SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
จานวน 7 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 19 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
เรื่อง กระบวนการคายนาของพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
เรื่อง กระบวนการลาเลียงนาของพืช ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เรื่อง กระบวนการลาเลียงแร่ธาตุของพืช ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
เรื่อง กระบวนการลาเลียงสารอาหาร ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา
3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ
สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช เขียนสรุป
หน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด
2.1 สามารถอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชได้
อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืชได้อย่าง
ถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างเหมาะสม
3. สาระสาคัญ
* การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่
แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ลาต้นกับใบ (น้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้าและแร่ธาตุ)
* โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว ขนาด และ
จานวนมากขึ้น
* รากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงคู่จะเป็นรากที่ไม่ได้
เจริญมาจากรากเดิม
* หน้าที่และชนิดของราก สามารถแบ่งออกได้เป็น
- primary root or tap root
รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
- secondary root or lateral root
- adventitious root : fibrous root
* โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน ได้แก่
- Epidermis, cortex, stele (pericycle, vascular bundle: xylem and phloem)
* โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่
- Root cap
- Region of cell division
- Region of cell elongation
- Region of cell differentiation and maturation
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้ (K)
การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช
5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืช
5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ
นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช สามารถ
เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จาก
การศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น
international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube
หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี
โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์
นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป
7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างของรากเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
แนวตอบ รากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบางส่วนเพื่อการเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมน้้าและแร่ธาตุจากดินเพื่อ
ล้าเลียงสู่ยอดต่อไป
> รากสามารถแบ่งออกตามลักษณะที่พบโดยทั่วไปได้เป็นกี่ประเภท
แนวตอบ รากโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ รากปฐมภูมิหรือรากแก้ว รากทุติยภูมิหรือ
รากแขนง และรากพิเศษซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อส่วนล้าต้น เช่น รากฝอย รากค้้าจุน เป็นต้น
> หน้าที่สาคัญของรากต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
แนวตอบ หน้าที่ส้าคัญทั่วไปของโครงสร้างราก ได้แก่ การยึดเกาะดินเพื่อพยุงล้าต้น การดูดซึมน้้าและแร่ธาตุ
จากดินเพื่อล้าเลียงขึ้นสู่ยอด เป็นต้น
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าโครงสร้างภายในรากพืชสามารถแบ่ง
ออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างปลายแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของราก” ว่า
> การปลูกพืชโดยใช้เมล็ดซึ่งเป็นกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช จะมีการ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืชและสามารถเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ลาต้น
กับใบ (น้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้าและแร่ธาตุ)
> โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว
ขนาด และจานวนมากขึ้น โดยรากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืช
ใบเลี้ยงเดียวจะเป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม
> หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น
▪ primary or tap root สามารถแตกแขนงเป็นรากแขนงซึ่งเจริญมาจาก pericycle
▪ adventitious root เป็นรากพิเศษที่เจริญมาจากส่วนอื่นที่ไม่ใช่ radicle เช่น ลาต้นหรือใบ
▪ fibrous root เป็นรากฝอยที่ไม่ได้เจริญขึ้นมาจากรากเดิม พบในพืชใบเลี้ยงคู่
> โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน
ได้แก่
• epidermis = รอบนอกสุด ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน บางเซลล์เจริญเปลี่ยนแปลง
เป็นขนราก
• pith area = monocotyledon
• cortex = parenchyma cell ,endodermis (casparian strip)
• stele = pericycle ,vascular bundle (xylem ,phloem)
1. xylem = vessel ,tracheid ,parenchyma ,fiber
2. phloem = sieve tube ,companion cell
> โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่
▪ Root cap = parenchyma cell ที่เจริญเต็มที่แล้วป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญชั้น
ถัดไป
▪ Region of cell division = apical initials แบ่งแบบ mitosis ตลอดเวลาเจริญเป็น
ส่วนประกอบต่างๆของรากต่อไป
▪ Region of cell elongation = เซลล์จะมีการขยายตัวตามยาว ทาให้ความยาวของรากเพิ่ม
มากขึ้น
▪ Region of cell differentiation and maturation = เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไป
ทาหน้าที่ต่างๆหลายชนิดตามลักษณะรูปร่างองค์ประกอบภายใน
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของรากพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช
การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา
บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช: www.google.com
8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช: www.youtube.com
8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช
9. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
สู่ตัวชีวัด
ชินงาน/
ภาระงาน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
การประเมิน
ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน
1.การอธิบายความหมาย
องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้าง
และหน้าที่ของรากพืช
2.การเขียนสรุปหน้าที่
กระบวนการทางานและ
โครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของรากพืช
ทดสอบเก็บ
คะแนนประจา
บทเรียน
ใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
แบบทดสอบประจา
บทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
ใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
ครูผู้สอน
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 50%
ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 80%
3.ตระหนักถึงความสาคัญ
ของโครงสร้างและหน้าที่
ของรากพืชต่อ
กระบวนการดารงชีวิต
ของพืช
สมุดบันทึกการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียน
ตรวจสมุดบันทึก
การเรียนการสอน
ประจาบทเรียน
การสังเกต
ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับ
เนื้อหาที่ทาการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียนจริง
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ความถูกต้อง
ครบถ้วน ในเนื้อหา
ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึกไม่
น้อยกว่าระดับ 3
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็น ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ความรู้ (K)
2. ทักษะ
กระบวนการ (P)
3. คุณลักษณะ (A)
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ การเอาใจใส่
และมีส่วนร่วมในการ
เรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
พอสมควร
ใบงานหรือแบบฝึกหัด
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
การมีวินัยและความ
รับผิดชอบต่องานที่
มอบหมายในบางครั้ง
การแปลความหมาย
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
10. บันทึกผลหลังการสอน
10.1 สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ตาแหน่ง ครู คศ.1
ครูผู้สอน
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นาไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ)....................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน
 เน้นการคิด
 มีการบูรณาการ
 ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง
 มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(………………………………………………………….)
