SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
               หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
      เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

          พืชมีระบบลําเลียงเพื่อใชลําเลียงน้ํา แรธาตุตางๆ จากดินไปสูสวนตาง ๆของพืช โดยการลําเลียง
                                                                       
นี้จะเกี่ยวของกับการคายน้ําของพืช เมื่อพืชไดรับน้ําและแรธาตุตางๆ แลวจะนําไปใชเปนวัตถุดิบใน
                                                                   
การสรางอาหารและใชในกระบวนการอื่น ๆที่จาเปนตอการดํารงชีวต และเมื่อพืชสรางอาหารแลว ก็จะ
                                                    ํ                ิ
ลําเลียงอาหารไปสูสวนตางๆ ของพืช


      การลําเลียงน้าและแรธาตุของพืช
                   ํ


         พืชจะดูดน้าและแรธาตุที่บริเวณปลายรากและจะถูกลําเลียงไปโดยทอลําเลียงน้ํา ซึ่งพืชจะมี
                    ํ
เนื้อเยื่อลําเลียงอยู 2 กลุม คือ ไซเลม(Xylem) เปนเนื้อเยื่อลําเลียงน้ําและแรธาตุ และโฟลเอม
(Phloem) เปนเนื้อเยื่อที่ลําเลียงอาหารที่พืชสรางขึ้น โดยเนื้อเยื่อทั้งสองจะประกอบกันเปนเนื้อเยื่อ
ลําเลียงที่พบทั้งในราก ลําตน กิ่ง ใบ อยางตอเนื่องกัน
      โครงสรางของพืืชทีทาหนาทีี่ดูดนําและแรธาตุ
      โ                  ่ี ํ            ้ํ
       ขนราก (Root Hair) มีลักษณะเปนขนเสนเล็ก ๆ อยูเปนจํานวนมากโดยรอบปลายรากของพืช
เปนโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลลผิวนอกสุดของราก ทําหนาที่ดูดซึมน้าและแรธาตุจากดิน
                                                                        ํ
โดยเฉพาะการที่รากมีขนรากมากมายนั้นมีประโยชน คือทําใหรากมีพนที่ผิวสัมผัสกับน้ําและแรธาตุ
                                                                ื้
ตางๆในดินมากขึ้น ขนรากมีอายุอยูไดไมเกิน 7-10 วัน ก็จะตาย เมื่อเซลลตายก็จะมีขนรากขึ้นมา
                                
แทนที่
พืชจะดูดน้าและแรธาตุทางขนราก โดยจะดูดน้าโดยวิธีการออสโมซิส สวนการดูดแรธาตุใชวธีการ
          ํ                             ํ                                        ิ
แพร
  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการดูดน้ําของพืช คือ
1. ปรมาณของนาในดน ในดินที่มีน้ํามากพอประมาณอัตราการดดน้าของพืชเขาส ากจะเพิ่มขึ้น
1 ปริมาณของน้าในดิน ในดนทมนามากพอประมาณอตราการดูดนาของพชเขาสูรากจะเพมขน
                   ํ                                        ํ
2.ความเขมขนของสารละลายในดิน ถาน้าในดินมีตวถูกละลายมากจะทําใหสารละลายในดินมีความ
                                         ํ   ั
เขมขนมากกวาสารละลายที่อยูในเซลลของขนราก มีผลทําใหนาออสโมซิสเขาไปในรากไดยาก
                                                      ํ้
3.อุณหภูมิในดิน ถาในดินมีอณหภูมไมสูงมากจนเกินไป การดูดน้าของพืชจะเกิดขึ้นไดเร็วแตถาใน
                             ุ      ิ                     ํ
ดินมีอณหภุมสูงมากก็จะเปนอันตายตอพืชและในสภาพที่อณหภูมิเย็นจัดก็ไมมีการดูดน้าเกิดขึ้น
       ุ       ิ                                   ุ                          ํ
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
               หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
      เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

      การคายน้ําของพืช
          เปนกระบวนการระเหยกลายเปนไอของน้าภายในตนพืชออกสูบรรยากาศภายนอกทําให
                                                  ํ
เกิดการสูญเสียน้ํา เกิดจากการแพรของไอน้ําซึงอยูในชองวางภายในพืชมากกวาไอน้าในบรรยากาศ
                                            ่                                ํ
โดยนําจะแพรผานออกทางชองเปดทีมีอยู เชน ปากใบ ผิวใบ หรือรอยแตกขางลําตนพืช
      ้                            ่                                        
                              ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคายน้าของพืช ไดแก
                                                           ํ
1.ชนิดของพืช พืชบางชนิดที่มีปากใบมากจะคายน้าไดมาก
                                                 ํ
2.แสงสวาง ถาความเขมของแสงมาก ปากใบจะเปดกวาง ทําใหพืชคายน้ําไดมาก
3.อุณหภูมของอากาศ ถาอุณหภูมสงพชจะคายนาไดมากและรวดเรว
3 อณหภมิของอากาศ ถาอณหภมิสูงพืชจะคายน้าไดมากและรวดเร็ว
                                            ํ
4.ความชื้นของอากาศ ถาในอากาศมีความชื้นสูง พืชจะคายน้าไดนอย
                                                      ํ 
5.ลม ถาลมแรง พืชจะคายน้าไดมาก แตถาลมแรงจนกลายเปนพายุ ปากใบจะปด ทําใหพืชคายน้ํา
                            ํ
ไดนอยลง
    
