนไพร และใช้ให้ถูกต้น 2.ใช้ให้ถูกส่วน ต้นสมุนไพรไม่ว่าจะเป็นราก ใบ ดอก เปลือก ผล เมล็ด จะมีฤทธิ์ไม่เท่ากัน บางทีผลแก่ ผลอ่อนก็มีฤทธิ์ต่างกันด้วย จะต้องรู้ว่าส่วนใดใช้เป็นยาได้ 3.ใช้ให้ถูกขนาด สมุนไพรถ้าใช้น้อยไป ก็รักษาไม่ได้ผล แต่ถ้ามากไปก็อาจเป็นอันตราย หรือเกิดพิษ ต่อร่างกายได้ 4.ใช้ให้ถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดต้องใช้สด บางชนิดต้องปนกับเหล้า บางชนิดใช้ต้มจะต้องรู้วิธีใช้ให้ ถูกต้อง 5.ใช้ให้ถูกกับโรค เช่น ท้องผูกต้องใช้ยาระบาย ถ้าใช้ยาที่มีฤทธิ์ผาดสมานจะทาให้ท้องผูกยิ่งขึ้น
  • 10.
  • 11. ว่านหางจระเข้ ไม้ล้มลุกใบใหญ่หนาที่ทุกคนรู้จักกันดี แม้ถิ่นกาเนิดจะอยู่ไกลถึงฝั่งเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา แต่ในประเทศไทยก็มีการปลูกว่านหางจระเข้อย่างแพร่หลาย ซึ่งในตารับยาไทยก็ใช้ ว่านหางจระเข้บาบัดอาการต่าง ๆ ได้มากมาย จนเป็นที่รู้จักว่า เป็นพืชอัศจรรย์ที่มีสรรพคุณ สารพัดประโยชน์ โดย "วุ้นในใบสด" สามารถนามาบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ แต่สรรพคุณเด่น ๆ ที่ทุกคน น่าจะรู้จักก็คือ นามาพอกแผลน้าร้อนลวก ไฟไหม้ แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิวที่ ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะอาหาร และช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วย สมานแผล แต่มีข้อแนะนาว่า ก่อนใช้ควรทดสอบดูก่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทาบริเวณ ท้องแขนด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้ นอกจากส่วนวุ้นในใบสดแล้ว ส่วน "ยางในใบ" ก็ สามารถนามาทาเป็นยาระบายได้ และส่วน "เหง้า" ก็นาไปต้มน้ารับประทาน แก้โรคหนองในได้ ด้วย
  • 12. ขมิ้นชัน เรียกกันทั่วไปว่า "ขมิ้น" เป็นไม้ล้มลุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีกลิ่นหอม คน นิยมนา "เหง้า" ทั้งสดและแห้งมาใช้รักษาอาการที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร รวมทั้งแก้ท้องเสีย ท้องร่วง จุกเสียดแน่นท้อง และสามารถนาขมิ้นชันมาทาภายนอก เพื่อใช้รักษาแผลเรื้อรัง แผล สด โรคผิวหนัง พุพอง รักษาชันนะตุได้ด้วย นอกจากนั้น "ขมิ้นชัน" ยังอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และสารต้านอนุมูล อิสระ "คูเคอร์มิน" ที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งตับ อีกทั้งยังสร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนัง หรือใคร ที่มีแผลอักเสบ "ขมิ้นชัน" ก็มีสรรพคุณช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น เพราะมีฤทธิ์ไปลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนอง และหากรับประทานขมิ้นชันทุกวัน ตามเวลาจะช่วยให้ ความจาดีขึ้น ไม่อ่อนเพลียยามตื่นนอน และช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้นด้วย
  • 13. ทองพันชัง เป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าไม่ต่างไปจากชื่อ "ทองพันชั่ง" หลายพื้นที่ อาจเรียกว่า "ทองคันชั่ง" หรือ "หญ้ามันไก่" เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ออกดอก สีขาว ส่วนที่ใช้ทายาคือ ใบและราก ที่หากนาปริมาณ 1 กามือมาต้ม รับประทานเช้าเย็น จะช่วยดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง ริดสีดวงทวารหนัก แก้ไอเป็นเลือด ฆ่าพยาธิ นอกจากนั้น ยังสามารถนาใบและรากมาตา ละเอียด เพื่อรักษาโรคกลาก เกลื้อน ได้ด้วย นอกจากสรรพคุณข้างต้นแล้ว มีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมพบว่า "ทองพันชั่ง" มีฤทธิ์ยับยั้งมะเร็งเยื่อบุช่องปาก มะเร็งเต้านม และมะเร็ง มดลูกได้ รวมทั้งช่วยขับปัสสาวะ ลดความดันโลหิตสูง แก้ผมร่วง รักษา โรคนิ่ว ฯลฯ แต่ข้อควรระวังคือ ผู้ที่เป็นโรคโลหิตจาง โรคหัวใจ โรคหืด โรคความดันโลหิตต่า โรคมะเร็งในเม็ดเลือด ไม่ควรรับประทาน