ตาแหน่ง
………………………………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา
3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ
สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช เขียนสรุป
หน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษา
ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชได้อย่าง
ถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืชได้
อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างเหมาะสม
3. สาระสาคัญ
* ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมีตา ทา
หน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า
* เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดตัดตามยาวผ่านบริเวณกลางยอดอ่อน สามารถแบ่งออกได้เป็น
- apical meristem หรือ เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด
- leaf primordial หรือ ใบแรกเกิด
- young leaf หรือ ใบอ่อน
- young stem หรือ ลาต้นอ่อน
รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
* โครงสร้างภายในของลาต้นเมื่อตัดตามขวางแบ่งเป็น epidermis ,cortex ,stele (vascular bundle
,vascular ray ,pith)
* การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมีส่วนประกอบสาคัญ คือ
- vascular cambium
- annual ring
- heart wood + sap wood = wood
- bark : outer bark (periderm) + inner bark (phloem)
* หน้าที่และชนิดของลาต้น คือ
- สร้างใบและกิ่ง ,ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ,ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด ,ลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และ
สารต่างๆที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
* หน้าที่พิเศษอื่นๆของลาต้น ได้แก่
- ลาต้นหนาม ,ลาต้นมือเกาะ ,ลาต้นอวบอุ้มน้า ,ลาต้นสังเคราะห์ด้วยแสง ,ลาต้นสะสมอาหารอยู่ใต้
ดิน ,ลาต้นเลื้อยขนานผิวดินหรือผิวน้า เป็นต้น
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้ (K)
การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช
5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืช
5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ
นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช
สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่
ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น
international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube
หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี
โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์
นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป
7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างของลาต้นเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
แนวตอบ : โครงสร้างล้าต้นโดยทั่วไปมีลักษณะตั้งตรงและมีความแข็งแรงมากกว่าส่วนอื่นๆ ของพืชซึ่ง
เหมาะสมกับหน้าที่คงโครงสร้างพืชและการล้าเลียงสารต่างๆ ภายในพืช
> ลาต้นสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่พบได้เป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง
แนวตอบ : โครงสร้างภายในล้าต้นสามารถแบ่งเนื้อเยื่อที่พบออกได้เป็นชั้นๆ จากชั้นนอกสุดเข้าสู่ชั้นในสุด
ได้แก่ epidermis ,cortex ,vascular tissue (phloem + xylem) และ pith
> หน้าที่สาคัญของลาต้นต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
แนวตอบ : ล้าต้นพืชโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ล้าต้นเหนือดิน และล้าต้นใต้ดิน ทั้งนี้
หน้าที่โดยทั่วไป คือ การคงโครงสร้างและการล้าเลียงสารต่างๆ ภายในพืช นอกจากนี้ยังสามารถพบหน้าที่
พิเศษต่างๆ เช่น ล้าต้นสังเคราะห์ด้วยแสงแทนใบ ล้าต้นเลื้อยขนานผิวดินหรือผิวน้้า เป็นต้น
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดของลาต้นพืช
สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างปลายยอดแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช” ว่า
> ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมี
ตา ทาหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า
> เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด เมื่อตัดตามยาวผ่านกลางแล้วนาไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์
แล้ว แบ่งได้เป็น 4 บริเวณ
▪ Apical meristem ปลายสุดแบ่งตัวตลอดเวลา
▪ Leaf primordial ด้านข้างของปลายยอดเป็นขอบของความโค้งทั้ง 2 ข้าง
▪ Young leaf ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงต่อไป
▪ Young stem อยู่ถัดลงมายังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังมีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดต่อไปได้
อีก
> โครงสร้างภายในของลาต้น เมื่อตัดตามขวางแล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น
▪ Epidermis อยู่ชั้นนอกสุดเป็นเซลล์ผิวเรียงเป็นชั้นเดียว มีสาร cuticle เคลือบอยู่
▪ Cortex อยู่ถัดเข้ามามีหลายชนิดส่วนใหญ่เป็น parenchyma ,collenchyma
▪ Stele ในพืชใบเลี้ยงคู่กว้างมากแยกจาก cortex ไม่ชัดเจน ประกอบด้วย
o Vascular bundle = xylem and phloem
o Vascular ray = parenchyma between vascular bundle
o Pith = parenchyma (starch storage) or Pith cavity (monocotyledon)
> การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี
▪ vascular cambium = secondary vascular bundle
▪ annual ring = แถบของ xylem ที่มีสีจางและเข้มสลับกันในแต่ละปี
▪ heart wood (xylem ที่ไม่ได้ทาหน้าที่แล้ว) + sap wood (xylem ที่
ยังคงทาหน้าที่อยู่) = wood
▪ bark ในพืชอายุน้อย = epidermis + cortex + phloem ส่วนในพืชที่มี
อายุมาก = cork + cork cambium
> หน้าที่และชนิดของลาต้น คือ
➢ สร้างใบและกิ่ง
➢ ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา
➢ ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด
➢ ลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
➢ หน้าที่พิเศษอื่นๆของลาต้น ได้แก่ หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้า ,สังเคราะห์ ,สะสม
อาหารอยู่ใต้ดิน
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่
