SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ประเภทข้อสอบ : ข้อสอบ PAT1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วันที่สอบ : 3 มีนาคม 2555
รหัสวิชา : 71 ชื่อวิชา : ความถนัดทางคณิตศาสตร์ จานวนข้อสอบ ปรนัย : 25
อัตนัย : 25
ส่วนที่ 1 : จานวน 25 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 125 คะแนน
คาสั่ง : แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แต่ละข้อมีคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สาหรับเซต S ใดๆ ให้ S
แทนคอมพลีเมนต์ของเซต S กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซตใน
เอกภพสัมพัทธ์ U โดยที่ A B B  , C A และB C   ถ้าเซต U มีสมาชิก 12 ตัว เซต
A B  มีสมาชิก 10 ตัว และเซต A B มีสมาชิก 4 ตัว แล้วจะมีเซต C ทั้งหมดกี่เซต
1. 60 เซต 2. 48 เซต
3. 16 เซต 4. 8 เซต
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
กาหนด A B B  , C A และ B C  
n(U) 12 , n(A B ) 10   , n(A B ) 4 
เขียนแผนภาพได้ดังนี้
A
B
C
1
2
3
4
5
U
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
จาก n(A B )  = n(A B) (บริเวณ  +  + )
10 = n(A B) (บริเวณ  +  + )
10 = n(B) (บริเวณ  +  + )
จะได้ n(B) = 12 10 (บริเวณ  + )
= 2
และ n(A B ) = n(A B) (บริเวณ  + )
4 = n(A B) (บริเวณ  + )
บริเวณ  +  +  +  = n(A) 6
จานวนเซต C = สับเซตทั้งหมดของเซต A – สับเซตของ A ที่อินเตอร์เชกชันกับเซต B
แล้วเป็นเซตว่าง
= 6 4
2 2
= 64 16
= 48 เซต
2. กาหนดให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ใดๆ ประพจน์   [(p q) p] [(r s) (r s)]     
สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. p r 2. q r
3. (p r) (q r)   4. (q r) (q s)  
เฉลย ตอบตัวเลือก 3
[(p q) p] [(r s) (r s)]          [(p p) ( q p)] [r (s s)]         
 [T ( q p)] [r F]     
 ( q p) r   
 ( q p) r    
 (q p) r 
 (q r) (p r)  
 (p r) (q r)  
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
3. ถ้า A แทนเซตของจานวนเต็มทั้งหมด ที่สอดคล้องกับอสมการ 3 x 1 2x 2 3x 1    และ B
แทนเซตคาตอบของอสมการ 2
x(x 2)(x 1) 0   แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. เซต A B มีสมาชิก 5 ตัว 2. A B A 
3. เซต A B มีสมาชิก 1 ตัว 4. (A B) (B A) B   
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
หา A 3 x 1 2x   2 3x 1
กรณี 1 ; 1
x
3
 
3(x 1) 2x    2(3x 1) 
3x 3 2x    6x 2 
x  5
1
5,
3
 
  
 
กรณี 2 ; 1
x 1
3
  
3(x 1) 2x    2(3x 1) 
3x 3 2x    6x 2
11x  1
x 
1
11
1 1
,
3 11
 
  
กรณี 3 ; x 1
3(x 1) 2x   2(3x 1)
3x 3 2x   6x 2
5x  5
x  1

–5
1
–1 1
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
เนื่องจาก A เป็นเซตของจานวนเต็ม
จะได้ว่า A { 4, 3, 2, 1, 0}    
หา B 2
x(x 2)(x 1)   0
พิจารณา x(x 2)  0 ; x 1 
( 2, 1) ( 1, 0)   
พิจารณาข้อ 1. A B { 4, 3, 2, 1, 0}     
จะได้ n(A B) 5 
ดังนั้น ข้อ ก. ถูกต้อง
4. กาหนด R แทนเซตของจานวนจริง ให้ r {(x,y) R R x y y x 1 0}      
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r เป็นความสัมพันธ์ที่มีโดเมน rD {x R x 1}   
ข. ความสัมพันธ์ 1
r
เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
พิจารณา ก. x y y x 1   = 0
y( x 1) x 1   = 0
y =
x 1
x 1


จะได้ rD R
พิจารณา ข. จาก y =
x 1
x 1


ถ้า x 0 จะได้ y =
x 1
x 1


y = 1
–2 –1 0
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
หา 1
r
โดยการเปลี่ยน x เป็น y และเปลี่ยน y เป็น x
จะได้ x 1 (x หนึ่งค่าทาให้เกิด y ได้หลายค่า)
ดังนั้น 1
r
ไม่เป็นฟังก์ชัน
ดังนั้น ข้อ ก. ผิด และ ข้อ ข. ผิด
5. กาหนดให้ 0 45   และให้ tan
A (sin ) 
  cot
B (sin ) 
 
sin
C (cot ) 
  cos
D (cot ) 
 
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. A B C D   2. B A C D  
3. A C D B   4. C D B A  
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
สมมุติให้ 37  จะได้ sin37 =
3
5
= 0.6
cos37 =
4
5
= 0.8
tan37 =
3
4
= 0.75
cot37 =
4
3
= 1.33
จะได้ sin tan cos cot      
พิจารณา tan
A (sin ) 
  และ cot
B (sin ) 
 
เนื่องจาก sin 1  จะได้ tan cot
(sin ) (sin ) 
  
A B
พิจารณา sin
C (cot ) 
  และ cos
D (cot ) 
 
เนื่องจาก cot 1  จะได้ sin cos
(cot ) (cot ) 
  
C D
พิจารณา A กับ C
เนื่องจาก A มีฐาน คือ sin ซึ่งน้อยกว่า 1 และมีเลขชี้กาลัง คือ tan ซึ่งมีค่าเป็นบวก จะได้ว่า
A 1
เนื่องจาก C มีฐาน คือ cot ซึ่งมากกว่า 1 และมีเลขชี้กาลัง คือ sin ซึ่งมีค่าเป็นบวก จะได้ว่า
C 1
ดังนั้น B A C D  
37
5 3
4
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
6. ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมี a, b และ c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ
มุม C ตามลาดับ ถ้ามุม C เท่ากับ 60 b 5 และ a c 2  แล้วความยาวของเส้นรอบรูป
สามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 29
3. 37 4. 45
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
จาก a c = 2
c = a 2 …..(1)
จากกฎของโคไซน์ ; 2
c = 2 2
a b 2abcosC 
2
(a 2) = 2 2
a b 2abcos60 
2
a 4a 4  = 2 2 1
a 5 2a(5)
2
 
   
 
4a 4  = 25 5a
a = 21
จาก (1) ; c = 21 2 19 
ดังนั้น ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม ABC = 21 5 19 
= 45 หน่วย
7. วงรีที่มีแกนเอกอยู่บนแกน x แกนโทอยู่บนแกน y ระยะระหว่างจุดโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 12
หน่วย ถ้าความยาวของคอร์ดที่ผ่านจุดโฟกัสหนึ่งและตั้งฉากกับแกนเอกของวงรี เท่ากับ 10
หน่วย แล้วสมการของวงรีคือข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2
5x 9y 405  2. 2 2
9x 5y 81 
3. 2 2
5x 9y 225  4. 2 2
9x 5y 20 
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
ระยะห่างระหว่างจุดโฟกัสทั้งสอง = 12
2c = 12
c = 6
จาก 2
a = 2 2
b c
2 2
a b = 2
c
2 2
a b = 36 …..(1)
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ลาตัสเรกตัมของวงรี = 10
2
2b
a
= 10
2
b = 5a …..(2)
แทน (2) ใน (1) ; 2
a 5a = 36
2
a 5a 36  = 0
(a 4)(a 9)  = 0
a = 4, 9 แต่ a 0
จะได้ a = 9
2
a = 81
จาก (2) จะได้ 2
b = 5(9)
2
b = 45
สมการวงรี คือ
2 2
2 2
x y
a b
 = 1
2 2
x y
81 45
 = 1
2 2
5x 9y = 405
8. พาราโบลาที่มีจุดโฟกัส F อยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม 2 2
x y 6x 4y 4 0     และมีจุด
ยอด V อยู่ที่จุดตัดของวงกลมกับแกน y ถ้า A และ B เป็นจุดบนพาราโบลาซึ่งส่วนของเส้นตรง
AB ผ่านจุดโฟกัส F และตั้งฉากกับแกนของพาราโบลา แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม VAB
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 ตารางหน่วย 2. 12 ตารางหน่วย
3. 18 ตารางหน่วย 4. 36 ตารางหน่วย
เฉลย ตอบตัวเลือก 3
2 2
x y 6x 4y 4    = 0
2 2
(x 6x 9) (y 4y 4)     = 4 9 4  
2 2
(x 3) (y 2)   = 9
วงกลมมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ (3, 2) และรัศมียาว 3 หน่วย
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
หาจุดตัดของวงกลมกับแกน y
2 2
(0 3) (y 2)   = 9
2
9 (y 2)  = 9
2
(y 2) = 0
y 2 = 0
y = 2
จุดตัดของวงกลมกับแกน y คือ (0, 2)
จะได้ว่าพาราโบลามีจุดโฟกัสอยู่ที่ (3, 2) และมีจุดยอดอยู่ที่ (0, 2)
จากรูป จะได้ c 3
ความยาวลาตัสเรกตัม = 4c
= 4(3)
= 12
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม VAB
=
1
2
ความยาวฐานความสูง
=
1
12 3
2
 
= 18 ตารางหน่วย
9. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ
2
(5x 23x 3) (x 5)
3 5
5 3
  
   
   
   
ถ้า A เป็นสับเซตในข้อต่อไปนี้
1. {x R (5x 1)(x 3) 0}    2. {x R (4x 1)(x 4) 0}   
3. {x R (2x 1)(x 5) 0}    4. {x R x 1 2}  
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
2
(5x 23x 3)
3
5
 
 
 
 
>
(x 5)
5
3

 
 
 
2
(5x 23x 3)
3
5
 
 
 
 
>
(x 5)
3
5
 
 
 
 
2
5x 23x 3  < (x 5) 
2
5x 23x 3  < x 5 
2
5x 22x 8  < 0



V(0, –2) (3, –2)
A
B
O
Y
X
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
(5x 2)(x 4)  < 0
2
A ,4
5
 
  
 
พิจารณาข้อ 1. (5x 1)(x 3) 0  
1
,3
5
 
 
 
1
A ,3
5
 
  
 
พิจารณาข้อ 2. (4x 1)(x 4) 0  
1
,4
4
 
 
 
1
A ,4
4
 
  
 
พิจารณาข้อ 3. (2x 1)(x 5) 0  
1
,5
2
 
 
 
1
A ,5
2
 
  
 
พิจารณาข้อ 4. x 1 < 2
2 < x 1 < 2
1 < x < 3
( 1, 3)
A ( 1, 3) 
4+ +–
3+ +–
4+ +–
5+ +–
–1 3
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
10. กาหนดให้ x 1 , a 1 , b 1 และ c 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า 2
b ac แล้ว a b c c a b(log x)(log x log x) (log x)(log x log x)  
ข. ถ้า c b 1  และ 2 2 2
a b c  แล้ว (c b) (c b) (c b) (c b)log a log a 2(log a)(log a)    
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
พิจารณาข้อ ก. a b c(log x)(log x log x) =
x x x
1 1 1
log a log b log c
  
  
  
=
  
x x
x x x
log c log b1
log a log b log c
   
   
  
=
 
 
  
x
x x x
log c / b1
log a log b log c

=
 
   
x
x x x
log c / b
log a log b log c
ส่วนด้านขวา พิจารณาในทานองเดียวกันได้ว่า
c a b(log x)(log x log x) =
x x x
1 1 1
log c log a log b
  
  
  
=
  
x x
x x x
log b log a1
log c log a log b
   
   
  
=
 
  
x
x x x
log b / a1
log c log a log b

=
 
   
x
x x x
log b / a
log a log b log c
เนื่องจาก 2
ac b ดังนั้นได้ว่า c b
b a

โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ดังนั้นได้ว่า a b c(log x)(log x log x) =
 
   
x
x x x
log c / b
log a log b log c
=
 
   
x
x x x
log b / a
log a log b log c
= c a b(log x)(log x log x)
ดังนั้น ก. ถูก
พิจารณาข้อ ข. (c b) (c b)log a log a  =
a a
1 1
log (c b) log (c b)

 
= a a
a a
log (c b) log (c b)
(log (c b))(log (c b))
  
 
=
 a
a a
log (c b)(c b)
(log (c b))(log (c b))
 
 
=
2 2
a
a a
log (c b )
(log (c b))(log (c b))

 
=
2
a
a a
log a
(log (c b))(log (c b)) 
จาก 2 2 2
a c b 
=
a a
2
(log (c b))(log (c b)) 
= (c b) (c b)2(log a)(log a) 
ดังนั้น ข. ถูก
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
11. ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ log( x 1 5) logx   และ B เป็นเซตคาตอบของสมการ
2 4 8 64log (3x) log (9x) log (27x) 3 2log (x)    ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A B
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.
12
9
2.
16
9
3.
32
9
4.
96
9
เฉลย ตอบตัวเลือก 3
หา A log( x 1 5)  = log x
x 1 5  = x
x 1 = x 5
2
( x 1) = 2
(x 5)
x 1 = 2
x 10x 25 
2
x 11x 24  = 0
(x 8)(x 3)  = 0
x = 8, 3
แต่เมื่อแทน x 3 ทาให้สมการเป็นเท็จ
จะได้ A {8}
หา B 2 4 8log (3x) log (9x) log (27x)  = 643 2log (x)
2 32 2 2
log (3x) log (9x) log (27x)  = 2 6
2 2
3log 2log (x)
11
32
2 2 2log (3x) log (9x) log (27x)  = 2 22
1
3log log x
3

11
32
2 2 2log (3x) log (9x) log (27x)  =
1
3
2 2log 8 log x
11
32
2log (3x)(9x) (27x) =
1
3
2log 8x
11
32
(3x)(9x) (27x) =
1
3
8x
11
6
27x =
1
3
8x
9
6
x =
8
27
3
2
x =
3
2
3
 
 
 
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
x =
2
3 3
2
3
  
     
x =
2
2
3
 
 
 
x =
4
9
จะได้ 4
B
9
 
  
 
ดังนั้น ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A B คือ 4 32
8
9 9
 
12. กาหนดให้ จุด A( 1, 1) , B(2, 5) และ C(2, 3) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ให้ L
เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A และจุด B ลากส่วนเส้นตรง CD ตั้งฉากกับเส้นตรง L ที่จุด D แล้ว
เวกเตอร์ AD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.
7
(3i 4 j)
25
  2.
7
(3i 4 j)
25

3.
7
(3i 4 j)
25
  4.
7
(3i 4 j)
25

เฉลย ตอบตัวเลือก 3
วาดรูปได้ดังนี้
A(–1, 1)
B(2, 5)
C(2, –3)
X
Y
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
AB =
2 1
5 1
   
   
   
=
3
4
 
 
 
AB = 2 2
3 4 = 5
AC =
2 1
3 1
   
      
=
3
4
 
  
AC = 2 2
3 ( 4)  = 5
เนื่องจาก AD เป็นโปรเจกชันของ AC บน AB
จะได้ AD =   AB
AC cos
AB

=
AC AB AB
AB AB
  
 
 
=
3 3 3
4 4 4
5 5
       
              
  
  
  
=
3
49 16
5 5
  
  
    
   
 
 
=
37
425
 
  
 