6.ความกดดันของอากาศ ถาความกดดันของอากาศต่า พืชจะคายน้าไดมาก
                                               ํ           ํ
7. ปริมาณน้ําในดิน ถาน้านอย จะทําใหพชคายน้าไดนอยไปดวย
                        ํ              ื      ํ 
                                 ประโยชนของการคายน้ําของพืช คือ
1.ชวยใหการลําเลียงน้ําและแรธาตุขึ้นไปตามทอลําเลียงน้ําดีข้น เพราะทําใหเกิดแรงดึงน้าจาก
                                                              ึ                        ํ
สวนลางไปสูสวนบน
             
2.ชวยลดอุณหภูมิภายในลําตนและใบ
3 วยเพิิ่มความชุมชื้นใ แกผิวใบ
3.ช                  ื ให    ใ
     การลําเลียงอาหารของพืช
      อาหารที่พืชสรางขึ้นจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ไดแก น้าตาล ซึ่งจะถูกลําเลียงไปโดย
                                                                  ํ
กลุมเซลลที่ทําหนาที่ลาเลียงอาหารโดยเฉพาะ เรียกวา โฟลเอม หรือ ทอลําเลียงอาหาร การลําเลียง
                        ํ
อาหารจะลาเลยงจากใบไปยงสวนตาง ของพชทตองการใชอาหาร หรอเพอนาไปเกบสะสมยงแหลง
อาหารจะลําเลียงจากใบไปยังสวนตาง ๆ ของพืชที่ตองการใชอาหาร หรือเพือนําไปเก็บสะสมยังแหลง
                                                                       ่
สะสมอาหาร เชน หัว ราก และลําตน โดยอาหารจะแพรออกจากทอลําเลียงอาหารไปยังเซลลตาง ๆ
โดยตรง ทิศทางการลําเลียงอาหารในทอโฟลเอมมีทั้งขึ้นและลง ซึ่งแตกตางจากการลําเลียงน้ําที่มี
ทิศทางขึ้นเพียงทิศทางเดียวแตอัตราการลําเลียงอาหารจะเกิดชากวาการลําเลียงน้ําในทอไซเลม
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
              หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
      เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

      ระบบสืบพันธุในพืช
การสืบพันธุ(Reproduction) เปนกระบวนการที่สิ่งมีชีวตผลิตสิ่งมีชีวตใหมขึ้นมาทดแทนเพื่อไมให
                                                    ิ             ิ
สูญพันธุไปจากโลก โดยทั่วไปจะแบงการสืบพันธุของพืชออกเปน 2 ประเภท คือการสืบพันธุแบบ
  ู      ุ                                    ุ                                         ุ
อาศัยเพศ และการสืบพันธแบบไมอาศัยเพศ
1.การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืช
              เปนการผลิตสิ่งมีชีวตที่จะตองมีการรวมนิวเคลียสของเซลลสืบพันธเพศผูกับเซลล
                                  ิ
สืบพันธุเพศเมีย เซลลสืบพันธุเพศผูของพืชดอก คือระอองเรณู หรือ สเปรมและ เซลลสืบพันธุเพศ
เมีย คือเซลลไข ซึงเรียกการรวมนิวเคลียสนีวา การปฏิสนธิ
                    ่                       ้
           การปฏิสนธิ หมายถึง การผสมระหวาละอองเรณูและเซลลไขในออวุล
โครงสรางของดอกไม
         ดอกไมเปนอวัยวะที่สืบพันธุของพืชดอก ซึงเปนโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงมาจากกิงและ
                                                 ่                                  ่
ใบของพืช ดอกไมมีโครงสรางที่สําคัญ ดังนี้
1. กานดอก เปนสวนที่ทําหนาที่ ชูดอก และทําใหดอกติดกับกิ่งและลําตน
2. กลีบเลียง เปนสวนที่อยูนอกสุด เปนกลีบเล็ก ๆสีเขียว ทําหนาที่ หอหุมและปองกันอันตรายให
                            
สวนประกอบตางของดอกในระยะเปนดอกตูม
3.กลีบดอก เปนสวนที่อยูถัดจากกลีบเลี้ยง มักมีขนาดใหญกวากลีบเลี้ยง กลีบดอกมีสีสวยงาม บางที
                          ู                              ญ
ก็มีกลิ่นหอม หรือตอมน้ําตาลบริเวณโคนของกลีบดอก ทําหนาที่ลอแมลงใหมาผสมเกสร
4.เกสรตัวผู เปนอวัยวะสืบพันธุเพศผูประกอบดวยกานชูอับเรณูและอับเรณู ทําหนาที่สรางละออง
เรณูที่ใชในการผสมพันธุ
5.เกสรตัวเมีย เปนสวนที่อยูในสุด ทําหนาที่สรางเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือไข ประกอบดวยยอด
เกสรตัวเมีย กานชูเกสรตัวเมีย และรังไข ภายในรังไขมีออวุลซึ่งมีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ และภายใน
ออวุลมีีไขอยู
           
6.ฐานรองดอก เปนสวนที่อยูปลายสุดของกานดอก ทําหนาที่ รองรับกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู
และเกสรตัวเมีย
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
              หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
      เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช




                                 ภาพ สวนประกอบของดอกไม

ประเภทของดอกไม แบงโดยใชเกณฑในการแบง 2 แบบ ดังนี้
        1. ประเภทของดอกแบงโดยใชองคประกอบทั้ง 4 สวนเปนเกณฑ แบงได 2 ประเภท คือ
1.1 ดอกครบสวน คือดอกที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4 สวน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผูและ
เกสรตัวเมีย เชน ชบา ตอยติง กุหลาบ มะลิ อัชัน มะเขือ การเวก บัวหลวง แค ชงโค เปนตน
                           ่
1.2 ไ 
1 2 ดอกไมครบสวน คอดอกทมสวนประกอบไมครบทง 4 สวน ซงอาจขาดสวนหนงสวนใดหรอ
                    ื          ี่ ี  ป       ไ       ั้     ึ่              ึ่  ใ ื
มากกวา 1 สวน ก็ได เชนดอกตําลึง ขาวโพด มะละกอ จําปา บานเย็น หนาวัว กลวยไม เฟองฟา
                                                                                     
ขาว แตงกวา ฟกทอง มะพราว เปนตน
         2.ประเภทของดอกแบงโดยใชเกสรตัวผูและตัวเมียเปนเกณฑ แบงได 2 ประเภท คือ
2.1 ดอกสมบูรณเพศ คือดอกที่มีทั้งเกสรตัวผูและเกสรตัวเมียรวมอยูในดอกเดียวกัน เชน กุหลาบ
                                                                    
บัว กลวยไม ชบา ชงโค มะเขืือ มะมวง เปนตน
          ไ          โ                ป 
2.2 ดอกไมสมบูรณเพศ คือดอกไมที่มีเฉพาะเกสรตัวผูหรือเกสรตัวเมียเพียงอยางเดียว โดยดอกที่มี
                                                        
เฉพาะเกสรตัวผูเรียกวา ดอกตัวผู สวนดอกที่มีเกสรตัวเมียเรียกวา ดอกตัวเมีย เชน ดอกขาวโพด บวบ
แตงกวา มะละกอ หนาวัว ตําลึง ขนุน มะเดื่อ เงาะ เปนตน
       การถายละอองเรณู หมายถึงกระบวนการที่ละอองเรณูของเกสรตัวผูถูพาไปตกลงบนยอก
เกสรตัวเมียของดอกชนิดเดียวกัน การถายละอองเรณูจะเกิดขึ้นเมื่อละอองเรณูแกจดอับเรณูจะปริออก
                                                                          ั
ทําใหละอองเรณูกระจายไปโดยอาศัย ลม น้ํา คน หรือสัตวชวยพาไปในที่ตาง ๆ หรืออาจเกิดจากการ
                                                      
ดีดกระเด็นไปเอง ซึงจะเกิดขึ้นไดทั้งกลางวันและกลางคืน
                  ่
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
         หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

การถายละอองเรณูแบงเปน 2 ประเภท คือ
       1. การถายละอองเรณูที่เกิดขึ้นภายในดอกเดียวกันหรือระหวางดอกตนเดียวกัน การ
ถายแบบนจะทาใหพชตนใหมมลกษณะทางพนธุกรรมเหมอนเดม ซึ่งเหมาะสําหรับพืช
ถายแบบนี้จะทําใหพืชตนใหมมีลักษณะทางพันธกรรมเหมือนเดิม ซงเหมาะสาหรบพช
พันธุดี
      2. การถายละอองเรณูขามตน เปนการถายละอองเรณูแบบขามตนและตางตนกัน
                             
พืชตนใหมที่ไดมีลกษณะตาง ๆหลากหลาย และอาจไดพชพันธุใหมข้นมาได
                   ั                            ื            ึ
การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืช
       เปนการสืบพันธุที่ไมไดใชเซลลสืบพันธุแตเปนการสืบพันธุที่อาศัยสวนตาง ๆ
ของพืช พืชตนใหมที่เกิดขึ้นจะไมกลายพันธุ แตอาจไดตนใหมที่ไมทนทานแข็งแรงเทาเดิม
ไดแก
         1.การใชสวนตาง ๆ ของพืชมาขยายพันธุ ไดแก
                  
-      หนอ เชน กลวย กลวยไมบางชนิด ไผ ตะไคร
-      ราก เชน มันเทศ มันสําปะหลัง กระชาย แครอท
-      ใบ เชน ตนตายใบเปน กุหลาบหิน เศรษฐีพันลาน
-      ลําตนใตดิน เชน พุทธรักษา ขิง ขา แหว เผือก หัวหอม
-      กิ่ง เชน พูระหง พลูดาง ชบา โกสน ผกากรอง
                             
        2.การขยายพันธุดวยวิธีอื่น ๆ ไดแก การตอนกิง การติดตา การทาบกิ่ง การปก
                                                   ่
ชําและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
   การขยายพันธุพืช คือ การเพิ่มจํานวนตนพืชใหไดจานวนมากพอกับปริมาณความ
                                                     ํ
ตองการ ที่เพิ่มขึ้น โดยตนใหมที่ไดยังคงลักษณะของพันธุและคุณสมบัตที่ดีไวเหมือนเดิม
                                                                    ิ
อาจกลาว ไดวา การขยายพนธุ ืชเปนการชวยรักษาลักษณะที่ดีของพันธ วไมใหสูญหาย
อาจกลาว ไดวา การขยายพันธพชเปนการชวยรกษาลกษณะทดของพนธุไวไมใหสญหาย
                
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร
                หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
      เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