ละบริเวณของลาต้นพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช
การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา
บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช: www.google.com
8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช: www.youtube.com
8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช
9. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
สู่ตัวชีวัด
ชินงาน/
ภาระงาน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
การประเมิน
ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน
1.การอธิบายความหมาย
องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้าง
และหน้าที่ของลาต้นพืช
ทดสอบเก็บ
คะแนนประจา
บทเรียน
ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
แบบทดสอบประจา
บทเรียน
ครูผู้สอน ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 50%
2.การเขียนสรุปหน้าที่
กระบวนการทางานและ
โครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของลาต้นพืช
3.ตระหนักถึงความสาคัญ
ของโครงสร้างและหน้าที่
ของลาต้นพืชต่อ
กระบวนการดารงชีวิต
ของพืช
ใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
สมุดบันทึกการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียน
ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
ตรวจสมุดบันทึก
การเรียนการสอน
ประจาบทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
ใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
การสังเกต
ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับ
เนื้อหาที่ทาการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียนจริง
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 80%
ความถูกต้อง
ครบถ้วน ในเนื้อหา
ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึกไม่
น้อยกว่าระดับ 3
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็น ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ความรู้ (K)
2. ทักษะ
กระบวนการ (P)
3. คุณลักษณะ (A)
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ การเอาใจใส่
และมีส่วนร่วมในการ
เรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
พอสมควร
ใบงานหรือแบบฝึกหัด
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
การมีวินัยและความ
รับผิดชอบต่องานที่
มอบหมายในบางครั้ง
การแปลความหมาย
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
10. บันทึกผลหลังการสอน
10.1 สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ตาแหน่ง ครู คศ.1
ครูผู้สอน
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นาไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ)....................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน
 เน้นการคิด
 มีการบูรณาการ
 ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง
 มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(………………………………………………………….)
ตาแหน่ง
………………………………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา
3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ
สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช เขียนสรุปหน้าที่
และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชได้อย่าง
ถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชได้อย่าง
ถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างเหมาะสม
3. สาระสาคัญ
* ใบทาหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จาเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และ
คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออานวย
* โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้
- blade หรือ ตัวใบ
- petiole / petiolule หรือ ก้านใบ / ก้านใบย่อย
- stipule หรือ หูใบ
- vein / midrib หรือ เส้นใบ / เส้นกลางใบ
รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
- plastid (chlorophyll , phycobilin ,carotenoid) หรือ เม็ดสีของใบในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง
* การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
- simple leaf หรือ ใบเดี่ยว
- compound leaf หรือ ใบประกอบ ได้แก่ ใบประกอบแบบขนนกและใบประกอบแบบนิ้วมือ
* โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วนามาศึกษาภายใต้
กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น
- Epidermis (guard cell and stoma) ,mesophyll (palisade mesophyll and spongy
mesophyll) ,vascular bundle (bundle sheath)
* หน้าที่ของใบ ได้แก่
- สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง ,หายใจ ,คายน้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ ,ป้องกันตัว ,สงวนน้า ,เก็บ
สะสมอาหาร ,ทุ่นลอยน้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงลาต้น ,ดักจับแมลง
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความรู้ (K)
การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช
5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืช
5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ
นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช สามารถ
เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จาก
การศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก
แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น
international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube
หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี
โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์
นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป
7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
แนวตอบ : โครงสร้างของใบโดยทั่วใบมีลักษณะแบนและแผ่กว้าง ภายในมีองค์ประกอบเม็ดสีที่สามารถ
ดูดกลืนพลังงานแสงใช้ในกระบวนการสร้างอาหารของพืช (photosynthesis) นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบ
ของปากใบเพื่อใช้ในกระบวนการคายน้้าอีกด้วย
> เราสามารถแบ่งใบออกตามลักษณะการจัดเรียงตัวได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