=
7
(3i 4 j)
25
 
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
13. กาหนดให้ a, b, c, d, x และ y เป็นจานวนจริง และ
1 x
A
y 1
 
   
,
a b
B
c d
 
  
 
,
1 0
C
0 1
 
  
 
และ
1 0
I
0 1
 
  
 
ถ้า 2
A I และ AB 2C แล้ว ค่าของ 1
det(B )
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.25 2. 0.5
3. 2 4. 4
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
2
A =
1 x 1 x
y 1 y 1
   
       
=
1 xy 0
0 xy 1
 
  
แต่ 2
A I จะได้ 1 xy 1 
xy 0
จาก A =
1 x
y 1
 
  
det(A) = 1 xy  = 1 0  = 1
จาก C =
1 0
0 1
 
 
 
det(C) = 1
AB = 2C
det(AB) = det(2C)
det(A)det(B) = 2
2 det(C)
det(B) = 4( 1)
det(B) = 4
แต่ 1
det(B )
=
1
det(B)
=
1
4
= 0.25
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
14. กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ใดๆ ซึ่งไม่ใช่เวกเตอร์ศูนย์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก.
2 2 2
u v u v  
ข. ถ้า u ตั้งฉากกับ v แล้ว
2 2 2
u v u v  
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
เฉลย ตอบตัวเลือก 3
พิจารณา ก. สมมุติให้ u 0 และ v 0 แทนใน
2
u v <
2 2
u v
2
0 <
2 2
0 0
0 < 0 (เป็นเท็จ)
พิจารณา ข. 2
u v =
2 2
u 2u v v  
=
2 2
u 2 u v cos v 
=
2 2
u 2 u v cos90 v 
=
2 2
u v
ดังนั้น ข้อ ก. ผิด แต่ข้อ ข. ถูก
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
15. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก จะได้ว่า
n n 2 2
n
n 1
a b a b
(a b) ab


 



ข. ถ้า 1 2 3a , a , a , ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง โดยที่
2
1 2 n
2
1 2 3 m
a a ... a n
a a a ... a m
  

   
สาหรับจานวนเต็มบวก n และ m ที่แตกต่างกัน แล้ว m
n
a 2m 1
a 2n 1



ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
พิจารณา ก.
n n
n
n 1
a b
(a b)




 =
n n
n n
n 1 n 1
a b
(a b) (a b)
 
 

 
 
=
n n
n 1 n 1
a b
a b a b
 
 
   
   
    
 
=
a b
a b a b
a b
1 1
a b a b
 
   
    
    
=
a b
a b a b
a b a a b b
a b a b
 
   
 
=
a b
b a

=
2 2
a b
ab

พิจารณา ข. 1 2 n
1 2 3 m
a a a
a a a a
  
   
=
 
 
1
1
n
2a (n 1)d
2
m
2a (m 1)d
2
 
 
2
2
n
m
=
 
 
1
1
n 2a (n 1)d
m 2a (m 1)d
 
 
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
n
m
= 1
1
2a (n 1)d
2a (m 1)d
 
 
12a n mnd nd  = 12a m mnd md 
12a n nd = 12a m md
1n(2a d) = 1m(2a d)
1 1n(2a d) m(2a d)   = 0
1(n m)(2a d)  = 0
แต่ n m ดังนั้น 12a d = 0
12a = d
m
n
a
a
= 1
1
a (m 1)d
a (n 1)d
 
 
= 1 1
1 1
a (m 1)(2a )
a (n 1)(2a )
 
 
= 1 1 1
1 1 1
a 2a m 2a
a 2a n 2a
 
 
= 1 1
1 1
2a m a
2a n a


= 1
1
a (2m 1)
a (2n 1)


=
2m 1
2n 1


ดังนั้น ข้อ ก. ถูก และ ข้อ ข. ถูก
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
16. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ f :R R เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ทุกอันดับ โดยที่
f (x) 2x 1   และ f (2) 2  สมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y f(x) ที่
จุด (1,3) คือข้อใดต่อไปนี้
1.
1
y x 2
2
   2.
1 5
y x
2 2
 
3.
1 5
y x
2 2
   4.
1
y x 2
2
 
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
f (x) = 2x 1
f (x) = (2x 1)dx = 2
x x c 
f (2) = 2
2 2 c 
2 = 6 c
c = 4
จะได้ f (x) = 2
x x 4 
ที่จุด (1, 3) ; f (1) = 1 1 4  = 2
สมการเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y f(x) ที่จุด (1, 3)
จะมีความชันเท่ากับ 1
2
สมการเส้นตรง คือ 1y y = 1m(x x )
y 3 =
1
(x 1)
2

2y 6 = x 1
y =
1 5
x
2 2

โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
17. ให้ R แทนเซตจานวนจริง ให้ f :R R , g : R R และ h:R R เป็นฟังก์ชัน โดยที่
2
ax 1
f(x)
x 1



เมื่อ a เป็นจานวนจริง 2
g(x) (x 1)f (x)  และ
f(x) x 2
h(x)
g(x) x 2

 

ถ้าฟังก์ชัน h ต่อเนื่องที่ x 2 แล้ว ค่าของ 2h( 2) h(2)  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.6 2. 0.8
3. 1 4. 3
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
f (x) = 2
ax 1
x 1


f (x) =
2
2 2
(x 1)(a) (ax 1)(2x)
(x 1)
  

=
2 2
2 2
ax a 2ax 2x
(x 1)
  

=
2
2 2
ax 2x a
(x 1)
  

g(x) = 2
(x 1)f (x)
=
2
2
2 2
ax 2x a
(x 1)
(x 1)
   
  
 
=
2
2
ax 2x a
x 1
  

h(x) =
f(x); x 2
g(x); x 2



แต่ฟังก์ชัน h ต่อเนื่องที่ x 2 จะได้ว่า
f(2) = g(2)
2
a(2) 1
2 1


=
2
2
a(2) 2(2) a
2 1
  

2a 1 = 4a 4 a  
5a = 5
a = 1
2h( 2) h(2)  = 2g( 2) f(2) 
=
2
2 2
2[( 2) 2( 2) 1] (2) 1
( 2) 1 2 1
     

  
=
2(4 4 1) 1
5 5
 

= 3
เมื่อ
เมื่อ
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
18. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f :R R , g : R R และ h:R R เป็นฟังก์ชันที่มี
อนุพันธ์ทุกอันดับ โดยที่ 2
h(x) x 4  , g(x) h(f(x) 1)  และ f (1) g (1) 1   แล้วค่าของ
f(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1.5
3. 1 4. 0.5
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
h(x) = 2
x 4
g(x) = h(f(x) 1)
= 2
(f(x) 1) 4 
g (x) = 2(f(x) 1)f (x)
g (1) = 2(f(1) 1)f (1)
1 = 2(f(1) 1)(1)
f (1) =
3
2
= 1.5
19. กาหนดสมการจุดประสงค์ คือ P 3x 2y  โดยมีอสมการข้อจากัด ดังนี้ x 2y 6  ,
2x y 8  , x y 1   , x 0 และ 0 y 2  ค่าของ P มีค่ามากสุด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 2. 12
3.
38
3
4. 18
เฉลย ตอบตัวเลือก 3
สมการจุดประสงค์ P = 3x 2y
อสมการข้อจากัด x 2y  6
2x y  8
x y   1
x  0
0  y  2
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
เขียนกราฟได้ดังนี้
จะได้จุดมุม 10 4
A(0, 0), B(0, 1), C(1, 2), D(2, 2), E , , F(4, 0)
3 3
 
 
 
แทนค่าจุดมุมแต่ละจุดในสมการจุดประสงค์
ที่จุด A(0, 0) ; P = 3(0) 2(0) = 0
ที่จุด B(0, 1) ; P = 3(0) 2(1) = 2
ที่จุด C(1, 2) ; P = 3(1) 2(2) = 7
ที่จุด D(2, 2) ; P = 3(2) 2(2) = 10
ที่จุด 10 4
E ,
3 3
 
 
 
; P =
10 4
3 2
3 3
   
   
   
=
38
3
ที่จุด F(4, 0) ; P = 3(4) 2(0) = 12
ดังนั้น ค่าของ P มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 38
3
Y
X
A
B
C D
E
F




 
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
20. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนจานวน 30 คน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 25 คะแนน และ 5 คะแนน ตามลาดับ ถ้านาคะแนนของ
นายสายชลและนางสาวฟ้ าซึ่งสอบได้ 20 คะแนน และ30 คะแนน ตามลาดับ มารวมด้วย
แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 5
3. 6 4. 7
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
โจทย์กาหนด n 30,X 25,s 5  
จาก X =
x
n

25 =
x
30

x = 750
2
s =
2
2x
X
n


25 =
2
2x
25
30


2
x = 19,500
นาคะแนนของนายสายชลและนางสาวนางฟ้ามารวมด้วยจะได้
x = 750 20 30  = 800
X =
800
32
= 25
2
x = 2 2
19,500 20 30  = 20,800
ดังนั้น s =
2
2x
X
n


= 220800
25
32

= 5
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
21. กาหนดให้ A={1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} สุ่มหาสับเซตของ A ที่มีสมาชิก 3 ตัว ความน่าจะเป็นที่จะ
ได้สับเซต {a, b, c} A โดยที่ a b c  และ a, b, c เป็นลาดับเลขคณิต เท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1.
6
210
2.
9
210
3.
6
35
4.
9
35
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
A {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
กรณีที่1 d 1 จะได้ลาดับดังนี้ 123, 234, 345, 456, 567
กรณีที่2 d 2 จะได้ลาดับดังนี้ 135, 246, 357
กรณีที่3 d 3 จะได้ลาดับดังนี้ 147
n(E) = 5 3 1  = 9
n(S) =
7
3
 
 
 
=
7!
3!4!
= 35
ดังนั้น P(E) =
n(E)
n(S)
=
9
35
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
22. ตารางต่อไปนี้ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานจานวน 50 คน
อายุ (ปี) จานวน (คน)
25 9
30 17
35 24
40 37
45 43
50 50
ถ้าอายุต่าสุดของพนักงาน คือ 21 ปี แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. 37.5
3. 41 4. 43
เฉลย ตอบตัวเลือก 1
เขียนเป็นตารางแจกแจงความถี่แบบเป็นอันตรภาคชั้นดังนี้
อายุ (ปี) f x fx
21-25 9 23 207
26-30 8 28 224
31-35 7 33 231
36-40 13 38 494
41-45 6 43 258
46-50 7 48 336
X =
fx
n

=
207 224 231 494 258 336
50
    
=
1750
50
= 35
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
23. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 10 คน ทาแบบทดสอบวัด
ความถนัดฉบับหนึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนของนักเรียนแต่ละคนดังนี้
กลุ่มที่ 1 7 6 5 8 3 6 9 7 6 10
กลุ่มที่ 2 6 9 15 12 1 8 7 7 5 6
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ 1 มีความแตกต่างกันมากกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2
ข. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เท่ากับ 5
14
และ 3
14
ตามลาดับ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
พิจารณา ก. สัมประสิทธิ์ของพิสัย = max min
max min
x x
x x


กลุ่มที่1 สัมประสิทธิ์ของพิสัย =
10 3
10 3


=
4
13
กลุ่มที่2 สัมประสิทธิ์ของพิสัย =
15 1
15 1


=
7
8
เนื่องจากสัมประสิทธิ์ของพิสัยของนักเรียนกลุ่มที่ 1 น้อยกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2 จะ
ได้ว่านักเรียนกลุ่มที่ 1 มีการกระจายน้อยกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2
ดังนั้น ข้อ ก ผิด
พิจารณา ข. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาได้ดังนี้
กลุ่มที่ 1 3 5 6 6 6 7 7 8 9 10
กลุ่มที่ 2 1 5 6 6 7 7 8 9 12 15
กลุ่มที่1 ตาแหน่งของ 1Q =
10 1
4

= 2.75
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
1Q = 5.75
ตาแหน่งของ 3Q =
3(10 1)
4

= 8.25
3Q = 8.25
C.Q.D. =
8.25 5.75
8.25 5.75


=
5
28
กลุ่มที่2 ตาแหน่งของ 1Q =
10 1
4

= 2.75
1Q = 5.75
ตาแหน่งของ 3Q =
3(10 1)
4

= 8.25
3Q = 9.75
C.Q.D. =
9.75 5.75
9.75 5.75


=
8
31
ดังนั้น ข้อ ข ผิด
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
24. นิยาม b
a b = a สาหรับ a และ b เป็นจานวนจริงบวกใดๆ ถ้า a, b และ c เป็นจานวนจริง
บวก แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. a (b c) (a c) b     2. (a b) c a (bc)   
3. a (b c) (a b) c     4. (a b) c (a c) (b c)     
เฉลย ตอบตัวเลือก 2
นิยาม b
a b a 
พิจารณาข้อ 1. a (b c)  = (a c) b 
c
a (b ) = c
(a ) b
c
b
a = c b
(a )
c
b
a = cb
a (เป็นเท็จ)
พิจารณาข้อ 2. (a b) c  = a (bc)
b
(a ) c = bc
a
b c
(a ) = bc
a (เป็นจริง)
พิจารณาข้อ 3. a (b c)  = (a b) c 
c
a (b ) = b
(a ) c
c
b
a = b c
(a )
c
b
a = bc
a (เป็นเท็จ)
พิจารณาข้อ 4. (a b) c  = (a c) (b c)  
c
(a b) = c c
(a ) (b ) (เป็นเท็จ)
ดังนั้น ข้อ 2. ถูกต้อง
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
25. กาหนดให้ a 7 4 3  , b 2 2 2 2 และ c 2 3  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1.
1 1 1
c a b
  2.
1 1 1
c b a
 
3.
1 1 1
b a c
  4.
1 1 1
b c a
 
เฉลย ตอบตัวเลือก 4
a = 7 4 3 = (4 3) 2 (4 3)  
= 4 3
= 2 3
b = 2 2 2 2...
2
b = 2 2 2 2...
2
b = 2b
2
b 2b = 0
b(b 2) = 0
b = 0, 2 แต่ b 0 ดังนั้น b 2
c = 2 3
จะได้ว่า 2 < 2 3 < 2 3
b < c < a
หรือ 1
b
>
1
c
>
1
a
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ส่วนที่ 2 : จานวน 25 ข้อ ข้อละ 7 คะแนน รวม 175 คะแนน
คาสั่ง : แบบอัตนัย จงเติมคาตอบที่ถูกต้อง (เป็นตัวเลข)
26. ในการสารวจสโมสรแห่งหนึ่งมีสมาชิกจานวน 100 คน พบว่าชอบอ่านนวนิยายหรือ
หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร อย่างน้อย 1 รายการ และ
มี 75 คน ชอบอ่านนวนิยาย
มี 70 คน ชอบอ่านหนังสือพิมพ์ และ
มี 80 คน ชอบอ่านนิตยสาร
มีสมาชิกอย่างน้อยกี่คนที่ชอบอ่านทั้งสามรายการ
เฉลย ตอบ 25
จากข้อมูลนามาเขียนแผนภาพได้ดังนี้
ให้ A แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านนวนิยาย
B แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านหนังสือพิมพ์
C แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านนิตยสาร
มี 75 คน ชอบอ่านนวนิยาย (บริเวณ a, b, d, e)
มี 70 คน ชอบอ่านหนังสือพิมพ์ (บริเวณ b, c, e, f)
มี 80 คน ชอบอ่านนิตยสาร (บริเวณ d, e, f, g)
A B
C
a b c
d
e
f
g
U = 100
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
a 2b c 2d 3e 2f g      = 75 70 80 
a 2b c 2d 3e 2f g      = 225 …..(1)
a b c d e f g      = 100 …..(2)
(2) 2; 2a 2b 2c 2d 2e 2f 2g      = 200 …..(3)
(1) (3); a c e g    = 25
e = 25 a c g  
เนื่องจาก a 0 , c 0 และ g 0 ดังนั้น e 25
ดังนั้น จะมีสมาชิกอย่างน้อย 25 คน ที่ชอบอ่านทั้ง 3 รายการ
27. ให้ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า 5
ax bx 4  หารด้วย 2
(x 1) ลงตัว แล้ว a b เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 6
หารสังเคราะห์
1 a 0 0 0 b 4
a a a a a b
1 a a a a a b 4 a b
a 2a 3a 4a
a 2a 3a 4a 5a b