กิจกรรม 1 สวนของพืชที่ใชลําเลียงน้ําและแรธาตุ
จุดประสงคการทดลอง
      1. อธิบายกระบวนการ ลําเลียงน้้ําและแรธาตุในพืชได
วิธีการทดลอง
     1.นําตนขึ้นฉาย จุมลงในขวดที่มีน้ําสีแดงบรรจุอยูเปนเวลา 30 นาที
       2.ยกตนขึ้นฉายออกจากน้าสีแดง ลางสวนรากที่เปอนสีออกใหสะอาดใชมีดตัดกานใหเปน
                              ํ
ทอนประมาณ 3 ซม. นําสวนที่ตดออกมาผาตามยาวนําไปสองดูดวยแวนขยายวาดรูปแสดงตําแหนง
                                ั                              
ที่เห็นสีแดง
    3.ตัดกานใบตามขวางใหบางที่สุดจากนั้นนําไปวางบนหยดน้ําบนสไลดแลวปดดวยกระจกปด
สไลดนําไปตรวจกลองจุลทรรศน วาดรูปตําแหนงที่เห็นสีแดง
ผลการทดลอง




               ภาพตัดตามยาวของตนพืช                         ภาพตัดตามขวางของตนพืช

 สรุปผลการทดลอง……………………………………………………………………………………..
 สรปผลการทดลอง
 …………………………………………………………………..………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………...
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร
               หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
       เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

กิจกรรม 2 สวนประกอบของดอกไมชนิดตาง ๆ
จุดประสงคการทดลอง
1. ชี้บงสวนประกอบตาง ๆ ของดอกไมได
   ชบงสวนประกอบตาง ของดอกไมได
2. สรุปเกี่ยวกับรูปรางและสวนประกอบของดอกไมชนิดตาง ๆ ได
3. สามารถจําแนกประเภทของดอกไมโดยใชเกณฑตาง ๆ ได
                                             
วิธีการทดลอง
      1. นักเรียนหาดอกไมที่มีอยูในทองถิ่นมาอยางนอย 10 ชนิด
     2. สังเกตดูสวนประกอบของดอกไมแตละดอกวามีสวนประกอบครบทุกสวนหรือไมและ
                                               
บันทึกผลที่ไดจากการสังเกตลงในตาราง
ตารางบันทึกผลการทดลอง

                                                  สวนประกอบของดอก
                                                  สวนประกอบของดอก
       ชื่อดอกไม
                             กลีบเลี้ยง       กลีบดอก       เกสรตัวผู      เกสรตัวเมีย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

สรุปผลการทดลอง……………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...
ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร
                                           ่
                      หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
            เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

     ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
     1.ทดลอง สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงของพืช
     2.สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและหนาที่ในการสืบพันธของพืช
     3.วเคราะหความสมพนธและอธบายการทางานทสมพนธกนของระบบตาง ในพืช
     3 วิเคราะหความสัมพันธและอธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบตาง ๆ ในพช
     คําสัง ใหเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตอง
          ่
     1. พืชจะดูดน้ําดวยวิธีการ……………………….ดูดแรธาตุดวย
                                                    
     วิธีการ……………………….
     2 ิ ใ           ํ ี ้ํ  ื ิ ิ                ิ       ํ ี
     2.ทศทางในการลาเลยงนาของพชเกดทศทาง………………….และทศทางการลาเลยงอาหาร
     ของพืชเกิดในทิศทาง………………………….
     3.ขนรากจะมีชีวิตอยูได กี่วัน………………………………………………………………….
                        
     4.ปจจัยที่มีอทธิพลตอการคายน้า มีอะไรบาง…………………………………………………
                   ิ               ํ
     …………………………………………………………………………………………………
     …………………………………………………………………………………………………
     5.จงเติมขอความลงในตารางเปรียบเทียบการทํางานของเนื้อเยื่อไซเลมและเนื้อเยื่อโฟลเอม
      สิ่งที่เปรียบเทียบ                เนื้อเยื่อโฟลเอม                      เนื้อเยื่อไซเลม
1. สารที่ลําเลียง
   สารทลาเลยง                   …………………………………                         …………………………………
                                …………………………………                         …………………………………
2.ทิศทางการลําเลียง             …………………………………                         …………………………………
3.อัตราการลําเลียง              …………………………………                         …………………………………
                                …………………………………                         …………………………………
                                ………………………………….                        ………………………………….



             ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..
ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร
                                 ่
           หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
  เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1.ทดลอง สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงของพืช
2.สืบคนขอมููล และอธิบายโครงสรางและหนาที่ในการสืบพันธของพืช
3.วิเคราะหความสัมพันธและอธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบตาง ๆ ในพืช
คําสัง ใหเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตอง
     ่
6. ดอกไมแตละชนิดมีลักษณะของสวนประกอบแตละอยางเหมือนกัน หรือไม……………..
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
7. ดอกไมที่เปนดอกครบสวน หมายความวา
อยางไร………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
………………….………………………………………………………………………………
8. ดอกไมที่มีทั้งเกสรตัวผูและเกสรตัวเมียอยูในดอกเดียวกัน
                                           
เรียกวา………………………….
ไดแก…………………………….…………………………………………………………….
9. การสืบพันธุของพืชแบงไดเปน กี่ประเภท อะไรบาง………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
10. ในพืชดอก เซลลสืบพันธุเพศผู คือ………………...……......สวนเซลลสืบพันธุเพศเมีย
คือ ………………..และเมื่อเซลลสืบพันธุเพศผูผสมกับเซลลสืบพันธุเพศเมีย จัดเปนการ
สืบพันธุประเภท…………………………………………………………
11. พลูดางขยายพันธุุโดยใชสวนใดของพืช……………………...ดวยวิธี……..…………….
       ู                     
……………………………………………………………………………………………….
12. การถายละอองเรณูเริ่มตนและสิ้นสุด
เมื่อใด………………………………………………
       ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..
………………………………………………………………………………………………....

