SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลาย
ทางพันธุกรรมของพืช
พลู Piper betel Linn.
กลุ่ม 5 ห้อง 825
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว30243)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คุณครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สมาชิก กลุ่ม 5 ห้อง 825
นาย ทัพพ์ศตาํุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36
นาย น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38
นาย ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42
นาย อรรณพ สาทถาพร เลขที่ 48
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 825
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นพลูเป็น
การบูรณาการรายชีวะวิทยากับสวนพฤกษศาสตร์ อนึ่งข้อมูลของต้นพลูจะประกอบไปด้วยชื่อ
วิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์โดยสังเขปและประโยชน์ในด้านต่างๆของต้น
พลู
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่านางานนาเสนอนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนและ
บุคคลที่มีความสนใจในหัวข้อนี้ไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทา
1. ทัพพ์ศตาญุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36
2. น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38
3. ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42
4. นายออรณพ สาทถาพร เลขที่ 48
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
คุณครูผู้สอน 1
สมาชิกกลุ่ม 2
คานา 3
สารบัญ 4
บทนาพลู 5
ส่วนประกอบของพลู 6-9
สรรพคุณของพลู 10-11
ภาคผนวก 12-14
กิตกรรมประกาศ 15
อ้างอิง 16
ขอบคุณ 17
พลู
การจัดหมวดหมู่ทางอนุกรมวิธาน
ชื่อสามัญ : betel piper
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper betel
Linn.
สปีชี่ส์ : P. betel
สกุล : piper
อันดับ : Piperales
วงศ์ : Piperaceae
อาณาจักร : plantae
ชื่อท้องถิ่น : พลูจีน , เปล้าอ้วน , ซีเก๊าะ , ปู
, ดื่อเจี่ย
ลาต้นพลู
ลาต้นของพลู เป็นปล้อง
และมีข้อ ขนาดลาต้น 2.5-
5 ซม. ลาต้นมีลักษณะอวบ
น้า และมีร่องเล็กๆสี
น้าตาลอมแดงตามแนวยาว
ของลาต้น สันร่องมีสีเขียว
โดยลาต้นส่วนปลายจะมีสี
เขียว ส่วนลาต้นส่วนต้น
จะมีสีเขียวอมเทา
ส่วนประกอบ
ใบต้นพลู ใบพลู เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีรูปไข่
หรือรูปวงกลมแกมรูปไข่ ใบกว้าง 4-10 ซม.
ยาว 5-18 ซม. ผิวใบเรียบ ผิวใบด้านบนมีสี
เขียวเข้มมากกว่าด้านล่าง ใบเป็นร่องบุ๋มด้าน
ใบ มีเส้นใบประมาณ 5-7 เส้น โคนใบมี
ลักษณะกลมเบี้ยวหรือมีลักษณะเป็นรูปหัวใจ
ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม มีเส้นใบนูน
เด่น ใบอ่อนมีสีเหลืองอ่อน และค่อยๆ
เปลี่ยนเป็นสีเขียวอ่อนและสีเขียวเข้ม เมื่อแก่
เต็มที่จะมีสีเหลือง เนื้อใบค่อนข้างหนา เป็น
มัน และมีกลิ่นฉุน ใบด้านล่างมักมีขนาดใหญ่
กว่าใบด้านบน
ส่วนประกอบ
รากต้นพลู
พลูประกอบด้วยราก 2 ชนิด คือ รากหา
อาหาร และรากยึดเกาะ โดยรากยึดเกาะ
บางครั้งเรียกว่า รากตุ๊กแก แตกออกตามข้อ
ของลาต้นเพื่อยึดเกาะวัสดุสาหรับช่วยพยุง
ลาต้นเลื้อยขึ้นที่สูงได้และทาให้ลาต้นไม่
หลุดร่วงลงสู่พื้นได้ง่าย ส่วนรากใต้ดิน