  

เนื่องจาก 5
ax bx 4  หารด้วย 2
(x 1) ลงตัว จะได้ว่าเศษเป็นศูนย์
นั่นคือ 4 a b  = 0 …..(1)
5a b = 0 …..(2)
(2) (1) ; 4 4a  = 0
a = 1
แทน a 1 ใน (2) จะได้ 5(1) b = 0
b = 5
ดังนั้น a b 1 ( 5) 6    
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
28. จงหาค่าของ 2 o o o o
2sin 60 (tan 5 +tan 85 ) 12sin 70
เฉลย ตอบ 6
2
2sin 60 (tan5 tan85 ) 12sin70 
=
2
3
2 (tan5 cot5 ) 12sin70
2
 
   
 
=
3 sin5 cos5
2 12sin70
4 cos5 sin5
  
   
  
=
2 2
3 sin 5 cos 5
12sin70
2 cos5 sin5
 
 
 
=
3 1
12sin70
2 cos5 sin5
 
 
 
=
3
12sin70
sin10

=
3 12sin70 sin10
sin10

=
3 6(2sin70 sin10 )
sin10

=
3 6(cos60 cos80 )
sin10
 
=
1
3 6 cos80
2
sin10
 
  
 
=
3 3 6cos80
sin10
 
=
6cos80
cos80
= 6
co-function
โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
29. ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ 2
arccos(x) arccos(x 3) arccos( 1 x )   และให้ B เป็น
เซตคาตอบของสมการ arccos(x) arcsin(x) arcsin(1 x)   จานวนสมาชิกของเซต
P(A B) เท่ากับเท่าใด เมื่อ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S
เฉลย ตอบ 1
หาเซต A
ให้ a = arccos(x)
cosa = x
ให้ b = arccos(x 3)
cosb = x 3
ให้ c =
2
arccos( 1 x )
cosc = 2
1 x
arccos(x) =
2
arccos(x 3) arccos( 1 x ) 
arccos(x 3) =
2
arccos(x) arccos( 1 x ) 
b = a c
cosb = cos(a c)
cosb = cosa cosc sinasinc
x 3 = 2 2
x 1 x 1 x x  
กรณี 1 x 0 ; x 3 =
2 2
x 1 x 1 x (x)  
x 3 = 0 (เป็นเท็จ)
กรณี 2 x 0 ; x 3 =
2 2
x 1 x 1 x (x)  
x 3 = 2
2x 1 x
2
3x = 2 2
4x (1 x )
2
3x = 2 4
4x 4x
4 2
4x x = 0
2 2
x (4x 1) = 0
x =
1 1
0, ,
2 2
 แต่ x 0 ดังนั้น 1
A 0,
2
 
  
 
a
1
x
b
1
c
1
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
หาเซต B
ให้ a = arccos(x)
cosa = x
ให้ b = arcsin x
sin b = x
ให้ c = arcsin(1 x)
sinc = 1 x
arccos(x) = arcsin(x) arcsin(1 x) 
a = b c
sina = sin(b c)
sina = sin bcosc cosbsinc
2
1 x =
2 2
(x)( 2x x ) ( 1 x )(1 x)   
2 2
1 x ( 1 x )(1 x)    =
2
(x)( 2x x )
2
1 x (1 1 x)   =
2
(x)( 2x x )
2
x 1 x = 2
x 2x x
2 2
x (1 x ) = 2 2
x (2x x )
2 4
x x = 3 4
2x x
3 2
2x x = 0
2
x (2x 1) = 0
x =
1
0,
2
ดังนั้น 1
B 0,
2
 
  
 
จะได้ว่า A B = 
n(A B) = 0
ดังนั้น 0
P(A B) 2 1  
a
1
x
x
b
1
c
1
1 – x
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
30. กาหนดให้ A, B และ C เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (nonsingular matrix) มิติ 3 3 และ I เป็น
เมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณ มิติ 3 3 ถ้า
a b c
A d e f
g h i
 
   
  
เมื่อ a, b, c, d, e, f, g, h และ i เป็น
จานวนจริง และ 3
A 2I , 1
det(C ) 4
 และ t
3g 3h 3i
B C a b c
2d 2e 2f
   
     
  
แล้ว det(B)
เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 48
จาก 3
A = 2I
3
det(A ) = det(2I)
 
3
det(A) = 3
2 det(I)
 
3
det(A) = 8(1)
det(A) = 2
จาก 1
det(C )
= 4
1
det(C)
= 4
det(C) =
1
4
t
B C =
3g 3h 3i
a b c
2d 2e 2f
   
    
  
t
det(B C) = ( 3)( 1)(2)det(A) 
t
det(B C) = 6(2)
t
det(B C) = 12
12 = t
det(B C)
12 = t
det(B )det(C)
12 =
1
det(B)
4
 
 
 
; t
det(B ) det(B)
det(B) = 48
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
31. ให้ 5 4 3 2
f(x) x ax bx cx dx e      เมื่อ a, b, c, d, e เป็นจานวนจริง ถ้ากราฟ y f(x)
ตัดกับกราฟ y 3x 2  ที่ x 1, 0, 1, 2  แล้วค่าของ f(3) f( 2)  เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 135
เนื่องจาก กราฟ f (x) ตัดกราฟ y 3x 2  ที่จุด x 1,0,1,2  แสดงว่าจุดที่ x 1,0,1,2  อยู่
บนกราฟ f (x) = 5 4 3 2
x ax bx cx dx e    
= (x 1)(x 0)(x 1)(x 2)(x k)     ; เมื่อ c เป็นค่าคงที่
และเนื่องจากกราฟของ y = f(x) ตัดกับกราฟของ y 3x 2  จึงต้องบวกด้วย 3x 2
จะได้ f (x) = (x 1)(x 0)(x 1)(x 2)(x k) 3x 2      
f (3) = (3 1)(3 0)(3 1)(3 2)(3 k) 3(3) 2      
f (3) = 83 24k …..(1)
f ( 2) = ( 2 1)( 2 0)( 2 1)( 2 2)( 2 k) 3( 2) 2            
f ( 2) = 54 24k  …..(2)
(1) (2); f(3) f( 2)  = 83 24k 52 24k  
= 135
32. กาหนดให้ 1z และ 2z เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ 1 2z z 3  และ 1 2z z 1  (เมื่อ z
แทนค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน z) ค่าของ 2 2
1 2z z เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 5
ให้ 1z a bi  และ 2z c di 
1 2z z = a bi c di  
= (a c) (b d)i  
1 2z z = 2 2
(a c) (b d)  
3 = 2 2
(a c) (b d)  
9 = 2 2
(a c) (b d)   …..(1)
1 2z z = a bi c di  
= (a c) (b d)i  
1 2z z = 2 2
(a c) (b d)  
1 = 2 2
(a c) (b d)  
1 = 2 2
(a c) (b d)   …..(2)
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
(1) (2) ; 10 = 2 2 2 2
(a c) (b d) (a c) (b d)      
10 = 2 2 2 2 2 2 2 2
a 2ac c b 2bd d a 2ac c b 2bd d          
10 = 2 2 2 2
2a 2b 2c 2d  
10 = 2 2 2 2
2(a b ) 2(c d )  
10 =
2 2
1 22 z 2 z

2 2
1 2z z = 5
33. ให้ A เป็นเซตของจานวนเชิงซ้อน z ทั้งหมดที่สอดคล้องกับ 2 z 3z 9i 2   และ
2 (1 i)z
B w w
2 i

 

เมื่อ



z A เมื่อ 2
i 1  ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B
เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 10
หาเซต A ให้ z a bi 
2 z 3z = 9i 2
2 2
2 a b 3(a bi)   = 9i 2
2 2
2 a b 3a 3bi   = 9i 2
2 2
2 a b = (3a 2) (9 3b)i  
จะได้ 2 2
2 a b = 3a 2
2 2
4(a b ) = 2
9a 12a 4 
2 2
4a 4b = 2
9a 12a 4 
2 2
5a 4b 12a 4   = 0
2 2
5a 4( 3) 12a 4    = 0
2
5a 12a 32  = 0
(5a 8)(a 4)  = 0
a =
8
, 4
5

9 3b = 0
3b = 9
b = 3
แต่แทนค่า 8
a
5
  ในสมการ 2 2
2 a b 3a 2   แล้วเป็นเท็จ
ดังนั้น  A z 4 3i  
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
หาเซต B w =
(1 i)z
2 i


w =
1 i z
2 i


=
2 2 2 2
2 2
1 1 4 ( 3)
2 1
  

=
2 25
5
2
w =
2(25)
5
= 10
ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับ 10
34. ลาดับเรขาคณิตชุดหนึ่ง มีอัตราส่วนร่วมเป็นจานวนจริงบวก ถ้าผลบวกของสองพจน์แรก
เท่ากับ 20 และผลบวกของสี่พจน์แรก เท่ากับ 65 แล้วผลบวกของหกพจน์แรกเท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 166.25
กาหนดลาดับเรขาคณิต 1 2 3a , a , a , ...
2a = 1a r
3a = 2
1a r
1 2a a = 1 1a a r
20 = 1 1a a r
1 2 3 4a a a a   = 2 3
1 1 1 1a a r a r a r  
65 = 2 3
1 120 a r a r 
45 = 2 3
1 1a r a r
45 = 2
1 1r (a a r)
45 = 2
r (20)
2
r =
45
20
=
9
4
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ดังนั้น 1 2 3 4 5 6a a a a a a     = 4 5
1 2 3 4 1 1(a a a a ) a r a r    
= 4
1 165 r (a a r) 
=
2
9
65 (20)
4
 
 
 
= 166.25
35. จงหาค่าของ 2 2 2 2 2 2n
1 1 1 1 1 1 1
lim 1 1 ... 1
n 1 2 2 3 n (n 1)
 
           
เฉลย ตอบ 1
na = 2 2
1 1
1
n (n 1)
 

=
2 2 2 2
2 2
n (n 1) (n 1) n
n (n 1)
   

=
2 2
2 2
n (n 1) 2n(n 1) 1
n (n 1)
   

=
2
2 2
(n(n 1) 1)
n (n 1)
 

=
n(n 1) 1
n(n 1)
 

=
1
1
n(n 1)


=
1 1
1
n n 1
 

2 2 2 2 2 2
1 1 1 1 1 1
1 1 ... 1
1 2 2 3 n (n 1)
        

=
1 1 1 1 1 1
1 1 ... 1
1 2 2 3 n n 1
     
             
     
=
n
1 1
(1 1 1)
1 n 1
 
     
 
=
1
n 1
n 1
 
  
 
=
n(n 2)
n 1


ตัว
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ดังนั้น n
1 n(n 2)
lim
n n 1
 
 
 
=
n
n 2
lim
n 1


=
n
2
1
nlim
1
1
n



= 1
36. กาหนดให้ n
nt 2 เมื่อ n 1, 2, 3, ... และ n nt t
na 5 5
  เมื่อ n 1, 2, 3, ...
ค่าของ n 1
n
1 2 n
a
lim
a a ...a


เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 24.96
n 1
1 2 n
a
a a a

=
n 1 n 1
n n
2 2
2 2 4 4 2 2
5 5
(5 5 )(5 5 )...(5 5 )
 

  

  
=
n 1 n 1
n n
2 2 2 2
2 22 2 4 4 2 2
5 5 5 5
5 5(5 5 )(5 5 )...(5 5 )
 
 
  
  
 
    
=
n 1 n 1
n n
2 2 2 2
4 4 4 4 2 2
(5 5 )(5 5 )
(5 5 )(5 5 )...(5 5 )
 
 
  
 
  
=
n 1 n 1
n 1 n 1
2 2 2 2
2 2
(5 5 )(5 5 )
5 5
 
 
 

 

=
n 1
n 1
n 1
n 1
2 2 2
2
2
2
1
5 (5 5 )
5
1
5
5




 
  
 

n 1
n
1 2 n
a
lim
a a a


=
n 1
n 1
n 1
n 1
2 2 2
2
n 2
2
1
5 (5 5 )
5lim
1
5
5






 
  
 

= 2 2
5 5

=
1
25
25

= 24.96
0
0
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
37. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f :R R และ g : R R เป็นฟังก์ชัน โดยที่
f(x) 2x 3  และ 3 2
(g f)(x) 8x 44x 80x 48    สาหรับทุกจานวนจริง x แล้วค่าของ
6
0
f(g(x))dx เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 990
ให้ a 2x 3 
a 3
x
2


(g f)(x) = 3 2
8x 44x 80x 48  
g(f(x)) = 3 2
8x 44x 80x 48  
g(2x 3) = 3 2
8x 44x 80x 48  
g(a) =
3 2
a 3 a 3 a 3
8 44 80 48
2 2 2
       
       
     
= 3 2 2
a 9a 27a 27 11(a 6a 9) 40(a 3) 48        
= 3 2 2
a 9a 27a 27 11a 66a 99 40a 120 48        
= 3 2
a 2a a 
 g(x) = 3 2
x 2x x 
f(g(x)) = 3 2
f(x 2x x) 
= 3 2
2(x 2x x) 3  
= 3 2
2x 4x 2x 3  
6
0
f(g(x))dx =
6
3 2
0
(2x 4x 2x 3)dx  
=
64 3 2
0
2x 4x 2x
3x
4 3 2
 
   
 
=
64 3
2
0
x 4x
x 3x
2 3
 
   
 
= (648 288 36 18) 0   
= 990
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
38. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนด 2
g(x) x x 3   สาหรับทุกจานวนจริง x
ถ้า f :R R เป็นฟังก์ชัน และสอดคล้องกับ
2
(f g)(x) 2(f g)(1 x) 6x 10x 17    
2
2(f g)(x) (f g)(1 x) 6x 2x 13    
ค่าของ f(383) เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 763
(f g)(x) = f(g(x))
= 2
f(x x 3) 
ให้ 2
x x 3  = 383
2
x x 380  = 0
(x 19)(x 20)  = 0
x = 19, 20
แทน x 19 จะได้ f(383) 2(f g)( 18)  = 2
6(19) 10(19) 17 
f(383) 2(f g)( 18)  = 2,166 190 17 
f(383) 2(f g)( 18)  = 1,993 …..(1)
2f(383) (f g)( 18)  = 2
6(19) 2(19) 13 
2f(383) (f g)( 18)  = 2,166 38 13 
2f(383) (f g)( 18)  = 2,141 …..(2)
(2) 2; 4f(383) 2(f g)( 18)  = 4,282 …..(3)
(3) (1); 3f(383) = 2,289
f(383) = 763
หมายเหตุ ถ้าแทน x 20  ก็จะได้ f(383) 763
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
39. กาหนดให้ 3
f(x) x ax b   เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่แตกต่างกัน และให้ 1L และ 2L
เป็นเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ที่ x a และ x b ตามลาดับ ถ้า 1L ขนานกับ 2L และ
h 0
9h
lim 1
f(1 h) f(1)