แนวตอบ : การจัดเรียงตัวของใบโดยทั่วไปสามารถแบบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ การจัดเรียงตัวแบบสลับ
การจัดเรียงตัวแบบตรงข้าม และการจัดเรียงตัวแบบวงรอบ
> หน้าที่สาคัญของใบต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง
แนวตอบ : ใบของพืชมีหน้าที่โดยทั่วไป คือ การสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารในแก่พืช การคายน้้าเพื่อ
การรักษาสมดุลอุณหภูมิภายในพืชและการล้าเลียงสาร นอกจากนี้ยังมีหน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น ใบประดับที่มี
สีสันสวยงามเพื่อล่อแมลงผสมเกสรแทนกลีบดอก เป็นต้น
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี
ความสัมพันธ์กับการสังเคราะห์หรือไม่อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
โครงสร้างภายในใบแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช” ว่า
> ใบทาหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จาเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และ
คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออานวยต่อการสังเคราะห์แสงอย่างมีประสิทธิภาพ
> โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย
➢ blade ลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่ขยาย
➢ petiole เชื่อมติดใบกับลาต้นหรือกิ่งทางด้านข้าง
➢ stipule อยู่ที่โคนก้านใบอาจมีหรือไม่มีก็ได้
➢ vein and midrib แตกแขนงในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่จะขนานกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
➢ plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid) ดูดกลืนพลังงานแสงใน
กระบวนการสังเคราะห์แสง
> การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
➢ simple leaf 1 ก้านจะมีใบเพียงใบเดียว
➢ compound leaf 1 ก้านจะมีใบหลายใบ
> โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วนามา
ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น
➢ epidermis (guard cell and stoma)
➢ mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll)
➢ vascular bundle (bundle sheath)
> หน้าที่ของใบ ได้แก่
➢ สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง
➢ หายใจ ,คายน้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ
➢ ป้องกันตัว
➢ สงวนน้า ,เก็บสะสมอาหาร
➢ ทุ่นลอยน้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงลาต้น
➢ ดักจับแมลง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยา
ในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช
การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา
บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช: www.google.com
8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช: www.youtube.com
8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช
9. การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
สู่ตัวชีวัด
ชินงาน/
ภาระงาน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
การประเมิน
ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน
1.การอธิบายความหมาย
องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้าง
และหน้าที่ของใบพืช
2.การเขียนสรุปหน้าที่
กระบวนการทางานและ
โครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของใบพืช
3.ตระหนักถึงความสาคัญ
ของโครงสร้างและหน้าที่
ของใบพืชต่อกระบวนการ
ดารงชีวิตของพืช
ทดสอบเก็บ
คะแนนประจา
บทเรียน
ใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
สมุดบันทึกการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียน
ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัด
ทบทวนประจา
บทเรียน
ตรวจสมุดบันทึก
การเรียนการสอน
ประจาบทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
แบบทดสอบประจา
บทเรียน
การตรวจสอบ
คาตอบกับคาเฉลย
ใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
การสังเกต
ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับ
เนื้อหาที่ทาการ
เรียนการสอน
ประจาบทเรียนจริง
ครูผู้สอน
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ครูผู้สอน
และนักเรียน
ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 50%
ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่
ต่ากว่า 80%
ความถูกต้อง
ครบถ้วน ในเนื้อหา
ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึกไม่
น้อยกว่าระดับ 3
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็น ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ความรู้ (K)
2. ทักษะ
กระบวนการ (P)
3. คุณลักษณะ (A)
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
เรียบร้อยและส่งตรงเวลา
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ การเอาใจใส่
และมีส่วนร่วมในการ
เรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง ครบถ้วน
และเรียบร้อย
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี
ความถูกต้อง และ
ครบถ้วน
การมีวินัย ความ
รับผิดชอบ และการเอา
ใจใส่ในการเรียน
พอสมควร
ใบงานหรือแบบฝึกหัด
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
ใบกิจกรรมการเรียนรู้
มีความถูกต้อง
บางส่วนแต่ไม่
ครบถ้วน
การมีวินัยและความ
รับผิดชอบต่องานที่
มอบหมายในบางครั้ง
การแปลความหมาย
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
10. บันทึกผลหลังการสอน
10.1 สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.................................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ตาแหน่ง ครู คศ.1
ครูผู้สอน
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
 นาไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ)...............................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
 มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน
 เน้นการคิด
 มีการบูรณาการ
 ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง
 มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................
(………………………………………………………….)
ตาแหน่ง
………………………………………………………………….