ประกอบด้วยรากขนาดใหญ่ และรากแขนง
ที่แตกออกเป็นวงกว้างตามขนาดทรงพุ่ม
ส่วนประกอบ
ดอกของต้นพลู
ดอกพลู มีสีขาว มีลักษณะเป็นช่อ ช่อดอกแบ่งเพศกันอยู่คนละต้น
ประกอบด้วยช่อดอกตัวเมีย และดอกตัวผู้มีใบประดับดอกขนาดเล็กรูปวงกลม
ช่อดอกตัวผู้ยาว 2-12 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1.5-3 ซม. ประกอบด้วยเกสรตัวผู้ 2
อัน มีขนาดสั้นมาก ส่วนช่อดอกตัวเมียมีความยาวเท่ากับช่อดอกตัวผู้แต่มีก้าน
ช่อดอกยาวกว่า ดอกมักบานไม่พร้อมกัน จึงทาให้ไม่ค่อยพบเห็นผลของพลู
เพราะมีโอกาสผสมเกสรน้อย
ส่วนประกอบ
สรรพคุณ
ใบ เป็นยากระตุ้นน้าลาย ขับเสมหะ ขับเหงื่อ แก้ปวดท้อง (ที่มีอาการเย็นบริเวณท้อง) ปวดท้องเพราะพยาธิ เป็นยาฆ่าเชื้อและแก้
ลมพิษ น้ามันจากใบ ทาให้ผิวหนังร้อนแดง แก้คัดจมูก และใช้ทาเป็น ยาอมกลั้วคอแก้เจ็บคอ
ตารับยาและวิธีใช้
1. ใช้ใบสด 3-5 กรัม ต้มน้ากินสาหรับอาการปวดท้อง
2. แก้ลมพิษ ใช้ใบสดตาผสมเหล้าทา
ผลทางเภสัชวิทยา
1. น้ามันพลู ที่ความเข้มข้นต่างๆกันสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียต่างๆ ได้เช่น ในความเข้นข้น
1 : 5,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้อวัณโรค Mycobacterium tuberculosis
1 : 4,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้ออหิวาต์ Vibrio cholerae
1 : 3,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้อทัยฟอยด์ Salmonella typhosum และเชื้อบbดไม่มีตัว Shigella fiexneri
1 : 2,000 ยับยั้งการเจริญของ Escherichiacoli และ Microccccus pyogenes var. aureus
น้ามันพลูมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและแกรมลบ เช่น Micrococcus pyogenes var. albus, M. pyogenes var.
aureus, Ba¬cillus subtilis,B. megaterium, Diplococcus pneumoniae, Escherichiacoli ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อรา เช่น
Aspergillus niger, A. oryzae และ Fusarium oxysporum ฤทธิ์เหล่านี้เข้าใจว่าเกิดจากสารชาวิคอล (chavicol)
ผลทางเภสัชวิทยา
2. มีฤทธิ์ฆ่าสัตว์เซลล์เดียว (Protozoa caudatum) ในหลอด ทดลอง นอกจากนี้มีฤทธิ์ฆ่าพยาธิไส้เดือน มีการทดลองกับ
ไส้เดือนดิน พบว่าน้ามันพลูมีฤทธิ์แรงเท่ากับน้ามันชีโนโพเดียม (chenopodium oil) สามารถฆ่าไส้เดือนดินได้และยังใช้เป็นยาฆ่า
แมลงได้อีกด้วย
3. ฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต เมื่อใช้ปริมาณน้อยกับสุนัขที่ วางยาสลบ ทาให้ความดันโลหิตลดลงชั่วคราวถึงแม้ว่า
ทาการตัดเส้นประสาท เวกัส (vagotomy) หรือให้ยาอะโทรปีน (atropine) แก่สุนัขแล้ว ฤทธิ์ก็ยังคงมีอยู่ ถ้าใช้ปริมาณมากฤทธิ์ใน
การลดความดันโลหิตจะอยู่เป็นเวลานาน และการหายใจจะถูกกระตุ้นก่อนแล้วจะหยุดลงทันทีทันใด
4. มีฤทธิ์ยับยั้งการบีบและการคลายตัวตลอดจนการเต้นของหัวใจ ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
5. ฤทธิ์ต่อมดลูกและลาไส้ มีฤทธิ์ทาให้มดลูกและลาไส้ของหนู ขาว และกระต่ายที่ทดลองนอกร่างกายคลายตัว และ
ยับยั้งการบีบตัวที่เกิดจากการใช้อะเซทิลโฆลีน (acetylcholine) หรือแบเรี่ยม คลอไรด์ (barium chloride) ด้วย