 
แล้วค่าของ
2
0
f(x)dx เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 4
f (x) = 3
x ax b 
f (x) = 2
3x a ที่ x a จะได้ 2
f (a) 3a a  
ที่ x b จะได้ 2
f (b) 3b a  
แต่ 1 2L / / L จะได้ว่า f (a) = f (b)
2
3a a = 2
3b a
a = ±b
แต่โจทย์กาหนดว่า a และ b เป็นจานวนจริงที่แตกต่างกัน จะได้ a b 
จาก h 0
9h
lim
f(1 h) f(1)  
= 1
h 0
h
lim
f(1 h) f(1)  
=
1
9
h 0
f(1 h) f(1)
lim
h
 
= 9
f (1) = 9
2
3(1) a = 9
a = 6
จะได้ b = 6
ดังนั้น 3
f(x) x 6x 6  
2
0
f(x)dx =
2
3
0
f(x 6x 6)dx 
=
24 2
0
x 6x
6x
4 2
 
  
 
=
24
2
0
x
3x 6x
4
 
  
 
= (4 12 12) 0  
= 4
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
40. จงหาค่าของ

3 2
2π
x
4
(cot x 1)cosec x
lim
1+cos 2x 2sin x


เฉลย ตอบ 3
3 2
2
x
4
(cot x 1)cosec x
lim
1 cos2x 2sin x


 
=
2 2
2 2
x
4
(cot x 1)(cot x cot x 1)cosec x
lim
1 (2cos x 1) 2sin x

  
  
=
2 2
2 2
x
4
cos x sin x
(cot x cot x 1)cosec x
sin x
lim
2(cos x sin x)

 
  
 

=
2 2
x
4
(cos x sin x)(cot x cot x 1)cosec x
lim
2sin x(cos x sin x)(cos x sin x)

  
 
=
2 3
x
4
(cot x cot x 1)cosec x
lim
2(cos x sin x)

 

=
2 3
cot cot 1 cosec
4 4 4
2 cos sin
4 4
    
   
  
  
 
 
=
  
3
1 1 1 2
1 1
2
2 2
 
 
 
 
=
6 2
4
2
= 3
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
41. ให้ S เป็นเซตของพหุนาม 3 2
f(x) ax bx cx d    โดยที่ a, b, c, d เป็นสมาชิกในเซต
{0, 1, 2, ...} ซึ่งมีสมบัติสอดคล้องกับ 2a b c d 4    จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับ
เท่าใด
เฉลย ตอบ 22
จาก 2a b c d 4   
ถ้า a 2; 4 b c d   = 4
b c d  = 0
จะได้ชุด (0, 0, 0) จานวน 3!
1
3!
 แบบ
ถ้า a 1; 2 b c d   = 4
b c d  = 2
จะได้ชุด (0, 0, 2) จานวน 3!
3
2!
 แบบ
จะได้ชุด (0, 1, 1) จานวน 3!
3
2!
 แบบ
ถ้า a 0; 0 b c d   = 4
b c d  = 4
จะได้ชุด (0, 0, 4) จานวน 3!
3
2!
 แบบ
จะได้ชุด (0, 1, 3) จานวน 3! 6 แบบ
จะได้ชุด (0, 2, 2) จานวน 3!
3
2!
 แบบ
จะได้ชุด (1, 1, 2) จานวน 3!
3
2!
 แบบ
ดังนั้น จานวนสมาชิกของ S = 1 3 3 3 6 3 3     
= 22
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
42. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วยจานวน 11, 3, 6, 3, 5, 3, x ให้ S เป็นเซตของ x ที่เป็นไปได้
ทั้งหมด ซึ่งทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ของข้อมูลชุดนี้ มีค่าแตกต่างกัน
ทั้งหมด และในบรรดาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เหล่านี้นามาจัดเรียงกันใหม่
จากน้อยไปมากแล้วเป็นลาดับเลขคณิต จงหาผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S
เฉลย ตอบ 22
เรียงข้อมูลใหม่ (โดยยังไม่รวม x) จากน้อยไปมาก จะได้ 3, 3, 3, 5, 6, 11
ซึ่งทาให้ได้ว่า Mode 3
และ x ต้องมากกว่า 3 เพราะว่า ถ้า x 3 แล้ว Med 3 ด้วย
พิจารณาตาแหน่งของ Med
3 3 3 5 6 11
 ถ้าตาแหน่งของ Med 4 จะได้ Med x; x (3, 5] 
 ถ้าตาแหน่งของ Med 5 หรือ 6 หรือ 7 จะได้ Med 5
กรณี Med = x จะได้ X =
3 3 3 x 5 6 11
7
     
=
31 x
7

(ซึ่ง x 3 )
ซึ่ง x 3 จะได้ X >
31 3
7

X > 4.86
ลาดับ Mode X Med
ไม่เป็นลาดับเลขคณิต
3 มากกว่า 4.86
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ลาดับ Mode Med X
เป็นลาดับเลขคณิตได้โดย
d = x 3 =
31 x
x
7


2x 3 =
31 x
7

14x 21 = 31 x
13x = 52
x = 4
กรณี Med = 5 จะได้ลาดับเลขคณิต Mode Med X มี d 2
ทาให้ได้ว่า X 7
X =
3 3 3 5 6 11 x
7
     
7 =
31 x
7

x = 18
ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดใน S 4 18 22  
43. มีหนังสือที่แตกต่างกัน 5 เล่ม คือ หนังสือ ก หนังสือ ข หนังสือ ค หนังสือ ง และ หนังสือ จ สุ่ม
เลือกหนังสือเหล่านี้มาครั้งละ 3 เล่ม ความน่าจะเป็นที่จะได้หนังสือ ก หรือ หนังสือ ข เท่ากับ
เท่าใด
เฉลย ตอบ 0.9
5 5!
n(S) 10
3 2!3!
 
   
 
วิธี
ให้ E แทนเหตุการณ์ที่สุ่มหยิบแล้วได้หนังสือ ค หนังสือ ง และหนังสือ จ
n(E) 1 วิธี
n(E) 1
P(E) 0.1
n(S) 10
  
ความน่าจะเป็นที่จะสุ่มหยิบหนังสือแล้วได้หนังสือ ก หรือหนังสือ ข = 1 0.1
= 0.9
3 มากกว่า 4.86
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
ข้อมูลต่อไปนี้ สำหรับตอบคำถำมข้อ 44-45
ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีนักเรียนจานวน 30 คน ปรากฏว่ามีนักเรียน 17
คน สอบได้คะแนนในช่วง 10-39 คะแนน มีนักเรียน 10 คน สอบได้คะแนนในช่วง 40-49 คะแนน และมี
นักเรียน 3 คน สอบได้คะแนนในช่วง 50-59 คะแนน
44. ถ้าแบ่งคะแนนเป็นเกรด 3 ระดับ คือ เกรด A เกรด B และเกรด C โดยที่ 10% ของนักเรียนได้
เกรด A และ 20% ของนักเรียนได้เกรด B แล้ว คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับกี่คะแนน
เฉลย ตอบ 43.5
ช่วงคะแนน จานวนนักเรียน (คน) ความถี่สะสม
10-39 17 17
40-49 10 27
50-59 3 30
30
คะแนนสูงสุดของเกรด C อยู่ตาแหน่ง 70P
ตาแหน่ง 70
70(30)
P 21
100
  (อยู่ในอันตรภาคชั้น 40-49)
 70P =
21 17
39.5 (10)
10
 
 
 
= 39.5 4
= 43.5
ดังนั้น คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับ 43.5 คะแนน
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
45. จากข้อมูลข้างต้น สมมุติว่าคะแนนมีการแจกแจงปกติ มีสัมประสิทธิ์การแปรผันเป็น 1
3
ถ้า
คะแนนสูงสุดของเกรด B มีคะแนนมาตรฐานเป็น 1.5 แล้ว คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้
เท่ากับกี่คะแนน
เฉลย ตอบ 33
คะแนนสูงสุดของเกรด B อยู่ตาแหน่ง 90P
ตาแหน่ง 90
90(30)
P 27
100
 
จากตารางในข้อ 44 จะได้ว่า 90P อยู่ในอันตรภาคชั้น 40-49
ซึ่งตาแหน่งของ 90P เท่ากับความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 40-49 พอดี
จะได้ว่า 90P = ขอบบนของอันตรภาคชั้น 40-49
 90P = 49.5
จาก z =
x X
s

1.5 =
49.5 X
s

…..(1)
1.5 =
49.5 X
s s

1.5 =
49.5
3
s

s = 11
แทน s 11 ใน (1) จะได้ 1.5 =
49.5 X
11

16.5 = 49.5 X
X = 33
ดังนั้น คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 33 คะแนน
จะได้
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
46. จงหาจานวนวิธีทั้งหมดในการจัด ชาย 3 คน และหญิง 3 คน ซึ่งมี นาย ก. และ นางสาว ข.
รวมอยู่ด้วย ให้ยืนเป็นแถวตรง 2 แถวๆ ละ 3 คน โดยที่ นาย ก. และ นางสาว ข. ไม่ได้ยืน
ติดกันในแถวเดียวกัน
เฉลย ตอบ 528
จัดชาย 3 คน หญิง 3 คน ยืนเป็นแถวตรง 2 แถว แถวละ 3 คน
จัดได้ 6! 720 วิธี
ถ้าให้ นาย ก กับนางสาว ข ยืนติดกัน คิดเป็น 5 คน
กรณี 1;
จัดได้
2
(2!)(4!)
1
 
 
 
= 96 วิธี
กรณี 2;
จัดได้
2
(2!)(4!)
1
 
 
 
= 96 วิธี
ดังนั้น จานวนวิธีที่ นาย ก และ นางสาว ข ไม่ได้ยืนติดกันในแถวเดียวกัน = 720 96 96 
= 528 วิธี
ก, ข อยู่แถวบน
ก, ข อยู่แถวล่าง
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
47. ถ้า d เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และจานวน 1059, 1417 และ 2312 หารด้วย d แล้วมี
เศษเหลือเท่ากัน คือ r แล้วค่าของ d r เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 343
หา d d = ห.ร.ม. ของ (1,417 1,059) กับ (2,312 1,417)
= ห.ร.ม. ของ 358 กับ 895
2 358 895 2
358 716
0 179
จะได้ d 179
หาr 1,417 179 จะได้ 164
1,059 179 จะได้ 164
2,312 179 จะได้ 164
จะได้ r 164
ดังนั้น d r 179 164 343   
48. กาหนดให้ a, b, c และ d เป็นจานวนจริง ถ้ากราฟ y x 1 a b    
และกราฟ y x c d   ตัดกันที่จุด (2, 5) และ (8, 3) แล้วค่าของ a b c d   เท่ากับ
เท่าใด
เฉลย ตอบ 15
กราฟ y x 1 a b     ตัดกับกราฟ y x c d   ที่จุด (2, 5) และ (8, 3) จะได้ว่า แทนค่า
ทั้งสองจุดลงในทั้ง 2 สมการ ต้องเป็นจริง
พิจารณาสมการ y = x 1 a b   
ที่จุด (2, 5) ; 5 = 2 1 a b   
5 = 1 a b   …..(1)
ที่จุด (8, 3) ; 3 = 8 1 a b   
3 = 7 a b   …..(2)
(1) (2); 2 = 1 a 7 a   
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
กรณี 1 ; a 1
2 = (1 a) (7 a)   
2 = 1 a 7 a   
2 = 6 (เป็นเท็จ)
กรณี 2 ; 1 a 7 
2 = (1 a) (7 a)  
2 = 1 a 7 a  
a = 3
กรณี 3 ; a 7
2 = (1 a) (7 a)  
2 = 1 a 7 a  
2 = 6 (เป็นเท็จ)
แทน a 3 ใน (1); 5 = 1 3 b  
5 = 2 b 
b = 7
พิจารณาสมการ y = x c d 
ที่จุด (2, 5) ; 5 = 2 c d  …..(3)
ที่จุด (8, 3) ; 3 = 8 c d  …..(4)
(3) (4); 2 = 2 c 8 c  
กรณี 1 ; c 2
2 = (2 c) (8 c)  
2 = 2 c 8 c  
2 = 6 (เป็นเท็จ)
กรณี 2 ; 2 c 8 
2 = (2 c) (8 c)   
2 = 2 c 8 c   
c = 6
กรณี 3 ; a 8
2 = (2 c) (8 c)   
2 = 2 c 8 c   
2 = 6 (เป็นเท็จ)
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
แทน c 6 ใน (3); 5 = 2 6 d 
5 = 4 d
d = 1
ดังนั้น a b c d 3 7 6 1 15       
49. กาหนดให้ ab เป็นจานวนสองหลัก โดยที่ a, b {1, 2, ..., 9} และ a เท่ากับสองเท่าของ b
ถ้า (310 ab) (465 ba) 2790    แล้ว a b เท่ากับเท่าใด
เฉลย ตอบ 9
เนื่องจาก ab เป็นจานวนสองหลัก จะได้ว่า ab 10a b  …..(1)
และ ba 10b a  …..(2)
แต่ a 2b
แทนใน (1) ; ab 10(2b) b 21b  
แทนใน (2) ; ba 10b 2b 12b  
จาก (310 ab) (465 ba)   = 2,790
(310 21b) (465 12b)   = 2,790
6,510b 5,580b = 2,790
930b = 2,790
b = 3
จะได้ a 2(3) 6 
ดังนั้น a b 6 3 9   
สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์
50. กาหนด S เป็นเซตของ (a, b, c, d, e, f) โดยที่ a, b, c, d, e, f {0, 1, 2, ..., 9} ซึ่งมีสมบัติ
สอดคล้องกับ 3 2
a c 4  , b 2
2 d 7  และ 3 2
e f 1   จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับ
เท่าใด
เฉลย ตอบ 6
S {a, b, c, d, e, f} โดยที่ a, b, c, d, e, f {0, 1, 2, ..., 9}
ใช้วิธีการแทนค่า
จาก 3 2
a c 4  แทนค่า a 2, c 2  จะได้ 3 2
2 2 4  เป็นจริง
จาก b 2
2 d 7  แทนค่า b 3, d 1  จะได้ 3 2
2 1 7  เป็นจริง
แทนค่า b 4, d 3  จะได้ 4 2
2 3 7  เป็นจริง
แทนค่า b 5, d 5  จะได้ 5 2
2 5 7  เป็นจริง
จาก 3 2
e f 1   แทนค่า e 0, f 1  จะได้ 3 2
0 1 1   เป็นจริง
แทนค่า e 2, f 3  จะได้ 3 2
2 3 1   เป็นจริง
จะได้ a 2 , b 3, 4, 5 , c 2 , d 1, 3, 5 , e 0, 2 , f 1, 3
ดังนั้น S {0, 1, 2, 3, 4, 5} ซึ่ง n(S) 6

More Related Content

What's hot (19)

Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat15412
Pat15412Pat15412
Pat15412
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat15704
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
Relation and function
Relation and functionRelation and function
Relation and function
 
Pat15703
Pat15703Pat15703
Pat15703
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
สรุปสถิติ
สรุปสถิติสรุปสถิติ
สรุปสถิติ
 