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62

More Related Content

What's hot

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

Similar to Lessonplanunit2 plantkruwichai62

Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 

Similar to Lessonplanunit2 plantkruwichai62 (20)

Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lessonplanunit2 plantkruwichai62

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช จานวน 7 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 19 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง กระบวนการคายนาของพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง กระบวนการลาเลียงนาของพืช ระยะเวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง กระบวนการลาเลียงแร่ธาตุของพืช ระยะเวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง กระบวนการลาเลียงสารอาหาร ระยะเวลา 3 ชั่วโมง จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา 3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช เขียนสรุป หน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด 2.1 สามารถอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชได้ อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืชได้อย่าง ถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างเหมาะสม 3. สาระสาคัญ * การปลูกพืชโดยใช้เมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืช และสามารถเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ลาต้นกับใบ (น้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้าและแร่ธาตุ) * โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว ขนาด และ จานวนมากขึ้น * รากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงคู่จะเป็นรากที่ไม่ได้ เจริญมาจากรากเดิม * หน้าที่และชนิดของราก สามารถแบ่งออกได้เป็น - primary root or tap root รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
  • 3. - secondary root or lateral root - adventitious root : fibrous root * โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน ได้แก่ - Epidermis, cortex, stele (pericycle, vascular bundle: xylem and phloem) * โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่ - Root cap - Region of cell division - Region of cell elongation - Region of cell differentiation and maturation 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช 5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P) การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืช 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช สามารถ เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จาก การศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป 7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างของรากเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร แนวตอบ รากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบางส่วนเพื่อการเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมน้้าและแร่ธาตุจากดินเพื่อ ล้าเลียงสู่ยอดต่อไป > รากสามารถแบ่งออกตามลักษณะที่พบโดยทั่วไปได้เป็นกี่ประเภท แนวตอบ รากโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ รากปฐมภูมิหรือรากแก้ว รากทุติยภูมิหรือ รากแขนง และรากพิเศษซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อส่วนล้าต้น เช่น รากฝอย รากค้้าจุน เป็นต้น
  • 4. > หน้าที่สาคัญของรากต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง แนวตอบ หน้าที่ส้าคัญทั่วไปของโครงสร้างราก ได้แก่ การยึดเกาะดินเพื่อพยุงล้าต้น การดูดซึมน้้าและแร่ธาตุ จากดินเพื่อล้าเลียงขึ้นสู่ยอด เป็นต้น ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าโครงสร้างภายในรากพืชสามารถแบ่ง ออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างปลายแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของราก” ว่า > การปลูกพืชโดยใช้เมล็ดซึ่งเป็นกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช จะมีการ เปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นพืชและสามารถเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในเวลาเดียวกัน คือ ลาต้น กับใบ (น้า อากาศ และแสงสว่าง) และราก (น้าและแร่ธาตุ) > โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก เมื่องอกออกจากเมล็ดแล้วจะมีการเพิ่มความยาว ขนาด และจานวนมากขึ้น โดยรากของพืชใบเลี้ยงคู่เป็นรากสาขาที่เจริญออกมาจากรากเดิม ส่วนรากของพืช ใบเลี้ยงเดียวจะเป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากรากเดิม > หน้าที่และชนิดของราก แบ่งเป็น ▪ primary or tap root สามารถแตกแขนงเป็นรากแขนงซึ่งเจริญมาจาก pericycle ▪ adventitious root เป็นรากพิเศษที่เจริญมาจากส่วนอื่นที่ไม่ใช่ radicle เช่น ลาต้นหรือใบ ▪ fibrous root เป็นรากฝอยที่ไม่ได้เจริญขึ้นมาจากรากเดิม พบในพืชใบเลี้ยงคู่ > โครงสร้างภายในของรากตัดตามขวางใน primary growth แบ่งเนื้อเยื่อแตกต่างกันชัดเจน ได้แก่ • epidermis = รอบนอกสุด ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน บางเซลล์เจริญเปลี่ยนแปลง เป็นขนราก
  • 5. • pith area = monocotyledon • cortex = parenchyma cell ,endodermis (casparian strip) • stele = pericycle ,vascular bundle (xylem ,phloem) 1. xylem = vessel ,tracheid ,parenchyma ,fiber 2. phloem = sieve tube ,companion cell > โครงสร้างปลายรากอาจแบ่งออกเป็นบริเวณต่างๆ ได้แก่ ▪ Root cap = parenchyma cell ที่เจริญเต็มที่แล้วป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญชั้น ถัดไป ▪ Region of cell division = apical initials แบ่งแบบ mitosis ตลอดเวลาเจริญเป็น ส่วนประกอบต่างๆของรากต่อไป ▪ Region of cell elongation = เซลล์จะมีการขยายตัวตามยาว ทาให้ความยาวของรากเพิ่ม มากขึ้น ▪ Region of cell differentiation and maturation = เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไป ทาหน้าที่ต่างๆหลายชนิดตามลักษณะรูปร่างองค์ประกอบภายใน นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของรากพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
  • 6. ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของรากพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของรากพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช: www.google.com 8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช: www.youtube.com 8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของรากพืช 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ สู่ตัวชีวัด ชินงาน/ ภาระงาน วิธีการประเมิน เครื่องมือ การประเมิน ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน 1.การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้าง และหน้าที่ของรากพืช 2.การเขียนสรุปหน้าที่ กระบวนการทางานและ โครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของรากพืช ทดสอบเก็บ คะแนนประจา บทเรียน ใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนน ประจาบทเรียน ตรวจใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย แบบทดสอบประจา บทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย ใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน ครูผู้สอน ครูผู้สอน และนักเรียน ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 50% ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 80%
  • 7. 3.ตระหนักถึงความสาคัญ ของโครงสร้างและหน้าที่ ของรากพืชต่อ กระบวนการดารงชีวิต ของพืช สมุดบันทึกการ เรียนการสอน ประจาบทเรียน ตรวจสมุดบันทึก การเรียนการสอน ประจาบทเรียน การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับ เนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอน ประจาบทเรียนจริง ครูผู้สอน และนักเรียน ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึกไม่ น้อยกว่าระดับ 3 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ความรู้ (K) 2. ทักษะ กระบวนการ (P) 3. คุณลักษณะ (A) ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา การมีวินัย ความ รับผิดชอบ การเอาใจใส่ และมีส่วนร่วมในการ เรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน พอสมควร ใบงานหรือแบบฝึกหัด มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้ มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน การมีวินัยและความ รับผิดชอบต่องานที่ มอบหมายในบางครั้ง การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง 10. บันทึกผลหลังการสอน 10.1 สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................