เมื่อฉีดน้ามันพลูเข้าหลอดเลือดดาจะทาให้ลาไส้เล็กคลายตัว นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางของหนูขาวและหนูถีบจักร
น้ามันพลู มีฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังและเนื้อเยื่อของกระต่าย และหนูตะเภา ถ้าฉีดเข้ากล้ามหรือใต้ผิวหนังจะทาให้อักเสบได้
สรรพคุณ
ภาคผนวก
เก็บตัวอย่างสดต้นพลูบริเวณหลังตึก 60
ขั้นตอนการเก็บรักษาตัวอย่างพืช
ภาคผนวก
การตรวจติดตาม
ภาคผนวก
โครงงานเฮอร์บาเรียมนี้จะไม่สาเร็จเลยถ้าขาดความร่วมมือจากคุณครู
วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาชีววิทยาที่ช่วยให้คาแนะนา แนะแนว
และชี้แนะในการทาโครงงานนี้ทั้งนี้ก็หวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อไปแก่ผู้อื่นไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
1. ทัพพ์ศตาญุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36
2. น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38
3. ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42
4. นายออรณพ สาทถาพร เลขที่ 48
กิตติกรรมประกาศ
อ้างอิง
� http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%
AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E
0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8
%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%
E0%B8%A5%E0%B8%B9/
สรรพคุณของพลู
� https://puechkaset.com/%E0%B8%9E%E0
%B8%A5%E0%B8%B9/
ข้อมูลของพลู
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot (20)

652 pre12
652 pre12652 pre12
652 pre12
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
656 pre4
656 pre4656 pre4
656 pre4
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
656 pre5
656 pre5656 pre5
656 pre5
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 

Similar to Herbarium

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.PunyanuchChaomanadec
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 

Similar to Herbarium (20)

Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
Herbarium group 7 room 815: Garcinia cowa Roxb.
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 

Herbarium

  • 1. งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลาย ทางพันธุกรรมของพืช พลู Piper betel Linn. กลุ่ม 5 ห้อง 825 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว30243) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. คุณครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 3. สมาชิก กลุ่ม 5 ห้อง 825 นาย ทัพพ์ศตาํุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36 นาย น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38 นาย ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42 นาย อรรณพ สาทถาพร เลขที่ 48