Pat15510
Pat15510Pat15510
Pat15510
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
Pat15803
Pat15803Pat15803
Pat15803
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 

Viewers also liked

Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันPumPui Oranuch
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 

Viewers also liked (20)

Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
 
Pat157
Pat157Pat157
Pat157
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
Math kit ebook
Math kit ebookMath kit ebook
Math kit ebook
 
Economics in Daily Life
Economics in Daily LifeEconomics in Daily Life
Economics in Daily Life
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
PAT1
PAT1PAT1
PAT1
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
O-net คณิตศาสตร์ 2559
O-net คณิตศาสตร์ 2559O-net คณิตศาสตร์ 2559
O-net คณิตศาสตร์ 2559
 
Pat1 มี.ค. 58
Pat1 มี.ค. 58Pat1 มี.ค. 58
Pat1 มี.ค. 58
 
O-net ภาษาอังกฤษ 2559
O-net ภาษาอังกฤษ 2559O-net ภาษาอังกฤษ 2559
O-net ภาษาอังกฤษ 2559
 
GAT1 ธ.ค. 54 - มี.ค. 58
GAT1 ธ.ค. 54 - มี.ค. 58GAT1 ธ.ค. 54 - มี.ค. 58
GAT1 ธ.ค. 54 - มี.ค. 58
 
O-net สังคม 2559
O-net สังคม 2559O-net สังคม 2559
O-net สังคม 2559
 
Pat2 ธ.ค. 54
Pat2 ธ.ค. 54Pat2 ธ.ค. 54
Pat2 ธ.ค. 54
 
Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 

Similar to Pat1

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 619GATPAT1
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตPumPui Oranuch
 
สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดAon Narinchoti
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1Chay Nyx
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1Chay Nyx
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 

Similar to Pat1 (20)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Pat1 set1
Pat1 set1Pat1 set1
Pat1 set1
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัด
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
01
0101
01
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 

More from Soraya Khamfu

ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54Soraya Khamfu
 
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614Soraya Khamfu
 
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาอย่างยั่งยืนการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาอย่างยั่งยืนSoraya Khamfu
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลกSoraya Khamfu
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลกSoraya Khamfu
 

More from Soraya Khamfu (11)

Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
 
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614
ใบงานสำรวจตนเอง 24 โสรยา_614
 
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาอย่างยั่งยืนการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 