  • 8. ลงชื่อ................................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครูผู้สอน ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่  นาไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ).................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้  มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน  เน้นการคิด  มีการบูรณาการ  ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง  มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................................. (………………………………………………………….) ตาแหน่ง ………………………………………………………………….
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา 3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช เขียนสรุป หน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษา ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชได้อย่าง ถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืชได้ อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างเหมาะสม 3. สาระสาคัญ * ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมีตา ทา หน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า * เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดตัดตามยาวผ่านบริเวณกลางยอดอ่อน สามารถแบ่งออกได้เป็น - apical meristem หรือ เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด - leaf primordial หรือ ใบแรกเกิด - young leaf หรือ ใบอ่อน - young stem หรือ ลาต้นอ่อน รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
  • 10. * โครงสร้างภายในของลาต้นเมื่อตัดตามขวางแบ่งเป็น epidermis ,cortex ,stele (vascular bundle ,vascular ray ,pith) * การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมีส่วนประกอบสาคัญ คือ - vascular cambium - annual ring - heart wood + sap wood = wood - bark : outer bark (periderm) + inner bark (phloem) * หน้าที่และชนิดของลาต้น คือ - สร้างใบและกิ่ง ,ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ,ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด ,ลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และ สารต่างๆที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต * หน้าที่พิเศษอื่นๆของลาต้น ได้แก่ - ลาต้นหนาม ,ลาต้นมือเกาะ ,ลาต้นอวบอุ้มน้า ,ลาต้นสังเคราะห์ด้วยแสง ,ลาต้นสะสมอาหารอยู่ใต้ ดิน ,ลาต้นเลื้อยขนานผิวดินหรือผิวน้า เป็นต้น 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช 5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P) การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืช 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช สามารถเขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป 7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างของลาต้นเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
  • 11. แนวตอบ : โครงสร้างล้าต้นโดยทั่วไปมีลักษณะตั้งตรงและมีความแข็งแรงมากกว่าส่วนอื่นๆ ของพืชซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่คงโครงสร้างพืชและการล้าเลียงสารต่างๆ ภายในพืช > ลาต้นสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่พบได้เป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง แนวตอบ : โครงสร้างภายในล้าต้นสามารถแบ่งเนื้อเยื่อที่พบออกได้เป็นชั้นๆ จากชั้นนอกสุดเข้าสู่ชั้นในสุด ได้แก่ epidermis ,cortex ,vascular tissue (phloem + xylem) และ pith > หน้าที่สาคัญของลาต้นต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง แนวตอบ : ล้าต้นพืชโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ล้าต้นเหนือดิน และล้าต้นใต้ดิน ทั้งนี้ หน้าที่โดยทั่วไป คือ การคงโครงสร้างและการล้าเลียงสารต่างๆ ภายในพืช นอกจากนี้ยังสามารถพบหน้าที่ พิเศษต่างๆ เช่น ล้าต้นสังเคราะห์ด้วยแสงแทนใบ ล้าต้นเลื้อยขนานผิวดินหรือผิวน้้า เป็นต้น ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเนื้อเยื่อบริเวณปลายยอดของลาต้นพืช สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ส่วนอะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างปลายยอดแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช” ว่า > ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก มีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมี ตา ทาหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า > เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด เมื่อตัดตามยาวผ่านกลางแล้วนาไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แล้ว แบ่งได้เป็น 4 บริเวณ ▪ Apical meristem ปลายสุดแบ่งตัวตลอดเวลา ▪ Leaf primordial ด้านข้างของปลายยอดเป็นขอบของความโค้งทั้ง 2 ข้าง ▪ Young leaf ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงต่อไป ▪ Young stem อยู่ถัดลงมายังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ยังมีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดต่อไปได้ อีก
  • 12. > โครงสร้างภายในของลาต้น เมื่อตัดตามขวางแล้วศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น ▪ Epidermis อยู่ชั้นนอกสุดเป็นเซลล์ผิวเรียงเป็นชั้นเดียว มีสาร cuticle เคลือบอยู่ ▪ Cortex อยู่ถัดเข้ามามีหลายชนิดส่วนใหญ่เป็น parenchyma ,collenchyma ▪ Stele ในพืชใบเลี้ยงคู่กว้างมากแยกจาก cortex ไม่ชัดเจน ประกอบด้วย o Vascular bundle = xylem and phloem o Vascular ray = parenchyma between vascular bundle o Pith = parenchyma (starch storage) or Pith cavity (monocotyledon) > การเจริญเติบโตขั้นที่สองของพืชใบเลี้ยงคู่ โดยมี ▪ vascular cambium = secondary vascular bundle ▪ annual ring = แถบของ xylem ที่มีสีจางและเข้มสลับกันในแต่ละปี ▪ heart wood (xylem ที่ไม่ได้ทาหน้าที่แล้ว) + sap wood (xylem ที่ ยังคงทาหน้าที่อยู่) = wood ▪ bark ในพืชอายุน้อย = epidermis + cortex + phloem ส่วนในพืชที่มี อายุมาก = cork + cork cambium > หน้าที่และชนิดของลาต้น คือ ➢ สร้างใบและกิ่ง ➢ ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ➢ ชูใบให้กางออกเพื่อรับแสงแดด ➢ ลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และสารต่างๆที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