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6phonphan Datpum
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Wichai Likitponrak
 
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)teerachon
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์Phichak Penpattanakul
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
 
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
2.แนวข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์(ม.6)
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ข้อสอบวิทยาศาสตร์
ข้อสอบวิทยาศาสตร์
 

Similar to Handling and nama plant

ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชKunnanatya Pare
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชNokko Bio
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 

Similar to Handling and nama plant (20)

ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
wan
wanwan
wan
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืชระบบสืบพันธุ์ของพืช
ระบบสืบพันธุ์ของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 

Handling and nama plant

  • 1. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช พืชมีระบบลําเลียงเพื่อใชลําเลียงน้ํา แรธาตุตางๆ จากดินไปสูสวนตาง ๆของพืช โดยการลําเลียง   นี้จะเกี่ยวของกับการคายน้ําของพืช เมื่อพืชไดรับน้ําและแรธาตุตางๆ แลวจะนําไปใชเปนวัตถุดิบใน  การสรางอาหารและใชในกระบวนการอื่น ๆที่จาเปนตอการดํารงชีวต และเมื่อพืชสรางอาหารแลว ก็จะ ํ ิ ลําเลียงอาหารไปสูสวนตางๆ ของพืช การลําเลียงน้าและแรธาตุของพืช ํ พืชจะดูดน้าและแรธาตุที่บริเวณปลายรากและจะถูกลําเลียงไปโดยทอลําเลียงน้ํา ซึ่งพืชจะมี ํ เนื้อเยื่อลําเลียงอยู 2 กลุม คือ ไซเลม(Xylem) เปนเนื้อเยื่อลําเลียงน้ําและแรธาตุ และโฟลเอม (Phloem) เปนเนื้อเยื่อที่ลําเลียงอาหารที่พืชสรางขึ้น โดยเนื้อเยื่อทั้งสองจะประกอบกันเปนเนื้อเยื่อ ลําเลียงที่พบทั้งในราก ลําตน กิ่ง ใบ อยางตอเนื่องกัน โครงสรางของพืืชทีทาหนาทีี่ดูดนําและแรธาตุ โ ่ี ํ ้ํ ขนราก (Root Hair) มีลักษณะเปนขนเสนเล็ก ๆ อยูเปนจํานวนมากโดยรอบปลายรากของพืช เปนโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลลผิวนอกสุดของราก ทําหนาที่ดูดซึมน้าและแรธาตุจากดิน ํ โดยเฉพาะการที่รากมีขนรากมากมายนั้นมีประโยชน คือทําใหรากมีพนที่ผิวสัมผัสกับน้ําและแรธาตุ ื้ ตางๆในดินมากขึ้น ขนรากมีอายุอยูไดไมเกิน 7-10 วัน ก็จะตาย เมื่อเซลลตายก็จะมีขนรากขึ้นมา  แทนที่ พืชจะดูดน้าและแรธาตุทางขนราก โดยจะดูดน้าโดยวิธีการออสโมซิส สวนการดูดแรธาตุใชวธีการ ํ ํ ิ แพร ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการดูดน้ําของพืช คือ 1. ปรมาณของนาในดน ในดินที่มีน้ํามากพอประมาณอัตราการดดน้าของพืชเขาส ากจะเพิ่มขึ้น 1 ปริมาณของน้าในดิน ในดนทมนามากพอประมาณอตราการดูดนาของพชเขาสูรากจะเพมขน ํ ํ 2.ความเขมขนของสารละลายในดิน ถาน้าในดินมีตวถูกละลายมากจะทําใหสารละลายในดินมีความ ํ ั เขมขนมากกวาสารละลายที่อยูในเซลลของขนราก มีผลทําใหนาออสโมซิสเขาไปในรากไดยาก  ํ้ 3.อุณหภูมิในดิน ถาในดินมีอณหภูมไมสูงมากจนเกินไป การดูดน้าของพืชจะเกิดขึ้นไดเร็วแตถาใน ุ ิ ํ ดินมีอณหภุมสูงมากก็จะเปนอันตายตอพืชและในสภาพที่อณหภูมิเย็นจัดก็ไมมีการดูดน้าเกิดขึ้น ุ ิ ุ ํ