Pat1

  • 1. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ประเภทข้อสอบ : ข้อสอบ PAT1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วันที่สอบ : 3 มีนาคม 2555 รหัสวิชา : 71 ชื่อวิชา : ความถนัดทางคณิตศาสตร์ จานวนข้อสอบ ปรนัย : 25 อัตนัย : 25 ส่วนที่ 1 : จานวน 25 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 125 คะแนน คาสั่ง : แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แต่ละข้อมีคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สาหรับเซต S ใดๆ ให้ S แทนคอมพลีเมนต์ของเซต S กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซตใน เอกภพสัมพัทธ์ U โดยที่ A B B  , C A และB C   ถ้าเซต U มีสมาชิก 12 ตัว เซต A B  มีสมาชิก 10 ตัว และเซต A B มีสมาชิก 4 ตัว แล้วจะมีเซต C ทั้งหมดกี่เซต 1. 60 เซต 2. 48 เซต 3. 16 เซต 4. 8 เซต เฉลย ตอบตัวเลือก 2 กาหนด A B B  , C A และ B C   n(U) 12 , n(A B ) 10   , n(A B ) 4  เขียนแผนภาพได้ดังนี้ A B C 1 2 3 4 5 U
  • 2. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ จาก n(A B )  = n(A B) (บริเวณ  +  + ) 10 = n(A B) (บริเวณ  +  + ) 10 = n(B) (บริเวณ  +  + ) จะได้ n(B) = 12 10 (บริเวณ  + ) = 2 และ n(A B ) = n(A B) (บริเวณ  + ) 4 = n(A B) (บริเวณ  + ) บริเวณ  +  +  +  = n(A) 6 จานวนเซต C = สับเซตทั้งหมดของเซต A – สับเซตของ A ที่อินเตอร์เชกชันกับเซต B แล้วเป็นเซตว่าง = 6 4 2 2 = 64 16 = 48 เซต 2. กาหนดให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ใดๆ ประพจน์   [(p q) p] [(r s) (r s)]      สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ 1. p r 2. q r 3. (p r) (q r)   4. (q r) (q s)   เฉลย ตอบตัวเลือก 3 [(p q) p] [(r s) (r s)]          [(p p) ( q p)] [r (s s)]           [T ( q p)] [r F]       ( q p) r     ( q p) r      (q p) r   (q r) (p r)    (p r) (q r)  
  • 3. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 3. ถ้า A แทนเซตของจานวนเต็มทั้งหมด ที่สอดคล้องกับอสมการ 3 x 1 2x 2 3x 1    และ B แทนเซตคาตอบของอสมการ 2 x(x 2)(x 1) 0   แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. เซต A B มีสมาชิก 5 ตัว 2. A B A  3. เซต A B มีสมาชิก 1 ตัว 4. (A B) (B A) B    เฉลย ตอบตัวเลือก 1 หา A 3 x 1 2x   2 3x 1 กรณี 1 ; 1 x 3   3(x 1) 2x    2(3x 1)  3x 3 2x    6x 2  x  5 1 5, 3        กรณี 2 ; 1 x 1 3    3(x 1) 2x    2(3x 1)  3x 3 2x    6x 2 11x  1 x  1 11 1 1 , 3 11      กรณี 3 ; x 1 3(x 1) 2x   2(3x 1) 3x 3 2x   6x 2 5x  5 x  1  –5 1 –1 1
  • 4. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ เนื่องจาก A เป็นเซตของจานวนเต็ม จะได้ว่า A { 4, 3, 2, 1, 0}     หา B 2 x(x 2)(x 1)   0 พิจารณา x(x 2)  0 ; x 1  ( 2, 1) ( 1, 0)    พิจารณาข้อ 1. A B { 4, 3, 2, 1, 0}      จะได้ n(A B) 5  ดังนั้น ข้อ ก. ถูกต้อง 4. กาหนด R แทนเซตของจานวนจริง ให้ r {(x,y) R R x y y x 1 0}       พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. r เป็นความสัมพันธ์ที่มีโดเมน rD {x R x 1}    ข. ความสัมพันธ์ 1 r เป็นฟังก์ชัน ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด เฉลย ตอบตัวเลือก 4 พิจารณา ก. x y y x 1   = 0 y( x 1) x 1   = 0 y = x 1 x 1   จะได้ rD R พิจารณา ข. จาก y = x 1 x 1   ถ้า x 0 จะได้ y = x 1 x 1   y = 1 –2 –1 0
  • 5. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ หา 1 r โดยการเปลี่ยน x เป็น y และเปลี่ยน y เป็น x จะได้ x 1 (x หนึ่งค่าทาให้เกิด y ได้หลายค่า) ดังนั้น 1 r ไม่เป็นฟังก์ชัน ดังนั้น ข้อ ก. ผิด และ ข้อ ข. ผิด 5. กาหนดให้ 0 45   และให้ tan A (sin )    cot B (sin )    sin C (cot )    cos D (cot )    ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. A B C D   2. B A C D   3. A C D B   4. C D B A   เฉลย ตอบตัวเลือก 2 สมมุติให้ 37  จะได้ sin37 = 3 5 = 0.6 cos37 = 4 5 = 0.8 tan37 = 3 4 = 0.75 cot37 = 4 3 = 1.33 จะได้ sin tan cos cot       พิจารณา tan A (sin )    และ cot B (sin )    เนื่องจาก sin 1  จะได้ tan cot (sin ) (sin )     A B พิจารณา sin C (cot )    และ cos D (cot )    เนื่องจาก cot 1  จะได้ sin cos (cot ) (cot )     C D พิจารณา A กับ C เนื่องจาก A มีฐาน คือ sin ซึ่งน้อยกว่า 1 และมีเลขชี้กาลัง คือ tan ซึ่งมีค่าเป็นบวก จะได้ว่า A 1 เนื่องจาก C มีฐาน คือ cot ซึ่งมากกว่า 1 และมีเลขชี้กาลัง คือ sin ซึ่งมีค่าเป็นบวก จะได้ว่า C 1 ดังนั้น B A C D   37 5 3 4
  • 6. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 6. ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมี a, b และ c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ มุม C ตามลาดับ ถ้ามุม C เท่ากับ 60 b 5 และ a c 2  แล้วความยาวของเส้นรอบรูป สามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 25 2. 29 3. 37 4. 45 เฉลย ตอบตัวเลือก 4 จาก a c = 2 c = a 2 …..(1) จากกฎของโคไซน์ ; 2 c = 2 2 a b 2abcosC  2 (a 2) = 2 2 a b 2abcos60  2 a 4a 4  = 2 2 1 a 5 2a(5) 2         4a 4  = 25 5a a = 21 จาก (1) ; c = 21 2 19  ดังนั้น ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม ABC = 21 5 19  = 45 หน่วย 7. วงรีที่มีแกนเอกอยู่บนแกน x แกนโทอยู่บนแกน y ระยะระหว่างจุดโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 12 หน่วย ถ้าความยาวของคอร์ดที่ผ่านจุดโฟกัสหนึ่งและตั้งฉากกับแกนเอกของวงรี เท่ากับ 10 หน่วย แล้วสมการของวงรีคือข้อใดต่อไปนี้ 1. 2 2 5x 9y 405  2. 2 2 9x 5y 81  3. 2 2 5x 9y 225  4. 2 2 9x 5y 20  เฉลย ตอบตัวเลือก 1 ระยะห่างระหว่างจุดโฟกัสทั้งสอง = 12 2c = 12 c = 6 จาก 2 a = 2 2 b c 2 2 a b = 2 c 2 2 a b = 36 …..(1)
  • 7. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ลาตัสเรกตัมของวงรี = 10 2 2b a = 10 2 b = 5a …..(2) แทน (2) ใน (1) ; 2 a 5a = 36 2 a 5a 36  = 0 (a 4)(a 9)  = 0 a = 4, 9 แต่ a 0 จะได้ a = 9 2 a = 81 จาก (2) จะได้ 2 b = 5(9) 2 b = 45 สมการวงรี คือ 2 2 2 2 x y a b  = 1 2 2 x y 81 45  = 1 2 2 5x 9y = 405 8. พาราโบลาที่มีจุดโฟกัส F อยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม 2 2 x y 6x 4y 4 0     และมีจุด ยอด V อยู่ที่จุดตัดของวงกลมกับแกน y ถ้า A และ B เป็นจุดบนพาราโบลาซึ่งส่วนของเส้นตรง AB ผ่านจุดโฟกัส F และตั้งฉากกับแกนของพาราโบลา แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม VAB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 9 ตารางหน่วย 2. 12 ตารางหน่วย 3. 18 ตารางหน่วย 4. 36 ตารางหน่วย เฉลย ตอบตัวเลือก 3 2 2 x y 6x 4y 4    = 0 2 2 (x 6x 9) (y 4y 4)     = 4 9 4   2 2 (x 3) (y 2)   = 9 วงกลมมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ (3, 2) และรัศมียาว 3 หน่วย
  • 8. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ หาจุดตัดของวงกลมกับแกน y 2 2 (0 3) (y 2)   = 9 2 9 (y 2)  = 9 2 (y 2) = 0 y 2 = 0 y = 2 จุดตัดของวงกลมกับแกน y คือ (0, 2) จะได้ว่าพาราโบลามีจุดโฟกัสอยู่ที่ (3, 2) และมีจุดยอดอยู่ที่ (0, 2) จากรูป จะได้ c 3 ความยาวลาตัสเรกตัม = 4c = 4(3) = 12 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม VAB = 1 2 ความยาวฐานความสูง = 1 12 3 2   = 18 ตารางหน่วย 9. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ 2 (5x 23x 3) (x 5) 3 5 5 3                ถ้า A เป็นสับเซตในข้อต่อไปนี้ 1. {x R (5x 1)(x 3) 0}    2. {x R (4x 1)(x 4) 0}    3. {x R (2x 1)(x 5) 0}    4. {x R x 1 2}   เฉลย ตอบตัวเลือก 2 2 (5x 23x 3) 3 5         > (x 5) 5 3        2 (5x 23x 3) 3 5         > (x 5) 3 5         2 5x 23x 3  < (x 5)  2 5x 23x 3  < x 5  2 5x 22x 8  < 0    V(0, –2) (3, –2) A B O Y X
  • 9. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ (5x 2)(x 4)  < 0 2 A ,4 5        พิจารณาข้อ 1. (5x 1)(x 3) 0   1 ,3 5       1 A ,3 5        พิจารณาข้อ 2. (4x 1)(x 4) 0   1 ,4 4       1 A ,4 4        พิจารณาข้อ 3. (2x 1)(x 5) 0   1 ,5 2       1 A ,5 2        พิจารณาข้อ 4. x 1 < 2 2 < x 1 < 2 1 < x < 3 ( 1, 3) A ( 1, 3)  4+ +– 3+ +– 4+ +– 5+ +– –1 3
  • 10. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 10. กาหนดให้ x 1 , a 1 , b 1 และ c 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ถ้า 2 b ac แล้ว a b c c a b(log x)(log x log x) (log x)(log x log x)   ข. ถ้า c b 1  และ 2 2 2 a b c  แล้ว (c b) (c b) (c b) (c b)log a log a 2(log a)(log a)     ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด เฉลย ตอบตัวเลือก 1 พิจารณาข้อ ก. a b c(log x)(log x log x) = x x x 1 1 1 log a log b log c          =    x x x x x log c log b1 log a log b log c            =        x x x x log c / b1 log a log b log c  =       x x x x log c / b log a log b log c ส่วนด้านขวา พิจารณาในทานองเดียวกันได้ว่า c a b(log x)(log x log x) = x x x 1 1 1 log c log a log b          =    x x x x x log b log a1 log c log a log b            =      x x x x log b / a1 log c log a log b  =       x x x x log b / a log a log b log c เนื่องจาก 2 ac b ดังนั้นได้ว่า c b b a 
  • 11. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ดังนั้นได้ว่า a b c(log x)(log x log x) =       x x x x log c / b log a log b log c =       x x x x log b / a log a log b log c = c a b(log x)(log x log x) ดังนั้น ก. ถูก พิจารณาข้อ ข. (c b) (c b)log a log a  = a a 1 1 log (c b) log (c b)    = a a a a log (c b) log (c b) (log (c b))(log (c b))      =  a a a log (c b)(c b) (log (c b))(log (c b))     = 2 2 a a a log (c b ) (log (c b))(log (c b))    = 2 a a a log a (log (c b))(log (c b))  จาก 2 2 2 a c b  = a a 2 (log (c b))(log (c b))  = (c b) (c b)2(log a)(log a)  ดังนั้น ข. ถูก
  • 12. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 11. ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ log( x 1 5) logx   และ B เป็นเซตคาตอบของสมการ 2 4 8 64log (3x) log (9x) log (27x) 3 2log (x)    ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 12 9 2. 16 9 3. 32 9 4. 96 9 เฉลย ตอบตัวเลือก 3 หา A log( x 1 5)  = log x x 1 5  = x x 1 = x 5 2 ( x 1) = 2 (x 5) x 1 = 2 x 10x 25  2 x 11x 24  = 0 (x 8)(x 3)  = 0 x = 8, 3 แต่เมื่อแทน x 3 ทาให้สมการเป็นเท็จ จะได้ A {8} หา B 2 4 8log (3x) log (9x) log (27x)  = 643 2log (x) 2 32 2 2 log (3x) log (9x) log (27x)  = 2 6 2 2 3log 2log (x) 11 32 2 2 2log (3x) log (9x) log (27x)  = 2 22 1 3log log x 3  11 32 2 2 2log (3x) log (9x) log (27x)  = 1 3 2 2log 8 log x 11 32 2log (3x)(9x) (27x) = 1 3 2log 8x 11 32 (3x)(9x) (27x) = 1 3 8x 11 6 27x = 1 3 8x 9 6 x = 8 27 3 2 x = 3 2 3      
  • 13. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ x = 2 3 3 2 3          x = 2 2 3       x = 4 9 จะได้ 4 B 9        ดังนั้น ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A B คือ 4 32 8 9 9   12. กาหนดให้ จุด A( 1, 1) , B(2, 5) และ C(2, 3) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A และจุด B ลากส่วนเส้นตรง CD ตั้งฉากกับเส้นตรง L ที่จุด D แล้ว เวกเตอร์ AD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 7 (3i 4 j) 25   2. 7 (3i 4 j) 25  3. 7 (3i 4 j) 25   4. 7 (3i 4 j) 25  เฉลย ตอบตัวเลือก 3 วาดรูปได้ดังนี้ A(–1, 1) B(2, 5) C(2, –3) X Y
  • 14. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ AB = 2 1 5 1             = 3 4       AB = 2 2 3 4 = 5 AC = 2 1 3 1            = 3 4      AC = 2 2 3 ( 4)  = 5 เนื่องจาก AD เป็นโปรเจกชันของ AC บน AB จะได้ AD =   AB AC cos AB  = AC AB AB AB AB        = 3 3 3 4 4 4 5 5                                 = 3 49 16 5 5                    = 37 425        = 7 (3i 4 j) 25  
  • 15. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 13. กาหนดให้ a, b, c, d, x และ y เป็นจานวนจริง และ 1 x A y 1       , a b B c d        , 1 0 C 0 1        และ 1 0 I 0 1        ถ้า 2 A I และ AB 2C แล้ว ค่าของ 1 det(B ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 0.25 2. 0.5 3. 2 4. 4 เฉลย ตอบตัวเลือก 1 2 A = 1 x 1 x y 1 y 1             = 1 xy 0 0 xy 1      แต่ 2 A I จะได้ 1 xy 1  xy 0 จาก A = 1 x y 1      det(A) = 1 xy  = 1 0  = 1 จาก C = 1 0 0 1       det(C) = 1 AB = 2C det(AB) = det(2C) det(A)det(B) = 2 2 det(C) det(B) = 4( 1) det(B) = 4 แต่ 1 det(B ) = 1 det(B) = 1 4 = 0.25
  • 16. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 14. กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ใดๆ ซึ่งไม่ใช่เวกเตอร์ศูนย์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. 2 2 2 u v u v   ข. ถ้า u ตั้งฉากกับ v แล้ว 2 2 2 u v u v   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด เฉลย ตอบตัวเลือก 3 พิจารณา ก. สมมุติให้ u 0 และ v 0 แทนใน 2 u v < 2 2 u v 2 0 < 2 2 0 0 0 < 0 (เป็นเท็จ) พิจารณา ข. 2 u v = 2 2 u 2u v v   = 2 2 u 2 u v cos v  = 2 2 u 2 u v cos90 v  = 2 2 u v ดังนั้น ข้อ ก. ผิด แต่ข้อ ข. ถูก
  • 17. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 15. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก จะได้ว่า n n 2 2 n n 1 a b a b (a b) ab        ข. ถ้า 1 2 3a , a , a , ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง โดยที่ 2 1 2 n 2 1 2 3 m a a ... a n a a a ... a m         สาหรับจานวนเต็มบวก n และ m ที่แตกต่างกัน แล้ว m n a 2m 1 a 2n 1    ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด เฉลย ตอบตัวเลือก 1 พิจารณา ก. n n n n 1 a b (a b)      = n n n n n 1 n 1 a b (a b) (a b)          = n n n 1 n 1 a b a b a b                    = a b a b a b a b 1 1 a b a b                 = a b a b a b a b a a b b a b a b         = a b b a  = 2 2 a b ab  พิจารณา ข. 1 2 n 1 2 3 m a a a a a a a        =     1 1 n 2a (n 1)d 2 m 2a (m 1)d 2     2 2 n m =     1 1 n 2a (n 1)d m 2a (m 1)d    
  • 18. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ n m = 1 1 2a (n 1)d 2a (m 1)d     12a n mnd nd  = 12a m mnd md  12a n nd = 12a m md 1n(2a d) = 1m(2a d) 1 1n(2a d) m(2a d)   = 0 1(n m)(2a d)  = 0 แต่ n m ดังนั้น 12a d = 0 12a = d m n a a = 1 1 a (m 1)d a (n 1)d     = 1 1 1 1 a (m 1)(2a ) a (n 1)(2a )     = 1 1 1 1 1 1 a 2a m 2a a 2a n 2a     = 1 1 1 1 2a m a 2a n a   = 1 1 a (2m 1) a (2n 1)   = 2m 1 2n 1   ดังนั้น ข้อ ก. ถูก และ ข้อ ข. ถูก