  • 13. ➢ หน้าที่พิเศษอื่นๆของลาต้น ได้แก่ หนาม ,มือเกาะ ,อวบอุ้มน้า ,สังเคราะห์ ,สะสม อาหารอยู่ใต้ดิน นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ ละบริเวณของลาต้นพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของลาต้นพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช: www.google.com 8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช: www.youtube.com 8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้นพืช 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ สู่ตัวชีวัด ชินงาน/ ภาระงาน วิธีการประเมิน เครื่องมือ การประเมิน ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน 1.การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้าง และหน้าที่ของลาต้นพืช ทดสอบเก็บ คะแนนประจา บทเรียน ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนน ประจาบทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย แบบทดสอบประจา บทเรียน ครูผู้สอน ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 50%
  • 14. 2.การเขียนสรุปหน้าที่ กระบวนการทางานและ โครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของลาต้นพืช 3.ตระหนักถึงความสาคัญ ของโครงสร้างและหน้าที่ ของลาต้นพืชต่อ กระบวนการดารงชีวิต ของพืช ใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน สมุดบันทึกการ เรียนการสอน ประจาบทเรียน ตรวจใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน ตรวจสมุดบันทึก การเรียนการสอน ประจาบทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย ใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับ เนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอน ประจาบทเรียนจริง ครูผู้สอน และนักเรียน ครูผู้สอน และนักเรียน ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 80% ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึกไม่ น้อยกว่าระดับ 3 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ความรู้ (K) 2. ทักษะ กระบวนการ (P) 3. คุณลักษณะ (A) ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา การมีวินัย ความ รับผิดชอบ การเอาใจใส่ และมีส่วนร่วมในการ เรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน พอสมควร ใบงานหรือแบบฝึกหัด มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้ มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน การมีวินัยและความ รับผิดชอบต่องานที่ มอบหมายในบางครั้ง การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง 10. บันทึกผลหลังการสอน 10.1 สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................
  • 15. 10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครูผู้สอน ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่  นาไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ).................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้  มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน  เน้นการคิด  มีการบูรณาการ  ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง  มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................................. (………………………………………………………….) ตาแหน่ง ………………………………………………………………….
  • 16. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง : สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม : สาระชีววิทยา 3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืช การ สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีวัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช เขียนสรุปหน้าที่ และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีวัด 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชได้อย่าง ถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชได้อย่าง ถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างเหมาะสม 3. สาระสาคัญ * ใบทาหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จาเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และ คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออานวย * โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ - blade หรือ ตัวใบ - petiole / petiolule หรือ ก้านใบ / ก้านใบย่อย - stipule หรือ หูใบ - vein / midrib หรือ เส้นใบ / เส้นกลางใบ รหัสวิชา ว 30243 รายวิชา ชีววิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืช เวลา 3 ชั่วโมง
  • 17. - plastid (chlorophyll , phycobilin ,carotenoid) หรือ เม็ดสีของใบในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง * การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ - simple leaf หรือ ใบเดี่ยว - compound leaf หรือ ใบประกอบ ได้แก่ ใบประกอบแบบขนนกและใบประกอบแบบนิ้วมือ * โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วนามาศึกษาภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น - Epidermis (guard cell and stoma) ,mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll) ,vascular bundle (bundle sheath) * หน้าที่ของใบ ได้แก่ - สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง ,หายใจ ,คายน้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ ,ป้องกันตัว ,สงวนน้า ,เก็บ สะสมอาหาร ,ทุ่นลอยน้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงลาต้น ,ดักจับแมลง 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช 5.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P) การเขียนสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืช 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ นักเรียนเข้าใจความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช สามารถ เขียนสรุปหน้าที่และโครงสร้างสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จาก การศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต ครูผู้สอนแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียนมีการสืบค้นเนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก แหล่งการเรียนรู้ทางด้านวิชาการที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น international textbook ,research paper , journal ในวารสารวิชาการ , คลิปการเรียนรู้ใน you tube หรือบทความวิชาการใน website ขององค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีชื่อเสียง เพื่อนักเรียนจะได้มี โอกาสศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้งพร้อมที่จะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการศึกษาขั้นสูงในระดับอุดมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและต่อยอดในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป 7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างของใบเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
