SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
เอกสารแนะแนวทางที่ 1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูป (pattern) แบบรูปเป็นหนึ่งในกลยุทธ์สาคัญที่เป็นพื้นฐานในการช่วยคิด
แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน โดยที่เราได้เคยพบเห็นและได้ผ่านการใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์
ด้วยเหตุผลกับแบบรูปในลักษณะต่าง ๆ กันมานานแล้ว เพียงแต่ยังไม่เห็นความสาคัญที่จะหยิบยกมา
กล่าวถึงกันอย่างจริงจัง ซึ่งแบบรูปที่จะกล่าวถึงนี้เป็นการนาเสนอแบบรูปในลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้
นักเรียนได้เห็นรูปแบบของการจัดลาดับและการกระทาซ้าอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้
นักเรียนได้ใช้การสังเกต การวิเคราะห์ และการให้เหตุผลในการบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ
ที่สังเกตได้ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ต่างๆที่พบเห็นได้อย่างถูกต้องจนถึงขั้นสรุปเป็นกฎเกณฑ์
และสามารถนาความรู้เรื่องแบบรูปไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนสามารถสร้างแบบรูปขึ้นเอง
ได้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ การคิดหาหรือสรุปแบบรูปของความสัมพันธ์นั้นสามารถคิดได้หลากหลาย
ไม่มีข้อจากัดว่าถูกหรือผิดตายตัว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการคิด การให้เหตุผล และประสบการณ์ของผู้มอง
แบบรูปอาจปรากฏให้เห็นในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น รูปภาพ จุด เส้น ประโยค ตัวเลข
สัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ (relation) ในชีวิตประจาวันเราจะพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์
สิ่งของ ฯลฯ มากมายหลายความสัมพันธ์ ซึ่งแต่ละความสัมพันธ์จะแตกต่างกันออกไปขึ้นกับว่าเรา
เป็นผู้กาหนดว่าจะใช้เงื่อนไขใดเป็นตัวกาหนดให้เกิดความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด
ตัวอย่างที่ 1.
1.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
7 9 11 13 15 17 ..... ..... 23 25
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 7 = 7
9 = 7 + 2
11 = 7 + 2 + 2
13 = 7 + 2 + 2 + 2
15 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2
17 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 +2
19 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2
21 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2
23 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2
25 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 +2
จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 เท่าๆกัน
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 21 และ 23
ตอบ 21 และ 23
2
1.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
11 14 17 20 23 ..... ..... 32 35
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 11 = 11
14 = 11 + 3
17 = 11 + 3 + 3
20 = 11 + 3 + 3 + 3
23 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3
26 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3
29 = 11 + 3 +3 + 3 + 3 + 3 + 3
32 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3
35 = 11 + 3 + 3 + 3+ 3 + 3+ 3 + 3 + 3
จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการเพิ่มขึ้นครั้งละ 3 เท่า ๆ กัน
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 26 และ 29
ตอบ 26 และ 29
จากตัวอย่างที่ 1 ข้อ 1.1) และ 1.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ เพิ่มขึ้นครั้ง
ละเท่า ๆ กัน
จากตัวอย่างที่ 1 ข้อ 1.1) และ 1.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ
เพิ่มขึ้นครั้งละเท่าๆกัน
ตัวอย่างที่ 2
2.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
35 31 27 23 19 ..... 11 ..… 3
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 35 = 35
31 = 35 – 4
27 = 35 – 4 – 4
23 = 35 – 4 – 4 – 4
19 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4
15 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4
11 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4
7 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4
3 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4
3
จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ 4 เท่า ๆ กัน
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 15 และ 7
ตอบ 15 และ 7
2.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
56 50 44 38 32 ..... 20
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 56 = 56
50 = 56 – 6
44 = 56 – 6 – 6
38 = 56 – 6 – 6 – 6
32 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6
26 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6
20 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6
จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ 6 เท่า ๆ กัน
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 26
ตอบ 16
จากตัวอย่างที่ 2 ข้อ 2.1) และ 2.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ
ลดลงครั้งละเท่า ๆ กัน
ตัวอย่างที่ 3
3.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
27 15 32 12 37 9 42 6 ..... 3
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 27 = 27
32 = 27 + 5
37 = 27 + 5 + 5
42 = 27 + 5 + 5 + 5
47 = 27 + 5 + 5 + 5 + 5
และพิจารณาอีก 1 ชุด คือ 15 = 15
12 = 15 – 3
9 = 15 – 3 – 3
6 = ……………………………………….