  • 19. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 16. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ f :R R เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ทุกอันดับ โดยที่ f (x) 2x 1   และ f (2) 2  สมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y f(x) ที่ จุด (1,3) คือข้อใดต่อไปนี้ 1. 1 y x 2 2    2. 1 5 y x 2 2   3. 1 5 y x 2 2    4. 1 y x 2 2   เฉลย ตอบตัวเลือก 2 f (x) = 2x 1 f (x) = (2x 1)dx = 2 x x c  f (2) = 2 2 2 c  2 = 6 c c = 4 จะได้ f (x) = 2 x x 4  ที่จุด (1, 3) ; f (1) = 1 1 4  = 2 สมการเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y f(x) ที่จุด (1, 3) จะมีความชันเท่ากับ 1 2 สมการเส้นตรง คือ 1y y = 1m(x x ) y 3 = 1 (x 1) 2  2y 6 = x 1 y = 1 5 x 2 2 
  • 20. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 17. ให้ R แทนเซตจานวนจริง ให้ f :R R , g : R R และ h:R R เป็นฟังก์ชัน โดยที่ 2 ax 1 f(x) x 1    เมื่อ a เป็นจานวนจริง 2 g(x) (x 1)f (x)  และ f(x) x 2 h(x) g(x) x 2     ถ้าฟังก์ชัน h ต่อเนื่องที่ x 2 แล้ว ค่าของ 2h( 2) h(2)  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 0.6 2. 0.8 3. 1 4. 3 เฉลย ตอบตัวเลือก 4 f (x) = 2 ax 1 x 1   f (x) = 2 2 2 (x 1)(a) (ax 1)(2x) (x 1)     = 2 2 2 2 ax a 2ax 2x (x 1)     = 2 2 2 ax 2x a (x 1)     g(x) = 2 (x 1)f (x) = 2 2 2 2 ax 2x a (x 1) (x 1)          = 2 2 ax 2x a x 1     h(x) = f(x); x 2 g(x); x 2    แต่ฟังก์ชัน h ต่อเนื่องที่ x 2 จะได้ว่า f(2) = g(2) 2 a(2) 1 2 1   = 2 2 a(2) 2(2) a 2 1     2a 1 = 4a 4 a   5a = 5 a = 1 2h( 2) h(2)  = 2g( 2) f(2)  = 2 2 2 2[( 2) 2( 2) 1] (2) 1 ( 2) 1 2 1           = 2(4 4 1) 1 5 5    = 3 เมื่อ เมื่อ
  • 21. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 18. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f :R R , g : R R และ h:R R เป็นฟังก์ชันที่มี อนุพันธ์ทุกอันดับ โดยที่ 2 h(x) x 4  , g(x) h(f(x) 1)  และ f (1) g (1) 1   แล้วค่าของ f(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 2 2. 1.5 3. 1 4. 0.5 เฉลย ตอบตัวเลือก 2 h(x) = 2 x 4 g(x) = h(f(x) 1) = 2 (f(x) 1) 4  g (x) = 2(f(x) 1)f (x) g (1) = 2(f(1) 1)f (1) 1 = 2(f(1) 1)(1) f (1) = 3 2 = 1.5 19. กาหนดสมการจุดประสงค์ คือ P 3x 2y  โดยมีอสมการข้อจากัด ดังนี้ x 2y 6  , 2x y 8  , x y 1   , x 0 และ 0 y 2  ค่าของ P มีค่ามากสุด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 10 2. 12 3. 38 3 4. 18 เฉลย ตอบตัวเลือก 3 สมการจุดประสงค์ P = 3x 2y อสมการข้อจากัด x 2y  6 2x y  8 x y   1 x  0 0  y  2
  • 22. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ เขียนกราฟได้ดังนี้ จะได้จุดมุม 10 4 A(0, 0), B(0, 1), C(1, 2), D(2, 2), E , , F(4, 0) 3 3       แทนค่าจุดมุมแต่ละจุดในสมการจุดประสงค์ ที่จุด A(0, 0) ; P = 3(0) 2(0) = 0 ที่จุด B(0, 1) ; P = 3(0) 2(1) = 2 ที่จุด C(1, 2) ; P = 3(1) 2(2) = 7 ที่จุด D(2, 2) ; P = 3(2) 2(2) = 10 ที่จุด 10 4 E , 3 3       ; P = 10 4 3 2 3 3             = 38 3 ที่จุด F(4, 0) ; P = 3(4) 2(0) = 12 ดังนั้น ค่าของ P มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 38 3 Y X A B C D E F      
  • 23. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 20. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนจานวน 30 คน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 25 คะแนน และ 5 คะแนน ตามลาดับ ถ้านาคะแนนของ นายสายชลและนางสาวฟ้ าซึ่งสอบได้ 20 คะแนน และ30 คะแนน ตามลาดับ มารวมด้วย แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 4 2. 5 3. 6 4. 7 เฉลย ตอบตัวเลือก 2 โจทย์กาหนด n 30,X 25,s 5   จาก X = x n  25 = x 30  x = 750 2 s = 2 2x X n   25 = 2 2x 25 30   2 x = 19,500 นาคะแนนของนายสายชลและนางสาวนางฟ้ามารวมด้วยจะได้ x = 750 20 30  = 800 X = 800 32 = 25 2 x = 2 2 19,500 20 30  = 20,800 ดังนั้น s = 2 2x X n   = 220800 25 32  = 5
  • 24. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 21. กาหนดให้ A={1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} สุ่มหาสับเซตของ A ที่มีสมาชิก 3 ตัว ความน่าจะเป็นที่จะ ได้สับเซต {a, b, c} A โดยที่ a b c  และ a, b, c เป็นลาดับเลขคณิต เท่ากับข้อใด ต่อไปนี้ 1. 6 210 2. 9 210 3. 6 35 4. 9 35 เฉลย ตอบตัวเลือก 4 A {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} กรณีที่1 d 1 จะได้ลาดับดังนี้ 123, 234, 345, 456, 567 กรณีที่2 d 2 จะได้ลาดับดังนี้ 135, 246, 357 กรณีที่3 d 3 จะได้ลาดับดังนี้ 147 n(E) = 5 3 1  = 9 n(S) = 7 3       = 7! 3!4! = 35 ดังนั้น P(E) = n(E) n(S) = 9 35
  • 25. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 22. ตารางต่อไปนี้ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานจานวน 50 คน อายุ (ปี) จานวน (คน) 25 9 30 17 35 24 40 37 45 43 50 50 ถ้าอายุต่าสุดของพนักงาน คือ 21 ปี แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 35 2. 37.5 3. 41 4. 43 เฉลย ตอบตัวเลือก 1 เขียนเป็นตารางแจกแจงความถี่แบบเป็นอันตรภาคชั้นดังนี้ อายุ (ปี) f x fx 21-25 9 23 207 26-30 8 28 224 31-35 7 33 231 36-40 13 38 494 41-45 6 43 258 46-50 7 48 336 X = fx n  = 207 224 231 494 258 336 50      = 1750 50 = 35
  • 26. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 23. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 10 คน ทาแบบทดสอบวัด ความถนัดฉบับหนึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนของนักเรียนแต่ละคนดังนี้ กลุ่มที่ 1 7 6 5 8 3 6 9 7 6 10 กลุ่มที่ 2 6 9 15 12 1 8 7 7 5 6 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ 1 มีความแตกต่างกันมากกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2 ข. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เท่ากับ 5 14 และ 3 14 ตามลาดับ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด เฉลย ตอบตัวเลือก 4 พิจารณา ก. สัมประสิทธิ์ของพิสัย = max min max min x x x x   กลุ่มที่1 สัมประสิทธิ์ของพิสัย = 10 3 10 3   = 4 13 กลุ่มที่2 สัมประสิทธิ์ของพิสัย = 15 1 15 1   = 7 8 เนื่องจากสัมประสิทธิ์ของพิสัยของนักเรียนกลุ่มที่ 1 น้อยกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2 จะ ได้ว่านักเรียนกลุ่มที่ 1 มีการกระจายน้อยกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2 ดังนั้น ข้อ ก ผิด พิจารณา ข. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 3 5 6 6 6 7 7 8 9 10 กลุ่มที่ 2 1 5 6 6 7 7 8 9 12 15 กลุ่มที่1 ตาแหน่งของ 1Q = 10 1 4  = 2.75
  • 27. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 1Q = 5.75 ตาแหน่งของ 3Q = 3(10 1) 4  = 8.25 3Q = 8.25 C.Q.D. = 8.25 5.75 8.25 5.75   = 5 28 กลุ่มที่2 ตาแหน่งของ 1Q = 10 1 4  = 2.75 1Q = 5.75 ตาแหน่งของ 3Q = 3(10 1) 4  = 8.25 3Q = 9.75 C.Q.D. = 9.75 5.75 9.75 5.75   = 8 31 ดังนั้น ข้อ ข ผิด
  • 28. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 24. นิยาม b a b = a สาหรับ a และ b เป็นจานวนจริงบวกใดๆ ถ้า a, b และ c เป็นจานวนจริง บวก แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. a (b c) (a c) b     2. (a b) c a (bc)    3. a (b c) (a b) c     4. (a b) c (a c) (b c)      เฉลย ตอบตัวเลือก 2 นิยาม b a b a  พิจารณาข้อ 1. a (b c)  = (a c) b  c a (b ) = c (a ) b c b a = c b (a ) c b a = cb a (เป็นเท็จ) พิจารณาข้อ 2. (a b) c  = a (bc) b (a ) c = bc a b c (a ) = bc a (เป็นจริง) พิจารณาข้อ 3. a (b c)  = (a b) c  c a (b ) = b (a ) c c b a = b c (a ) c b a = bc a (เป็นเท็จ) พิจารณาข้อ 4. (a b) c  = (a c) (b c)   c (a b) = c c (a ) (b ) (เป็นเท็จ) ดังนั้น ข้อ 2. ถูกต้อง
  • 29. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 25. กาหนดให้ a 7 4 3  , b 2 2 2 2 และ c 2 3  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. 1 1 1 c a b   2. 1 1 1 c b a   3. 1 1 1 b a c   4. 1 1 1 b c a   เฉลย ตอบตัวเลือก 4 a = 7 4 3 = (4 3) 2 (4 3)   = 4 3 = 2 3 b = 2 2 2 2... 2 b = 2 2 2 2... 2 b = 2b 2 b 2b = 0 b(b 2) = 0 b = 0, 2 แต่ b 0 ดังนั้น b 2 c = 2 3 จะได้ว่า 2 < 2 3 < 2 3 b < c < a หรือ 1 b > 1 c > 1 a
  • 30. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ส่วนที่ 2 : จานวน 25 ข้อ ข้อละ 7 คะแนน รวม 175 คะแนน คาสั่ง : แบบอัตนัย จงเติมคาตอบที่ถูกต้อง (เป็นตัวเลข) 26. ในการสารวจสโมสรแห่งหนึ่งมีสมาชิกจานวน 100 คน พบว่าชอบอ่านนวนิยายหรือ หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร อย่างน้อย 1 รายการ และ มี 75 คน ชอบอ่านนวนิยาย มี 70 คน ชอบอ่านหนังสือพิมพ์ และ มี 80 คน ชอบอ่านนิตยสาร มีสมาชิกอย่างน้อยกี่คนที่ชอบอ่านทั้งสามรายการ เฉลย ตอบ 25 จากข้อมูลนามาเขียนแผนภาพได้ดังนี้ ให้ A แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านนวนิยาย B แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านหนังสือพิมพ์ C แทนเซตของสมาชิกที่ชอบอ่านนิตยสาร มี 75 คน ชอบอ่านนวนิยาย (บริเวณ a, b, d, e) มี 70 คน ชอบอ่านหนังสือพิมพ์ (บริเวณ b, c, e, f) มี 80 คน ชอบอ่านนิตยสาร (บริเวณ d, e, f, g) A B C a b c d e f g U = 100
  • 31. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ a 2b c 2d 3e 2f g      = 75 70 80  a 2b c 2d 3e 2f g      = 225 …..(1) a b c d e f g      = 100 …..(2) (2) 2; 2a 2b 2c 2d 2e 2f 2g      = 200 …..(3) (1) (3); a c e g    = 25 e = 25 a c g   เนื่องจาก a 0 , c 0 และ g 0 ดังนั้น e 25 ดังนั้น จะมีสมาชิกอย่างน้อย 25 คน ที่ชอบอ่านทั้ง 3 รายการ 27. ให้ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า 5 ax bx 4  หารด้วย 2 (x 1) ลงตัว แล้ว a b เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 6 หารสังเคราะห์ 1 a 0 0 0 b 4 a a a a a b 1 a a a a a b 4 a b a 2a 3a 4a a 2a 3a 4a 5a b      เนื่องจาก 5 ax bx 4  หารด้วย 2 (x 1) ลงตัว จะได้ว่าเศษเป็นศูนย์ นั่นคือ 4 a b  = 0 …..(1) 5a b = 0 …..(2) (2) (1) ; 4 4a  = 0 a = 1 แทน a 1 ใน (2) จะได้ 5(1) b = 0 b = 5 ดังนั้น a b 1 ( 5) 6    
  • 32. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 28. จงหาค่าของ 2 o o o o 2sin 60 (tan 5 +tan 85 ) 12sin 70 เฉลย ตอบ 6 2 2sin 60 (tan5 tan85 ) 12sin70  = 2 3 2 (tan5 cot5 ) 12sin70 2         = 3 sin5 cos5 2 12sin70 4 cos5 sin5           = 2 2 3 sin 5 cos 5 12sin70 2 cos5 sin5       = 3 1 12sin70 2 cos5 sin5       = 3 12sin70 sin10  = 3 12sin70 sin10 sin10  = 3 6(2sin70 sin10 ) sin10  = 3 6(cos60 cos80 ) sin10   = 1 3 6 cos80 2 sin10        = 3 3 6cos80 sin10   = 6cos80 cos80 = 6 co-function
  • 33. โดย สหัทยา ขาสุวัฒน์ สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 29. ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ 2 arccos(x) arccos(x 3) arccos( 1 x )   และให้ B เป็น เซตคาตอบของสมการ arccos(x) arcsin(x) arcsin(1 x)   จานวนสมาชิกของเซต P(A B) เท่ากับเท่าใด เมื่อ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S เฉลย ตอบ 1 หาเซต A ให้ a = arccos(x) cosa = x ให้ b = arccos(x 3) cosb = x 3 ให้ c = 2 arccos( 1 x ) cosc = 2 1 x arccos(x) = 2 arccos(x 3) arccos( 1 x )  arccos(x 3) = 2 arccos(x) arccos( 1 x )  b = a c cosb = cos(a c) cosb = cosa cosc sinasinc x 3 = 2 2 x 1 x 1 x x   กรณี 1 x 0 ; x 3 = 2 2 x 1 x 1 x (x)   x 3 = 0 (เป็นเท็จ) กรณี 2 x 0 ; x 3 = 2 2 x 1 x 1 x (x)   x 3 = 2 2x 1 x 2 3x = 2 2 4x (1 x ) 2 3x = 2 4 4x 4x 4 2 4x x = 0 2 2 x (4x 1) = 0 x = 1 1 0, , 2 2  แต่ x 0 ดังนั้น 1 A 0, 2        a 1 x b 1 c 1
  • 34. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ หาเซต B ให้ a = arccos(x) cosa = x ให้ b = arcsin x sin b = x ให้ c = arcsin(1 x) sinc = 1 x arccos(x) = arcsin(x) arcsin(1 x)  a = b c sina = sin(b c) sina = sin bcosc cosbsinc 2 1 x = 2 2 (x)( 2x x ) ( 1 x )(1 x)    2 2 1 x ( 1 x )(1 x)    = 2 (x)( 2x x ) 2 1 x (1 1 x)   = 2 (x)( 2x x ) 2 x 1 x = 2 x 2x x 2 2 x (1 x ) = 2 2 x (2x x ) 2 4 x x = 3 4 2x x 3 2 2x x = 0 2 x (2x 1) = 0 x = 1 0, 2 ดังนั้น 1 B 0, 2        จะได้ว่า A B =  n(A B) = 0 ดังนั้น 0 P(A B) 2 1   a 1 x x b 1 c 1 1 – x
  • 35. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 30. กาหนดให้ A, B และ C เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (nonsingular matrix) มิติ 3 3 และ I เป็น เมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณ มิติ 3 3 ถ้า a b c A d e f g h i          เมื่อ a, b, c, d, e, f, g, h และ i เป็น จานวนจริง และ 3 A 2I , 1 det(C ) 4  และ t 3g 3h 3i B C a b c 2d 2e 2f              แล้ว det(B) เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 48 จาก 3 A = 2I 3 det(A ) = det(2I)   3 det(A) = 3 2 det(I)   3 det(A) = 8(1) det(A) = 2 จาก 1 det(C ) = 4 1 det(C) = 4 det(C) = 1 4 t B C = 3g 3h 3i a b c 2d 2e 2f             t det(B C) = ( 3)( 1)(2)det(A)  t det(B C) = 6(2) t det(B C) = 12 12 = t det(B C) 12 = t det(B )det(C) 12 = 1 det(B) 4       ; t det(B ) det(B) det(B) = 48
  • 36. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 31. ให้ 5 4 3 2 f(x) x ax bx cx dx e      เมื่อ a, b, c, d, e เป็นจานวนจริง ถ้ากราฟ y f(x) ตัดกับกราฟ y 3x 2  ที่ x 1, 0, 1, 2  แล้วค่าของ f(3) f( 2)  เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 135 เนื่องจาก กราฟ f (x) ตัดกราฟ y 3x 2  ที่จุด x 1,0,1,2  แสดงว่าจุดที่ x 1,0,1,2  อยู่ บนกราฟ f (x) = 5 4 3 2 x ax bx cx dx e     = (x 1)(x 0)(x 1)(x 2)(x k)     ; เมื่อ c เป็นค่าคงที่ และเนื่องจากกราฟของ y = f(x) ตัดกับกราฟของ y 3x 2  จึงต้องบวกด้วย 3x 2 จะได้ f (x) = (x 1)(x 0)(x 1)(x 2)(x k) 3x 2       f (3) = (3 1)(3 0)(3 1)(3 2)(3 k) 3(3) 2       f (3) = 83 24k …..(1) f ( 2) = ( 2 1)( 2 0)( 2 1)( 2 2)( 2 k) 3( 2) 2             f ( 2) = 54 24k  …..(2) (1) (2); f(3) f( 2)  = 83 24k 52 24k   = 135 32. กาหนดให้ 1z และ 2z เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ 1 2z z 3  และ 1 2z z 1  (เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน z) ค่าของ 2 2 1 2z z เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 5 ให้ 1z a bi  และ 2z c di  1 2z z = a bi c di   = (a c) (b d)i   1 2z z = 2 2 (a c) (b d)   3 = 2 2 (a c) (b d)   9 = 2 2 (a c) (b d)   …..(1) 1 2z z = a bi c di   = (a c) (b d)i   1 2z z = 2 2 (a c) (b d)   1 = 2 2 (a c) (b d)   1 = 2 2 (a c) (b d)   …..(2)
  • 37. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ (1) (2) ; 10 = 2 2 2 2 (a c) (b d) (a c) (b d)       10 = 2 2 2 2 2 2 2 2 a 2ac c b 2bd d a 2ac c b 2bd d           10 = 2 2 2 2 2a 2b 2c 2d   10 = 2 2 2 2 2(a b ) 2(c d )   10 = 2 2 1 22 z 2 z  2 2 1 2z z = 5 33. ให้ A เป็นเซตของจานวนเชิงซ้อน z ทั้งหมดที่สอดคล้องกับ 2 z 3z 9i 2   และ 2 (1 i)z B w w 2 i     เมื่อ    z A เมื่อ 2 i 1  ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 10 หาเซต A ให้ z a bi  2 z 3z = 9i 2 2 2 2 a b 3(a bi)   = 9i 2 2 2 2 a b 3a 3bi   = 9i 2 2 2 2 a b = (3a 2) (9 3b)i   จะได้ 2 2 2 a b = 3a 2 2 2 4(a b ) = 2 9a 12a 4  2 2 4a 4b = 2 9a 12a 4  2 2 5a 4b 12a 4   = 0 2 2 5a 4( 3) 12a 4    = 0 2 5a 12a 32  = 0 (5a 8)(a 4)  = 0 a = 8 , 4 5  9 3b = 0 3b = 9 b = 3 แต่แทนค่า 8 a 5   ในสมการ 2 2 2 a b 3a 2   แล้วเป็นเท็จ ดังนั้น  A z 4 3i  