  • 14. ตะไคร้หอม ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไครมะขูด คาหอม ไคร จะไคร เซิดเกรย ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 5-20 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่าง ใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้ม ติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาด ใหญ่ยาวได้ถึง 80 ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่ ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5 ช่อ ผลแห้ง ไม่แตก ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้น และใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก
  • 15. มะละกอ ชื่ออื่น ก้วยลา (ยะลา), แตงต้น (สตูล), มะก้วยเทศ (เหนือ), ลอกอ (ใต้) หมักหุ่ง, มะเต๊ะ (ปัตตานี) รูปลักษณะ ไม้ยืนต้น สูง 3 - 6 เมตร ไม่มีแก่น ต้นอวบน้า มียางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รอบต้นบริเวณยอดรูปฝ่ามือเว้าเป็น แฉกลึก 7 แฉก ขนาดใหญ่ ดอก มีหลายประเภท คือดอกตัวผู้ ดอกตัวเมีย และดอกสมบูรณ์เพศเป็นดอกเดี่ยว หรือช่อ 2 - 3 ดอก สีนวล ผล เป็นผลสด รูปยาวรี ทรงกระบอก หรือกลม เมล็ดสีดา สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา รากและก้านใบ - ขับปัสสาวะ ยางขาวจากผลดิบมีเอ็นไซม์ย่อยโปรตีน ได้แก่ papain และ chymopapain ใช้ย่อย เนื้อสัตว์ให้เปื่อย นามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง ในอุตสาหกรรมยาใช้เอ็นไซม์ผลิตเป็นยาเม็ด ลดอาการบวมการอักเสบจากบาดแผล หรือการผ่าตัด ตาพอกแผล เรื้อรัง ฝีหนอง
  • 16. ดอกอัญชัน ชื่อท้องถิ่น เอื้องชัน (ภาคเหนือ) แดงชัน (เชียงใหม่) ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก มีลักษณะเป็นเถาเลื้อยพาดพันตามต้นไม้ใหญ่ต่างๆ ใบเป็นใบ ประกอบออกเรียงสลับกัน มีใบย่อยประมาณ 5-7ใบ ลักษณะกลมโตคล้ายพุทราเนื้อ ใบด้านบนเรียบ ปลายใบมน มีกระดูกใบเห็นได้ชัดเจนดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามข้อ หรือซอกใบ ลักษณะคล้ายดอกถั่ว ซึ่งมีชนิดดอกชั้นเดียว และดอก 2 ชั้น มีหลายสี ทั้ง สีม่วง สีน้าเงิน และสีขาว ฝักมีขนาดเล็กค่อนข้างแบน มีเมล็ดอยู่ภายใน สรรพคุณ รากมีรสเย็นจืดใช้เป็นยาขับปัสสาวะพิการเป็นยาระบาย ช่วยบารุงดวงตา แก้ตา อักเสบ ตาฟาง ตาแฉะ โดยนิยมใช้รากต้นอัญชัน ชนิดดอกสีขาว นอกจากนี้ถ้านาราก มาถูฟันจะทาให้ฟันคงทน แข็งแรงและแก้อาการปวดฟันได้ดี เมล็ดใช้เป็นยาระบาย ซึ่งใช้ชนิดดอกสีนาเงินและดอกสีขาว ส่วนดอกสดนามาทาศีรษะเพื่อใช้เป็นยาปลูก ผม