  • 18. แนวตอบ : โครงสร้างของใบโดยทั่วใบมีลักษณะแบนและแผ่กว้าง ภายในมีองค์ประกอบเม็ดสีที่สามารถ ดูดกลืนพลังงานแสงใช้ในกระบวนการสร้างอาหารของพืช (photosynthesis) นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบ ของปากใบเพื่อใช้ในกระบวนการคายน้้าอีกด้วย > เราสามารถแบ่งใบออกตามลักษณะการจัดเรียงตัวได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง แนวตอบ : การจัดเรียงตัวของใบโดยทั่วไปสามารถแบบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ การจัดเรียงตัวแบบสลับ การจัดเรียงตัวแบบตรงข้าม และการจัดเรียงตัวแบบวงรอบ > หน้าที่สาคัญของใบต่อการดารงชีวิตเพื่อความอยู่รอดของพืชมีอะไรบ้าง แนวตอบ : ใบของพืชมีหน้าที่โดยทั่วไป คือ การสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารในแก่พืช การคายน้้าเพื่อ การรักษาสมดุลอุณหภูมิภายในพืชและการล้าเลียงสาร นอกจากนี้ยังมีหน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น ใบประดับที่มี สีสันสวยงามเพื่อล่อแมลงผสมเกสรแทนกลีบดอก เป็นต้น ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะภายในและภายนอกของใบมี ความสัมพันธ์กับการสังเคราะห์หรือไม่อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น โครงสร้างภายในใบแต่ละบริเวณมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช” ว่า > ใบทาหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงและปัจจัยที่จาเป็น ได้แก่ แสง คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และ คลอโรฟิลล์ ดังนั้นโครงสร้างของใบจึงต้องเอื้ออานวยต่อการสังเคราะห์แสงอย่างมีประสิทธิภาพ > โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย ➢ blade ลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่ขยาย ➢ petiole เชื่อมติดใบกับลาต้นหรือกิ่งทางด้านข้าง ➢ stipule อยู่ที่โคนก้านใบอาจมีหรือไม่มีก็ได้ ➢ vein and midrib แตกแขนงในพืชใบเลี้ยงคู่ แต่จะขนานกันในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
  • 19. ➢ plastid (chlorophyll ,anthocyanin ,carotenoid) ดูดกลืนพลังงานแสงใน กระบวนการสังเคราะห์แสง > การเรียงตัวของใบแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ➢ simple leaf 1 ก้านจะมีใบเพียงใบเดียว ➢ compound leaf 1 ก้านจะมีใบหลายใบ > โครงสร้างภายในของใบ แตกต่างตามชนิดและสภาพแวดล้อม เมื่อตัดตามขวางแล้วนามา ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ แบ่งออกเป็น ➢ epidermis (guard cell and stoma) ➢ mesophyll (palisade mesophyll and spongy mesophyll) ➢ vascular bundle (bundle sheath)
  • 20. > หน้าที่ของใบ ได้แก่ ➢ สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์แสง ➢ หายใจ ,คายน้า ,แลกเปลี่ยนก๊าซ ➢ ป้องกันตัว ➢ สงวนน้า ,เก็บสะสมอาหาร ➢ ทุ่นลอยน้า ,เลื้อยพันยึดเกาะและพยุงลาต้น ➢ ดักจับแมลง นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยา ในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 8.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 8.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 8.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 8.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 8.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช: www.google.com 8.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช: www.youtube.com
  • 21. 8.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ สู่ตัวชีวัด ชินงาน/ ภาระงาน วิธีการประเมิน เครื่องมือ การประเมิน ผู้ประเมิน เกณฑ์ประเมิน 1.การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้าง และหน้าที่ของใบพืช 2.การเขียนสรุปหน้าที่ กระบวนการทางานและ โครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของใบพืช 3.ตระหนักถึงความสาคัญ ของโครงสร้างและหน้าที่ ของใบพืชต่อกระบวนการ ดารงชีวิตของพืช ทดสอบเก็บ คะแนนประจา บทเรียน ใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน สมุดบันทึกการ เรียนการสอน ประจาบทเรียน ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนน ประจาบทเรียน ตรวจใบงาน แบบฝึกหัด ทบทวนประจา บทเรียน ตรวจสมุดบันทึก การเรียนการสอน ประจาบทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย แบบทดสอบประจา บทเรียน การตรวจสอบ คาตอบกับคาเฉลย ใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับ เนื้อหาที่ทาการ เรียนการสอน ประจาบทเรียนจริง ครูผู้สอน ครูผู้สอน และนักเรียน ครูผู้สอน และนักเรียน ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 50% ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ ต่ากว่า 80% ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึกไม่ น้อยกว่าระดับ 3 เกณฑ์การประเมิน ประเด็น ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ความรู้ (K) 2. ทักษะ กระบวนการ (P) 3. คุณลักษณะ (A) ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน เรียบร้อยและส่งตรงเวลา การมีวินัย ความ รับผิดชอบ การเอาใจใส่ และมีส่วนร่วมในการ เรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเรียบร้อย การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน ใบงานหรือแบบฝึกหัดมี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้มี ความถูกต้อง และ ครบถ้วน การมีวินัย ความ รับผิดชอบ และการเอา ใจใส่ในการเรียน พอสมควร ใบงานหรือแบบฝึกหัด มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน ใบกิจกรรมการเรียนรู้ มีความถูกต้อง บางส่วนแต่ไม่ ครบถ้วน การมีวินัยและความ รับผิดชอบต่องานที่ มอบหมายในบางครั้ง การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง 10. บันทึกผลหลังการสอน 10.1 สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................
  • 22. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 10.2 ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 10.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ตาแหน่ง ครู คศ.1 ครูผู้สอน ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย แผนการจัดการเรียนรู้ของ..........................................................................................สรุปผล ดังนี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่  นาไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ (ระบุ)............................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้  มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน  เน้นการคิด  มีการบูรณาการ  ฝึกทักษะการปฏิบัติจริง  มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (………………………………………………………….) ตาแหน่ง ………………………………………………………………….