  • 38. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ หาเซต B w = (1 i)z 2 i   w = 1 i z 2 i   = 2 2 2 2 2 2 1 1 4 ( 3) 2 1     = 2 25 5 2 w = 2(25) 5 = 10 ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับ 10 34. ลาดับเรขาคณิตชุดหนึ่ง มีอัตราส่วนร่วมเป็นจานวนจริงบวก ถ้าผลบวกของสองพจน์แรก เท่ากับ 20 และผลบวกของสี่พจน์แรก เท่ากับ 65 แล้วผลบวกของหกพจน์แรกเท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 166.25 กาหนดลาดับเรขาคณิต 1 2 3a , a , a , ... 2a = 1a r 3a = 2 1a r 1 2a a = 1 1a a r 20 = 1 1a a r 1 2 3 4a a a a   = 2 3 1 1 1 1a a r a r a r   65 = 2 3 1 120 a r a r  45 = 2 3 1 1a r a r 45 = 2 1 1r (a a r) 45 = 2 r (20) 2 r = 45 20 = 9 4
  • 39. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ดังนั้น 1 2 3 4 5 6a a a a a a     = 4 5 1 2 3 4 1 1(a a a a ) a r a r     = 4 1 165 r (a a r)  = 2 9 65 (20) 4       = 166.25 35. จงหาค่าของ 2 2 2 2 2 2n 1 1 1 1 1 1 1 lim 1 1 ... 1 n 1 2 2 3 n (n 1)               เฉลย ตอบ 1 na = 2 2 1 1 1 n (n 1)    = 2 2 2 2 2 2 n (n 1) (n 1) n n (n 1)      = 2 2 2 2 n (n 1) 2n(n 1) 1 n (n 1)      = 2 2 2 (n(n 1) 1) n (n 1)    = n(n 1) 1 n(n 1)    = 1 1 n(n 1)   = 1 1 1 n n 1    2 2 2 2 2 2 1 1 1 1 1 1 1 1 ... 1 1 2 2 3 n (n 1)           = 1 1 1 1 1 1 1 1 ... 1 1 2 2 3 n n 1                           = n 1 1 (1 1 1) 1 n 1           = 1 n 1 n 1        = n(n 2) n 1   ตัว
  • 40. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ดังนั้น n 1 n(n 2) lim n n 1       = n n 2 lim n 1   = n 2 1 nlim 1 1 n    = 1 36. กาหนดให้ n nt 2 เมื่อ n 1, 2, 3, ... และ n nt t na 5 5   เมื่อ n 1, 2, 3, ... ค่าของ n 1 n 1 2 n a lim a a ...a   เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 24.96 n 1 1 2 n a a a a  = n 1 n 1 n n 2 2 2 2 4 4 2 2 5 5 (5 5 )(5 5 )...(5 5 )           = n 1 n 1 n n 2 2 2 2 2 22 2 4 4 2 2 5 5 5 5 5 5(5 5 )(5 5 )...(5 5 )                  = n 1 n 1 n n 2 2 2 2 4 4 4 4 2 2 (5 5 )(5 5 ) (5 5 )(5 5 )...(5 5 )             = n 1 n 1 n 1 n 1 2 2 2 2 2 2 (5 5 )(5 5 ) 5 5           = n 1 n 1 n 1 n 1 2 2 2 2 2 2 1 5 (5 5 ) 5 1 5 5             n 1 n 1 2 n a lim a a a   = n 1 n 1 n 1 n 1 2 2 2 2 n 2 2 1 5 (5 5 ) 5lim 1 5 5               = 2 2 5 5  = 1 25 25  = 24.96 0 0
  • 41. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 37. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f :R R และ g : R R เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) 2x 3  และ 3 2 (g f)(x) 8x 44x 80x 48    สาหรับทุกจานวนจริง x แล้วค่าของ 6 0 f(g(x))dx เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 990 ให้ a 2x 3  a 3 x 2   (g f)(x) = 3 2 8x 44x 80x 48   g(f(x)) = 3 2 8x 44x 80x 48   g(2x 3) = 3 2 8x 44x 80x 48   g(a) = 3 2 a 3 a 3 a 3 8 44 80 48 2 2 2                       = 3 2 2 a 9a 27a 27 11(a 6a 9) 40(a 3) 48         = 3 2 2 a 9a 27a 27 11a 66a 99 40a 120 48         = 3 2 a 2a a   g(x) = 3 2 x 2x x  f(g(x)) = 3 2 f(x 2x x)  = 3 2 2(x 2x x) 3   = 3 2 2x 4x 2x 3   6 0 f(g(x))dx = 6 3 2 0 (2x 4x 2x 3)dx   = 64 3 2 0 2x 4x 2x 3x 4 3 2         = 64 3 2 0 x 4x x 3x 2 3         = (648 288 36 18) 0    = 990
  • 42. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 38. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนด 2 g(x) x x 3   สาหรับทุกจานวนจริง x ถ้า f :R R เป็นฟังก์ชัน และสอดคล้องกับ 2 (f g)(x) 2(f g)(1 x) 6x 10x 17     2 2(f g)(x) (f g)(1 x) 6x 2x 13     ค่าของ f(383) เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 763 (f g)(x) = f(g(x)) = 2 f(x x 3)  ให้ 2 x x 3  = 383 2 x x 380  = 0 (x 19)(x 20)  = 0 x = 19, 20 แทน x 19 จะได้ f(383) 2(f g)( 18)  = 2 6(19) 10(19) 17  f(383) 2(f g)( 18)  = 2,166 190 17  f(383) 2(f g)( 18)  = 1,993 …..(1) 2f(383) (f g)( 18)  = 2 6(19) 2(19) 13  2f(383) (f g)( 18)  = 2,166 38 13  2f(383) (f g)( 18)  = 2,141 …..(2) (2) 2; 4f(383) 2(f g)( 18)  = 4,282 …..(3) (3) (1); 3f(383) = 2,289 f(383) = 763 หมายเหตุ ถ้าแทน x 20  ก็จะได้ f(383) 763
  • 43. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 39. กาหนดให้ 3 f(x) x ax b   เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่แตกต่างกัน และให้ 1L และ 2L เป็นเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ที่ x a และ x b ตามลาดับ ถ้า 1L ขนานกับ 2L และ h 0 9h lim 1 f(1 h) f(1)    แล้วค่าของ 2 0 f(x)dx เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 4 f (x) = 3 x ax b  f (x) = 2 3x a ที่ x a จะได้ 2 f (a) 3a a   ที่ x b จะได้ 2 f (b) 3b a   แต่ 1 2L / / L จะได้ว่า f (a) = f (b) 2 3a a = 2 3b a a = ±b แต่โจทย์กาหนดว่า a และ b เป็นจานวนจริงที่แตกต่างกัน จะได้ a b  จาก h 0 9h lim f(1 h) f(1)   = 1 h 0 h lim f(1 h) f(1)   = 1 9 h 0 f(1 h) f(1) lim h   = 9 f (1) = 9 2 3(1) a = 9 a = 6 จะได้ b = 6 ดังนั้น 3 f(x) x 6x 6   2 0 f(x)dx = 2 3 0 f(x 6x 6)dx  = 24 2 0 x 6x 6x 4 2        = 24 2 0 x 3x 6x 4        = (4 12 12) 0   = 4
  • 44. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 40. จงหาค่าของ  3 2 2π x 4 (cot x 1)cosec x lim 1+cos 2x 2sin x   เฉลย ตอบ 3 3 2 2 x 4 (cot x 1)cosec x lim 1 cos2x 2sin x     = 2 2 2 2 x 4 (cot x 1)(cot x cot x 1)cosec x lim 1 (2cos x 1) 2sin x        = 2 2 2 2 x 4 cos x sin x (cot x cot x 1)cosec x sin x lim 2(cos x sin x)          = 2 2 x 4 (cos x sin x)(cot x cot x 1)cosec x lim 2sin x(cos x sin x)(cos x sin x)       = 2 3 x 4 (cot x cot x 1)cosec x lim 2(cos x sin x)     = 2 3 cot cot 1 cosec 4 4 4 2 cos sin 4 4                    =    3 1 1 1 2 1 1 2 2 2         = 6 2 4 2 = 3
  • 45. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 41. ให้ S เป็นเซตของพหุนาม 3 2 f(x) ax bx cx d    โดยที่ a, b, c, d เป็นสมาชิกในเซต {0, 1, 2, ...} ซึ่งมีสมบัติสอดคล้องกับ 2a b c d 4    จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับ เท่าใด เฉลย ตอบ 22 จาก 2a b c d 4    ถ้า a 2; 4 b c d   = 4 b c d  = 0 จะได้ชุด (0, 0, 0) จานวน 3! 1 3!  แบบ ถ้า a 1; 2 b c d   = 4 b c d  = 2 จะได้ชุด (0, 0, 2) จานวน 3! 3 2!  แบบ จะได้ชุด (0, 1, 1) จานวน 3! 3 2!  แบบ ถ้า a 0; 0 b c d   = 4 b c d  = 4 จะได้ชุด (0, 0, 4) จานวน 3! 3 2!  แบบ จะได้ชุด (0, 1, 3) จานวน 3! 6 แบบ จะได้ชุด (0, 2, 2) จานวน 3! 3 2!  แบบ จะได้ชุด (1, 1, 2) จานวน 3! 3 2!  แบบ ดังนั้น จานวนสมาชิกของ S = 1 3 3 3 6 3 3      = 22
  • 46. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 42. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วยจานวน 11, 3, 6, 3, 5, 3, x ให้ S เป็นเซตของ x ที่เป็นไปได้ ทั้งหมด ซึ่งทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ของข้อมูลชุดนี้ มีค่าแตกต่างกัน ทั้งหมด และในบรรดาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เหล่านี้นามาจัดเรียงกันใหม่ จากน้อยไปมากแล้วเป็นลาดับเลขคณิต จงหาผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S เฉลย ตอบ 22 เรียงข้อมูลใหม่ (โดยยังไม่รวม x) จากน้อยไปมาก จะได้ 3, 3, 3, 5, 6, 11 ซึ่งทาให้ได้ว่า Mode 3 และ x ต้องมากกว่า 3 เพราะว่า ถ้า x 3 แล้ว Med 3 ด้วย พิจารณาตาแหน่งของ Med 3 3 3 5 6 11  ถ้าตาแหน่งของ Med 4 จะได้ Med x; x (3, 5]   ถ้าตาแหน่งของ Med 5 หรือ 6 หรือ 7 จะได้ Med 5 กรณี Med = x จะได้ X = 3 3 3 x 5 6 11 7       = 31 x 7  (ซึ่ง x 3 ) ซึ่ง x 3 จะได้ X > 31 3 7  X > 4.86 ลาดับ Mode X Med ไม่เป็นลาดับเลขคณิต 3 มากกว่า 4.86
  • 47. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ลาดับ Mode Med X เป็นลาดับเลขคณิตได้โดย d = x 3 = 31 x x 7   2x 3 = 31 x 7  14x 21 = 31 x 13x = 52 x = 4 กรณี Med = 5 จะได้ลาดับเลขคณิต Mode Med X มี d 2 ทาให้ได้ว่า X 7 X = 3 3 3 5 6 11 x 7       7 = 31 x 7  x = 18 ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดใน S 4 18 22   43. มีหนังสือที่แตกต่างกัน 5 เล่ม คือ หนังสือ ก หนังสือ ข หนังสือ ค หนังสือ ง และ หนังสือ จ สุ่ม เลือกหนังสือเหล่านี้มาครั้งละ 3 เล่ม ความน่าจะเป็นที่จะได้หนังสือ ก หรือ หนังสือ ข เท่ากับ เท่าใด เฉลย ตอบ 0.9 5 5! n(S) 10 3 2!3!         วิธี ให้ E แทนเหตุการณ์ที่สุ่มหยิบแล้วได้หนังสือ ค หนังสือ ง และหนังสือ จ n(E) 1 วิธี n(E) 1 P(E) 0.1 n(S) 10    ความน่าจะเป็นที่จะสุ่มหยิบหนังสือแล้วได้หนังสือ ก หรือหนังสือ ข = 1 0.1 = 0.9 3 มากกว่า 4.86
  • 48. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ข้อมูลต่อไปนี้ สำหรับตอบคำถำมข้อ 44-45 ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีนักเรียนจานวน 30 คน ปรากฏว่ามีนักเรียน 17 คน สอบได้คะแนนในช่วง 10-39 คะแนน มีนักเรียน 10 คน สอบได้คะแนนในช่วง 40-49 คะแนน และมี นักเรียน 3 คน สอบได้คะแนนในช่วง 50-59 คะแนน 44. ถ้าแบ่งคะแนนเป็นเกรด 3 ระดับ คือ เกรด A เกรด B และเกรด C โดยที่ 10% ของนักเรียนได้ เกรด A และ 20% ของนักเรียนได้เกรด B แล้ว คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับกี่คะแนน เฉลย ตอบ 43.5 ช่วงคะแนน จานวนนักเรียน (คน) ความถี่สะสม 10-39 17 17 40-49 10 27 50-59 3 30 30 คะแนนสูงสุดของเกรด C อยู่ตาแหน่ง 70P ตาแหน่ง 70 70(30) P 21 100   (อยู่ในอันตรภาคชั้น 40-49)  70P = 21 17 39.5 (10) 10       = 39.5 4 = 43.5 ดังนั้น คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับ 43.5 คะแนน
  • 49. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 45. จากข้อมูลข้างต้น สมมุติว่าคะแนนมีการแจกแจงปกติ มีสัมประสิทธิ์การแปรผันเป็น 1 3 ถ้า คะแนนสูงสุดของเกรด B มีคะแนนมาตรฐานเป็น 1.5 แล้ว คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้ เท่ากับกี่คะแนน เฉลย ตอบ 33 คะแนนสูงสุดของเกรด B อยู่ตาแหน่ง 90P ตาแหน่ง 90 90(30) P 27 100   จากตารางในข้อ 44 จะได้ว่า 90P อยู่ในอันตรภาคชั้น 40-49 ซึ่งตาแหน่งของ 90P เท่ากับความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 40-49 พอดี จะได้ว่า 90P = ขอบบนของอันตรภาคชั้น 40-49  90P = 49.5 จาก z = x X s  1.5 = 49.5 X s  …..(1) 1.5 = 49.5 X s s  1.5 = 49.5 3 s  s = 11 แทน s 11 ใน (1) จะได้ 1.5 = 49.5 X 11  16.5 = 49.5 X X = 33 ดังนั้น คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 33 คะแนน จะได้
  • 50. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 46. จงหาจานวนวิธีทั้งหมดในการจัด ชาย 3 คน และหญิง 3 คน ซึ่งมี นาย ก. และ นางสาว ข. รวมอยู่ด้วย ให้ยืนเป็นแถวตรง 2 แถวๆ ละ 3 คน โดยที่ นาย ก. และ นางสาว ข. ไม่ได้ยืน ติดกันในแถวเดียวกัน เฉลย ตอบ 528 จัดชาย 3 คน หญิง 3 คน ยืนเป็นแถวตรง 2 แถว แถวละ 3 คน จัดได้ 6! 720 วิธี ถ้าให้ นาย ก กับนางสาว ข ยืนติดกัน คิดเป็น 5 คน กรณี 1; จัดได้ 2 (2!)(4!) 1       = 96 วิธี กรณี 2; จัดได้ 2 (2!)(4!) 1       = 96 วิธี ดังนั้น จานวนวิธีที่ นาย ก และ นางสาว ข ไม่ได้ยืนติดกันในแถวเดียวกัน = 720 96 96  = 528 วิธี ก, ข อยู่แถวบน ก, ข อยู่แถวล่าง
  • 51. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 47. ถ้า d เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และจานวน 1059, 1417 และ 2312 หารด้วย d แล้วมี เศษเหลือเท่ากัน คือ r แล้วค่าของ d r เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 343 หา d d = ห.ร.ม. ของ (1,417 1,059) กับ (2,312 1,417) = ห.ร.ม. ของ 358 กับ 895 2 358 895 2 358 716 0 179 จะได้ d 179 หาr 1,417 179 จะได้ 164 1,059 179 จะได้ 164 2,312 179 จะได้ 164 จะได้ r 164 ดังนั้น d r 179 164 343    48. กาหนดให้ a, b, c และ d เป็นจานวนจริง ถ้ากราฟ y x 1 a b     และกราฟ y x c d   ตัดกันที่จุด (2, 5) และ (8, 3) แล้วค่าของ a b c d   เท่ากับ เท่าใด เฉลย ตอบ 15 กราฟ y x 1 a b     ตัดกับกราฟ y x c d   ที่จุด (2, 5) และ (8, 3) จะได้ว่า แทนค่า ทั้งสองจุดลงในทั้ง 2 สมการ ต้องเป็นจริง พิจารณาสมการ y = x 1 a b    ที่จุด (2, 5) ; 5 = 2 1 a b    5 = 1 a b   …..(1) ที่จุด (8, 3) ; 3 = 8 1 a b    3 = 7 a b   …..(2) (1) (2); 2 = 1 a 7 a   
  • 52. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ กรณี 1 ; a 1 2 = (1 a) (7 a)    2 = 1 a 7 a    2 = 6 (เป็นเท็จ) กรณี 2 ; 1 a 7  2 = (1 a) (7 a)   2 = 1 a 7 a   a = 3 กรณี 3 ; a 7 2 = (1 a) (7 a)   2 = 1 a 7 a   2 = 6 (เป็นเท็จ) แทน a 3 ใน (1); 5 = 1 3 b   5 = 2 b  b = 7 พิจารณาสมการ y = x c d  ที่จุด (2, 5) ; 5 = 2 c d  …..(3) ที่จุด (8, 3) ; 3 = 8 c d  …..(4) (3) (4); 2 = 2 c 8 c   กรณี 1 ; c 2 2 = (2 c) (8 c)   2 = 2 c 8 c   2 = 6 (เป็นเท็จ) กรณี 2 ; 2 c 8  2 = (2 c) (8 c)    2 = 2 c 8 c    c = 6 กรณี 3 ; a 8 2 = (2 c) (8 c)    2 = 2 c 8 c    2 = 6 (เป็นเท็จ)
  • 53. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ แทน c 6 ใน (3); 5 = 2 6 d  5 = 4 d d = 1 ดังนั้น a b c d 3 7 6 1 15        49. กาหนดให้ ab เป็นจานวนสองหลัก โดยที่ a, b {1, 2, ..., 9} และ a เท่ากับสองเท่าของ b ถ้า (310 ab) (465 ba) 2790    แล้ว a b เท่ากับเท่าใด เฉลย ตอบ 9 เนื่องจาก ab เป็นจานวนสองหลัก จะได้ว่า ab 10a b  …..(1) และ ba 10b a  …..(2) แต่ a 2b แทนใน (1) ; ab 10(2b) b 21b   แทนใน (2) ; ba 10b 2b 12b   จาก (310 ab) (465 ba)   = 2,790 (310 21b) (465 12b)   = 2,790 6,510b 5,580b = 2,790 930b = 2,790 b = 3 จะได้ a 2(3) 6  ดังนั้น a b 6 3 9   
  • 54. สนับสนุนโดย มูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ 50. กาหนด S เป็นเซตของ (a, b, c, d, e, f) โดยที่ a, b, c, d, e, f {0, 1, 2, ..., 9} ซึ่งมีสมบัติ สอดคล้องกับ 3 2 a c 4  , b 2 2 d 7  และ 3 2 e f 1   จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับ เท่าใด เฉลย ตอบ 6 S {a, b, c, d, e, f} โดยที่ a, b, c, d, e, f {0, 1, 2, ..., 9} ใช้วิธีการแทนค่า จาก 3 2 a c 4  แทนค่า a 2, c 2  จะได้ 3 2 2 2 4  เป็นจริง จาก b 2 2 d 7  แทนค่า b 3, d 1  จะได้ 3 2 2 1 7  เป็นจริง แทนค่า b 4, d 3  จะได้ 4 2 2 3 7  เป็นจริง แทนค่า b 5, d 5  จะได้ 5 2 2 5 7  เป็นจริง จาก 3 2 e f 1   แทนค่า e 0, f 1  จะได้ 3 2 0 1 1   เป็นจริง แทนค่า e 2, f 3  จะได้ 3 2 2 3 1   เป็นจริง จะได้ a 2 , b 3, 4, 5 , c 2 , d 1, 3, 5 , e 0, 2 , f 1, 3 ดังนั้น S {0, 1, 2, 3, 4, 5} ซึ่ง n(S) 6