  • 2. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช การคายน้ําของพืช เปนกระบวนการระเหยกลายเปนไอของน้าภายในตนพืชออกสูบรรยากาศภายนอกทําให ํ เกิดการสูญเสียน้ํา เกิดจากการแพรของไอน้ําซึงอยูในชองวางภายในพืชมากกวาไอน้าในบรรยากาศ ่  ํ โดยนําจะแพรผานออกทางชองเปดทีมีอยู เชน ปากใบ ผิวใบ หรือรอยแตกขางลําตนพืช ้ ่  ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคายน้าของพืช ไดแก ํ 1.ชนิดของพืช พืชบางชนิดที่มีปากใบมากจะคายน้าไดมาก ํ 2.แสงสวาง ถาความเขมของแสงมาก ปากใบจะเปดกวาง ทําใหพืชคายน้ําไดมาก 3.อุณหภูมของอากาศ ถาอุณหภูมสงพชจะคายนาไดมากและรวดเรว 3 อณหภมิของอากาศ ถาอณหภมิสูงพืชจะคายน้าไดมากและรวดเร็ว ํ 4.ความชื้นของอากาศ ถาในอากาศมีความชื้นสูง พืชจะคายน้าไดนอย ํ  5.ลม ถาลมแรง พืชจะคายน้าไดมาก แตถาลมแรงจนกลายเปนพายุ ปากใบจะปด ทําใหพืชคายน้ํา ํ ไดนอยลง  6.ความกดดันของอากาศ ถาความกดดันของอากาศต่า พืชจะคายน้าไดมาก ํ ํ 7. ปริมาณน้ําในดิน ถาน้านอย จะทําใหพชคายน้าไดนอยไปดวย ํ ื ํ  ประโยชนของการคายน้ําของพืช คือ 1.ชวยใหการลําเลียงน้ําและแรธาตุขึ้นไปตามทอลําเลียงน้ําดีข้น เพราะทําใหเกิดแรงดึงน้าจาก ึ ํ สวนลางไปสูสวนบน   2.ชวยลดอุณหภูมิภายในลําตนและใบ 3 วยเพิิ่มความชุมชื้นใ แกผิวใบ 3.ช ื ให ใ การลําเลียงอาหารของพืช อาหารที่พืชสรางขึ้นจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ไดแก น้าตาล ซึ่งจะถูกลําเลียงไปโดย  ํ กลุมเซลลที่ทําหนาที่ลาเลียงอาหารโดยเฉพาะ เรียกวา โฟลเอม หรือ ทอลําเลียงอาหาร การลําเลียง ํ อาหารจะลาเลยงจากใบไปยงสวนตาง ของพชทตองการใชอาหาร หรอเพอนาไปเกบสะสมยงแหลง อาหารจะลําเลียงจากใบไปยังสวนตาง ๆ ของพืชที่ตองการใชอาหาร หรือเพือนําไปเก็บสะสมยังแหลง  ่ สะสมอาหาร เชน หัว ราก และลําตน โดยอาหารจะแพรออกจากทอลําเลียงอาหารไปยังเซลลตาง ๆ โดยตรง ทิศทางการลําเลียงอาหารในทอโฟลเอมมีทั้งขึ้นและลง ซึ่งแตกตางจากการลําเลียงน้ําที่มี ทิศทางขึ้นเพียงทิศทางเดียวแตอัตราการลําเลียงอาหารจะเกิดชากวาการลําเลียงน้ําในทอไซเลม
  • 3. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช ระบบสืบพันธุในพืช การสืบพันธุ(Reproduction) เปนกระบวนการที่สิ่งมีชีวตผลิตสิ่งมีชีวตใหมขึ้นมาทดแทนเพื่อไมให ิ ิ สูญพันธุไปจากโลก โดยทั่วไปจะแบงการสืบพันธุของพืชออกเปน 2 ประเภท คือการสืบพันธุแบบ ู ุ ุ ุ อาศัยเพศ และการสืบพันธแบบไมอาศัยเพศ 1.การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืช เปนการผลิตสิ่งมีชีวตที่จะตองมีการรวมนิวเคลียสของเซลลสืบพันธเพศผูกับเซลล ิ สืบพันธุเพศเมีย เซลลสืบพันธุเพศผูของพืชดอก คือระอองเรณู หรือ สเปรมและ เซลลสืบพันธุเพศ เมีย คือเซลลไข ซึงเรียกการรวมนิวเคลียสนีวา การปฏิสนธิ ่ ้ การปฏิสนธิ หมายถึง การผสมระหวาละอองเรณูและเซลลไขในออวุล โครงสรางของดอกไม ดอกไมเปนอวัยวะที่สืบพันธุของพืชดอก ซึงเปนโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงมาจากกิงและ ่ ่ ใบของพืช ดอกไมมีโครงสรางที่สําคัญ ดังนี้ 1. กานดอก เปนสวนที่ทําหนาที่ ชูดอก และทําใหดอกติดกับกิ่งและลําตน 2. กลีบเลียง เปนสวนที่อยูนอกสุด เปนกลีบเล็ก ๆสีเขียว ทําหนาที่ หอหุมและปองกันอันตรายให  สวนประกอบตางของดอกในระยะเปนดอกตูม 3.กลีบดอก เปนสวนที่อยูถัดจากกลีบเลี้ยง มักมีขนาดใหญกวากลีบเลี้ยง กลีบดอกมีสีสวยงาม บางที ู ญ ก็มีกลิ่นหอม หรือตอมน้ําตาลบริเวณโคนของกลีบดอก ทําหนาที่ลอแมลงใหมาผสมเกสร 4.เกสรตัวผู เปนอวัยวะสืบพันธุเพศผูประกอบดวยกานชูอับเรณูและอับเรณู ทําหนาที่สรางละออง เรณูที่ใชในการผสมพันธุ 5.เกสรตัวเมีย เปนสวนที่อยูในสุด ทําหนาที่สรางเซลลสืบพันธุเพศเมียหรือไข ประกอบดวยยอด เกสรตัวเมีย กานชูเกสรตัวเมีย และรังไข ภายในรังไขมีออวุลซึ่งมีลักษณะเปนเม็ดเล็ก ๆ และภายใน ออวุลมีีไขอยู  6.ฐานรองดอก เปนสวนที่อยูปลายสุดของกานดอก ทําหนาที่ รองรับกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสรตัวเมีย
  • 4. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช ภาพ สวนประกอบของดอกไม ประเภทของดอกไม แบงโดยใชเกณฑในการแบง 2 แบบ ดังนี้ 1. ประเภทของดอกแบงโดยใชองคประกอบทั้ง 4 สวนเปนเกณฑ แบงได 2 ประเภท คือ 1.1 ดอกครบสวน คือดอกที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4 สวน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผูและ เกสรตัวเมีย เชน ชบา ตอยติง กุหลาบ มะลิ อัชัน มะเขือ การเวก บัวหลวง แค ชงโค เปนตน ่ 1.2 ไ  1 2 ดอกไมครบสวน คอดอกทมสวนประกอบไมครบทง 4 สวน ซงอาจขาดสวนหนงสวนใดหรอ  ื ี่ ี  ป ไ  ั้  ึ่  ึ่  ใ ื มากกวา 1 สวน ก็ได เชนดอกตําลึง ขาวโพด มะละกอ จําปา บานเย็น หนาวัว กลวยไม เฟองฟา  ขาว แตงกวา ฟกทอง มะพราว เปนตน 2.ประเภทของดอกแบงโดยใชเกสรตัวผูและตัวเมียเปนเกณฑ แบงได 2 ประเภท คือ 2.1 ดอกสมบูรณเพศ คือดอกที่มีทั้งเกสรตัวผูและเกสรตัวเมียรวมอยูในดอกเดียวกัน เชน กุหลาบ   บัว กลวยไม ชบา ชงโค มะเขืือ มะมวง เปนตน ไ โ  ป  2.2 ดอกไมสมบูรณเพศ คือดอกไมที่มีเฉพาะเกสรตัวผูหรือเกสรตัวเมียเพียงอยางเดียว โดยดอกที่มี  เฉพาะเกสรตัวผูเรียกวา ดอกตัวผู สวนดอกที่มีเกสรตัวเมียเรียกวา ดอกตัวเมีย เชน ดอกขาวโพด บวบ แตงกวา มะละกอ หนาวัว ตําลึง ขนุน มะเดื่อ เงาะ เปนตน การถายละอองเรณู หมายถึงกระบวนการที่ละอองเรณูของเกสรตัวผูถูพาไปตกลงบนยอก เกสรตัวเมียของดอกชนิดเดียวกัน การถายละอองเรณูจะเกิดขึ้นเมื่อละอองเรณูแกจดอับเรณูจะปริออก ั ทําใหละอองเรณูกระจายไปโดยอาศัย ลม น้ํา คน หรือสัตวชวยพาไปในที่ตาง ๆ หรืออาจเกิดจากการ  ดีดกระเด็นไปเอง ซึงจะเกิดขึ้นไดทั้งกลางวันและกลางคืน ่
  • 5. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช การถายละอองเรณูแบงเปน 2 ประเภท คือ 1. การถายละอองเรณูที่เกิดขึ้นภายในดอกเดียวกันหรือระหวางดอกตนเดียวกัน การ ถายแบบนจะทาใหพชตนใหมมลกษณะทางพนธุกรรมเหมอนเดม ซึ่งเหมาะสําหรับพืช ถายแบบนี้จะทําใหพืชตนใหมมีลักษณะทางพันธกรรมเหมือนเดิม ซงเหมาะสาหรบพช พันธุดี 2. การถายละอองเรณูขามตน เปนการถายละอองเรณูแบบขามตนและตางตนกัน  พืชตนใหมที่ไดมีลกษณะตาง ๆหลากหลาย และอาจไดพชพันธุใหมข้นมาได ั ื ึ การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืช เปนการสืบพันธุที่ไมไดใชเซลลสืบพันธุแตเปนการสืบพันธุที่อาศัยสวนตาง ๆ ของพืช พืชตนใหมที่เกิดขึ้นจะไมกลายพันธุ แตอาจไดตนใหมที่ไมทนทานแข็งแรงเทาเดิม ไดแก 1.การใชสวนตาง ๆ ของพืชมาขยายพันธุ ไดแก  - หนอ เชน กลวย กลวยไมบางชนิด ไผ ตะไคร - ราก เชน มันเทศ มันสําปะหลัง กระชาย แครอท - ใบ เชน ตนตายใบเปน กุหลาบหิน เศรษฐีพันลาน - ลําตนใตดิน เชน พุทธรักษา ขิง ขา แหว เผือก หัวหอม - กิ่ง เชน พูระหง พลูดาง ชบา โกสน ผกากรอง  2.การขยายพันธุดวยวิธีอื่น ๆ ไดแก การตอนกิง การติดตา การทาบกิ่ง การปก  ่ ชําและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การขยายพันธุพืช คือ การเพิ่มจํานวนตนพืชใหไดจานวนมากพอกับปริมาณความ ํ ตองการ ที่เพิ่มขึ้น โดยตนใหมที่ไดยังคงลักษณะของพันธุและคุณสมบัตที่ดีไวเหมือนเดิม ิ อาจกลาว ไดวา การขยายพนธุ ืชเปนการชวยรักษาลักษณะที่ดีของพันธ วไมใหสูญหาย อาจกลาว ไดวา การขยายพันธพชเปนการชวยรกษาลกษณะทดของพนธุไวไมใหสญหาย 
  • 6. ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช กิจกรรม 1 สวนของพืชที่ใชลําเลียงน้ําและแรธาตุ จุดประสงคการทดลอง 1. อธิบายกระบวนการ ลําเลียงน้้ําและแรธาตุในพืชได วิธีการทดลอง 1.นําตนขึ้นฉาย จุมลงในขวดที่มีน้ําสีแดงบรรจุอยูเปนเวลา 30 นาที 2.ยกตนขึ้นฉายออกจากน้าสีแดง ลางสวนรากที่เปอนสีออกใหสะอาดใชมีดตัดกานใหเปน ํ ทอนประมาณ 3 ซม. นําสวนที่ตดออกมาผาตามยาวนําไปสองดูดวยแวนขยายวาดรูปแสดงตําแหนง ั  ที่เห็นสีแดง 3.ตัดกานใบตามขวางใหบางที่สุดจากนั้นนําไปวางบนหยดน้ําบนสไลดแลวปดดวยกระจกปด สไลดนําไปตรวจกลองจุลทรรศน วาดรูปตําแหนงที่เห็นสีแดง ผลการทดลอง ภาพตัดตามยาวของตนพืช ภาพตัดตามขวางของตนพืช สรุปผลการทดลอง…………………………………………………………………………………….. สรปผลการทดลอง …………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………...