  • 17. กระเจี๊ยบแดง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่ม สูง 50-180 ซม. มีหลายพันธุ์ ลาต้นสีม่วงแดง ใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ 3 หรือ 5 แฉก กว้างและยาวใกล้เคียงกัน 8-15 ซม. ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ กลีบดอกสีชมพูหรือเหลืองบริเวณกลางดอกสีม่วงแดง เกสรตัวผู้เชื่อมกันเป็นหลอด ผลเป็นผลแห้ง แตกได้ มีกลีบ เลี้ยงสีแดงฉ่าน้าหุ้มไว้ สรรพคุณ กลีบเลี้ยงของดอก หรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล เป็นยาลดไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลร้ายแต่อย่างใด น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง ช่วยรักษาโรคเส้นโลหิตแข็งเปราะได้ดี น้ากระเจี๊ยบยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ เป็นการช่วยลดความดันอีกทางหนึ่งช่วยย่อยอาหาร เพราะไม่เพิ่มการหลั่งของกรดในกระเพาะ เพิ่มการหลั่งน้าดีจากตับเป็นเครื่องดื่มที่ช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพราะมีกรดซีตริคอยู่ด้วย ใบ แก้โรคพยาธิตัวจี๊ด ยากัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาคอ ให้ลงสู่ทวารหนัก ดอก แก้โรคนิ่วในไต แก้โรคนิ่วในกระเพราะปัสสาวะ ขัดเบา ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ขับเมือกในลาไส้ให้ลงสู่ทวาร หนักผล ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายน้า รักษาแผลในกระเพาะเมล็ด บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมัน ในเส้นเลือดนอกจากนี้ได้บ่งสรรพคุณโดยไม่ได้ระบุว่าใช้ส่วนใด ดังนี้คือ แก้อ่อนเพลีย บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ดีพิการ แก้ ปัสสาวะพิการ แก้คอแห้งกระหายน้า แก้ความดันโลหิตสูง กัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาไส้ ลดไขมันในเลือด บารุงโลหิต ลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้โรคเบาหวาน แก้เส้นเลือดตีบตันนอกจากใช้เดี่ยวๆ แล้ว ยังใช้ผสมในตารับยาร่วมกับสมุนไพรอื่น ใช้ ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด
  • 18. กานพลู ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 9-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นรูปกรวยคว่า แตกกิ่งต่า ลา ต้นตั้งตรง เปลือกเรียบ สีเทา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก รูปรี หรือรูปไข่กลับแคบๆ กว้าง 8-11 ซม. ยาว 32-37 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนเป็นมัน มีต่อมน้ามันมาก เส้น แขนงใบข้างละ 15-20 เส้น กานพลูเป็นพรรณไม้พื้นเมืองของหมู่เกาะโมลุกกะ น้าไปปลูกในเขตร้อนทั่ว โลก ในปะเทศไทยนามาปลูกบ้างแต่ไม่แพร่หลาย ชอบขึ้นในดินร่วนซุย การระบายน้าดี ความชื้นสูง ฝนตกชุก ขึ้นได้ดีบนพื้นที่ราบถึงที่สูงจากระดับน้าทะเล 800-900 เมตร ส่วนที่ใช้ เปลือกต้น ใบ ดอกตูม ผล น้ามันหอมระเหยกานพลุ สรรพคุณ เปลือกต้น - แก้ปวดท้อง แก้ลม คุมธาตุ ใบ - แก้ปวดมวนดอกตูม - รับประทานขับลม ใช้แต่งกลิ่น ดอกกานพลูแห้ง ที่ยังไม่ได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นหอมจัด มีน้ามันหอมระเหยมาก รสเผ็ด ช่วยขับลม แก้ อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และแน่นจุกเสียด แก้อุจจาระพิการ แก้โรคเหน็บชา แก้หืด แก้ไอ แก้น้าเหลือง เสีย แก้เลือดเสีย ขับน้าคาวปลา แก้ลม แก้ธาตุพิการ บารุงธาตุ ขับเสมหะ แก้เสมหะเหนียว ขับผายลม ขับลมใน ลาไส้ แก้ท้องเสียในเด็ก แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้รามะนาด กับกลิ่นเหล้า แก้ปวดฟัน ผล - ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นตัวช่วยให้มีกลิ่นหอม น้ามันหอมระเหยกานพลู - ใช้เป็นยาชาเฉพาะแห่ง แก้ปวดฟัน ฆ่าเชื้อทางทันตกรรม เป็นยาระงับการชักกระตุก ทาให้ผิวหนังชา