  • 4. คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา (ว30243) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 825 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นพลูเป็น การบูรณาการรายชีวะวิทยากับสวนพฤกษศาสตร์ อนึ่งข้อมูลของต้นพลูจะประกอบไปด้วยชื่อ วิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์โดยสังเขปและประโยชน์ในด้านต่างๆของต้น พลู คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่านางานนาเสนอนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนและ บุคคลที่มีความสนใจในหัวข้อนี้ไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา 1. ทัพพ์ศตาญุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36 2. น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38 3. ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42 4. นายออรณพ สาทถาพร เลขที่ 48
  • 5. สารบัญ หัวข้อ หน้า คุณครูผู้สอน 1 สมาชิกกลุ่ม 2 คานา 3 สารบัญ 4 บทนาพลู 5 ส่วนประกอบของพลู 6-9 สรรพคุณของพลู 10-11 ภาคผนวก 12-14 กิตกรรมประกาศ 15 อ้างอิง 16 ขอบคุณ 17
  • 6. พลู การจัดหมวดหมู่ทางอนุกรมวิธาน ชื่อสามัญ : betel piper ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper betel Linn. สปีชี่ส์ : P. betel สกุล : piper อันดับ : Piperales วงศ์ : Piperaceae อาณาจักร : plantae ชื่อท้องถิ่น : พลูจีน , เปล้าอ้วน , ซีเก๊าะ , ปู , ดื่อเจี่ย
  • 7. ลาต้นพลู ลาต้นของพลู เป็นปล้อง และมีข้อ ขนาดลาต้น 2.5- 5 ซม. ลาต้นมีลักษณะอวบ น้า และมีร่องเล็กๆสี น้าตาลอมแดงตามแนวยาว ของลาต้น สันร่องมีสีเขียว โดยลาต้นส่วนปลายจะมีสี เขียว ส่วนลาต้นส่วนต้น จะมีสีเขียวอมเทา ส่วนประกอบ
  • 8. ใบต้นพลู ใบพลู เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีรูปไข่ หรือรูปวงกลมแกมรูปไข่ ใบกว้าง 4-10 ซม. ยาว 5-18 ซม. ผิวใบเรียบ ผิวใบด้านบนมีสี เขียวเข้มมากกว่าด้านล่าง ใบเป็นร่องบุ๋มด้าน ใบ มีเส้นใบประมาณ 5-7 เส้น โคนใบมี ลักษณะกลมเบี้ยวหรือมีลักษณะเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม มีเส้นใบนูน เด่น ใบอ่อนมีสีเหลืองอ่อน และค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเขียวอ่อนและสีเขียวเข้ม เมื่อแก่ เต็มที่จะมีสีเหลือง เนื้อใบค่อนข้างหนา เป็น มัน และมีกลิ่นฉุน ใบด้านล่างมักมีขนาดใหญ่ กว่าใบด้านบน ส่วนประกอบ
  • 9. รากต้นพลู พลูประกอบด้วยราก 2 ชนิด คือ รากหา อาหาร และรากยึดเกาะ โดยรากยึดเกาะ บางครั้งเรียกว่า รากตุ๊กแก แตกออกตามข้อ ของลาต้นเพื่อยึดเกาะวัสดุสาหรับช่วยพยุง ลาต้นเลื้อยขึ้นที่สูงได้และทาให้ลาต้นไม่ หลุดร่วงลงสู่พื้นได้ง่าย ส่วนรากใต้ดิน ประกอบด้วยรากขนาดใหญ่ และรากแขนง ที่แตกออกเป็นวงกว้างตามขนาดทรงพุ่ม ส่วนประกอบ
  • 10. ดอกของต้นพลู ดอกพลู มีสีขาว มีลักษณะเป็นช่อ ช่อดอกแบ่งเพศกันอยู่คนละต้น ประกอบด้วยช่อดอกตัวเมีย และดอกตัวผู้มีใบประดับดอกขนาดเล็กรูปวงกลม ช่อดอกตัวผู้ยาว 2-12 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1.5-3 ซม. ประกอบด้วยเกสรตัวผู้ 2 อัน มีขนาดสั้นมาก ส่วนช่อดอกตัวเมียมีความยาวเท่ากับช่อดอกตัวผู้แต่มีก้าน ช่อดอกยาวกว่า ดอกมักบานไม่พร้อมกัน จึงทาให้ไม่ค่อยพบเห็นผลของพลู เพราะมีโอกาสผสมเกสรน้อย ส่วนประกอบ