  • 7. ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช กิจกรรม 2 สวนประกอบของดอกไมชนิดตาง ๆ จุดประสงคการทดลอง 1. ชี้บงสวนประกอบตาง ๆ ของดอกไมได ชบงสวนประกอบตาง ของดอกไมได 2. สรุปเกี่ยวกับรูปรางและสวนประกอบของดอกไมชนิดตาง ๆ ได 3. สามารถจําแนกประเภทของดอกไมโดยใชเกณฑตาง ๆ ได  วิธีการทดลอง 1. นักเรียนหาดอกไมที่มีอยูในทองถิ่นมาอยางนอย 10 ชนิด 2. สังเกตดูสวนประกอบของดอกไมแตละดอกวามีสวนประกอบครบทุกสวนหรือไมและ   บันทึกผลที่ไดจากการสังเกตลงในตาราง ตารางบันทึกผลการทดลอง สวนประกอบของดอก สวนประกอบของดอก ชื่อดอกไม กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู เกสรตัวเมีย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. สรุปผลการทดลอง…………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………...
  • 8. ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร ่ หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1.ทดลอง สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงของพืช 2.สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและหนาที่ในการสืบพันธของพืช 3.วเคราะหความสมพนธและอธบายการทางานทสมพนธกนของระบบตาง ในพืช 3 วิเคราะหความสัมพันธและอธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบตาง ๆ ในพช คําสัง ใหเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตอง ่ 1. พืชจะดูดน้ําดวยวิธีการ……………………….ดูดแรธาตุดวย  วิธีการ………………………. 2 ิ ใ ํ ี ้ํ ื ิ ิ ิ ํ ี 2.ทศทางในการลาเลยงนาของพชเกดทศทาง………………….และทศทางการลาเลยงอาหาร ของพืชเกิดในทิศทาง…………………………. 3.ขนรากจะมีชีวิตอยูได กี่วัน………………………………………………………………….  4.ปจจัยที่มีอทธิพลตอการคายน้า มีอะไรบาง………………………………………………… ิ ํ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… 5.จงเติมขอความลงในตารางเปรียบเทียบการทํางานของเนื้อเยื่อไซเลมและเนื้อเยื่อโฟลเอม สิ่งที่เปรียบเทียบ เนื้อเยื่อโฟลเอม เนื้อเยื่อไซเลม 1. สารที่ลําเลียง สารทลาเลยง ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… 2.ทิศทางการลําเลียง ………………………………… ………………………………… 3.อัตราการลําเลียง ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… …………………………………. …………………………………. ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..
  • 9. ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร ่ หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง โครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงในพืชและระบบสืบพันธุในพืช ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1.ทดลอง สืบคนขอมูล และอธิบายโครงสรางและการทํางานของระบบลําเลียงของพืช 2.สืบคนขอมููล และอธิบายโครงสรางและหนาที่ในการสืบพันธของพืช 3.วิเคราะหความสัมพันธและอธิบายการทํางานที่สัมพันธกันของระบบตาง ๆ ในพืช คําสัง ใหเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตอง ่ 6. ดอกไมแตละชนิดมีลักษณะของสวนประกอบแตละอยางเหมือนกัน หรือไม…………….. ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… 7. ดอกไมที่เปนดอกครบสวน หมายความวา อยางไร…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………… ………………….……………………………………………………………………………… 8. ดอกไมที่มีทั้งเกสรตัวผูและเกสรตัวเมียอยูในดอกเดียวกัน   เรียกวา…………………………. ไดแก…………………………….……………………………………………………………. 9. การสืบพันธุของพืชแบงไดเปน กี่ประเภท อะไรบาง……………………………………… ………………………………………………………………………………………………. 10. ในพืชดอก เซลลสืบพันธุเพศผู คือ………………...……......สวนเซลลสืบพันธุเพศเมีย คือ ………………..และเมื่อเซลลสืบพันธุเพศผูผสมกับเซลลสืบพันธุเพศเมีย จัดเปนการ สืบพันธุประเภท………………………………………………………… 11. พลูดางขยายพันธุุโดยใชสวนใดของพืช……………………...ดวยวิธี……..……………. ู  ………………………………………………………………………………………………. 12. การถายละอองเรณูเริ่มตนและสิ้นสุด เมื่อใด……………………………………………… ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ ………….. ………………………………………………………………………………………………....