  • 11. สรรพคุณ ใบ เป็นยากระตุ้นน้าลาย ขับเสมหะ ขับเหงื่อ แก้ปวดท้อง (ที่มีอาการเย็นบริเวณท้อง) ปวดท้องเพราะพยาธิ เป็นยาฆ่าเชื้อและแก้ ลมพิษ น้ามันจากใบ ทาให้ผิวหนังร้อนแดง แก้คัดจมูก และใช้ทาเป็น ยาอมกลั้วคอแก้เจ็บคอ ตารับยาและวิธีใช้ 1. ใช้ใบสด 3-5 กรัม ต้มน้ากินสาหรับอาการปวดท้อง 2. แก้ลมพิษ ใช้ใบสดตาผสมเหล้าทา ผลทางเภสัชวิทยา 1. น้ามันพลู ที่ความเข้มข้นต่างๆกันสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียต่างๆ ได้เช่น ในความเข้นข้น 1 : 5,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้อวัณโรค Mycobacterium tuberculosis 1 : 4,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้ออหิวาต์ Vibrio cholerae 1 : 3,000 ยับยั้งการเจริญของเชื้อทัยฟอยด์ Salmonella typhosum และเชื้อบbดไม่มีตัว Shigella fiexneri 1 : 2,000 ยับยั้งการเจริญของ Escherichiacoli และ Microccccus pyogenes var. aureus น้ามันพลูมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและแกรมลบ เช่น Micrococcus pyogenes var. albus, M. pyogenes var. aureus, Ba¬cillus subtilis,B. megaterium, Diplococcus pneumoniae, Escherichiacoli ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อรา เช่น Aspergillus niger, A. oryzae และ Fusarium oxysporum ฤทธิ์เหล่านี้เข้าใจว่าเกิดจากสารชาวิคอล (chavicol)
  • 12. ผลทางเภสัชวิทยา 2. มีฤทธิ์ฆ่าสัตว์เซลล์เดียว (Protozoa caudatum) ในหลอด ทดลอง นอกจากนี้มีฤทธิ์ฆ่าพยาธิไส้เดือน มีการทดลองกับ ไส้เดือนดิน พบว่าน้ามันพลูมีฤทธิ์แรงเท่ากับน้ามันชีโนโพเดียม (chenopodium oil) สามารถฆ่าไส้เดือนดินได้และยังใช้เป็นยาฆ่า แมลงได้อีกด้วย 3. ฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต เมื่อใช้ปริมาณน้อยกับสุนัขที่ วางยาสลบ ทาให้ความดันโลหิตลดลงชั่วคราวถึงแม้ว่า ทาการตัดเส้นประสาท เวกัส (vagotomy) หรือให้ยาอะโทรปีน (atropine) แก่สุนัขแล้ว ฤทธิ์ก็ยังคงมีอยู่ ถ้าใช้ปริมาณมากฤทธิ์ใน การลดความดันโลหิตจะอยู่เป็นเวลานาน และการหายใจจะถูกกระตุ้นก่อนแล้วจะหยุดลงทันทีทันใด 4. มีฤทธิ์ยับยั้งการบีบและการคลายตัวตลอดจนการเต้นของหัวใจ ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก 5. ฤทธิ์ต่อมดลูกและลาไส้ มีฤทธิ์ทาให้มดลูกและลาไส้ของหนู ขาว และกระต่ายที่ทดลองนอกร่างกายคลายตัว และ ยับยั้งการบีบตัวที่เกิดจากการใช้อะเซทิลโฆลีน (acetylcholine) หรือแบเรี่ยม คลอไรด์ (barium chloride) ด้วย เมื่อฉีดน้ามันพลูเข้าหลอดเลือดดาจะทาให้ลาไส้เล็กคลายตัว นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางของหนูขาวและหนูถีบจักร น้ามันพลู มีฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังและเนื้อเยื่อของกระต่าย และหนูตะเภา ถ้าฉีดเข้ากล้ามหรือใต้ผิวหนังจะทาให้อักเสบได้ สรรพคุณ
  • 16. โครงงานเฮอร์บาเรียมนี้จะไม่สาเร็จเลยถ้าขาดความร่วมมือจากคุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาชีววิทยาที่ช่วยให้คาแนะนา แนะแนว และชี้แนะในการทาโครงงานนี้ทั้งนี้ก็หวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อไปแก่ผู้อื่นไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา 1. ทัพพ์ศตาญุ จิรวัฒนานุศาสน์ เลขที่ 36 2. น่านนภนต์ สารบูรณ์ เลขที่ 38 3. ล.รัญชน์เวหา ภูมิธาดาเดช เลขที่ 42 4. นายออรณพ สาทถาพร เลขที่ 48 กิตติกรรมประกาศ