3 = ……………………………………….
4
1 2 3 4 ..... ...... ….. ......
จะเห็นว่า ……………………………………….…………………………………………………………………….……….
……………………………………….……………………………………….…………………………………….
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ ……………………………………….
ตอบ ……………………………………….
3.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
10 32 20 28 30 24 40 20 ..... 16
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก 10 = 10
20 = 10 + 10
30 = ……………………………………….
40 = ……………………………………….
50 = ……………………………………….
พิจารณาอีก 1 ชุดคือ 32 = 32
28 = 32 – 4
24 = ……………………………………….
20 = ……………………………………….
จะเห็นว่า ……………………………………….…………………………………………………………………….……….
……………………………………….……………………………………….…………………………………….
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ ……………………………………….
ตอบ ……………………………………….
ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
10 11 13 16 20 25 ..… ..... 46
จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร
วิธีทา
พิจารณาจาก
10 11 13 16 20 25 … ... 46
จะเห็นว่าจานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ ………………………………………..
ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ …………….. และ …………….
5
ตัวอย่างที่ 5 พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลาดับที่กับจานวนซึ่งกาหนดให้ดังแบบรูปต่อไปนี้
ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6
จานวน 5 10 15 20
จงหาจานวนในลาดับที่ 5 และ 6
วิธีทา
จากตารางจะเห็นว่า จานวนที่อยู่ในแถวลำดับที่เป็นจานวนนับ 1, 2, 3, 4, ... และจานวน
ที่อยู่ในแถวของจำนวน เป็น 5 เท่าของจานวนที่เป็นลาดับที่ ซึ่งอยู่ในหลักเดียวกัน เช่น
ลาดับที่ 2 จะสัมพันธ์กับ 10 ซึ่งเท่ากับ 5 x 2 และลาดับที่ 3 จะสัมพันธ์กับ 15
ซึ่งเท่ากับ 5 x 3
ดังนั้น ลาดับที่ 5 จะสัมพันธ์กับ 25 ซึ่งเท่ากับ 5 x 5 และลาดับที่ 6 สัมพันธ์กับ 30
ซึ่งเท่ากับ 5 x 6
ดังนั้น สามารถเติมคาตอบลงในตารางได้ดังนี้
ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6
จานวน 5
(5 x 1)
10
(5 x 2)
15
(5 x 3)
20
(5 x 4)
25
(5 x 5)
30
(5 x 6)
นอกจากนี้ยังสามารถหาจานวนในลาดับต่อไปได้อีกเรื่อย ๆ ดังนั้นถ้าเรามีลาดับที่ซึ่งยังไม่ได้
ระบุจานวนที่แน่นอน จะใช้อักษรภาษาอังกฤษเช่น n แทนลาดับที่นั้น เรียก n ว่า ตัวแปร
จากตัวอย่างที่ 5 สามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลาดับที่กับจานวน จะได้ว่าให้ n แทน
ลาดับที่จานวนที่สัมพันธ์กับลาดับที่ n จะเป็น 5 เท่าของ n เขียนเป็น 5 x n หรือ 5n
ตัวอย่างที่ 6 จานวนนับ
พิจารณาแบบรูปของจานวนนับต่อไปนี้
1 , 3 , 7 , 15 , 31 , …
จากแบบรูปของจานวนนับที่กาหนดให้จงหาจานวนในลาดับต่อไปอีก 3 ลาดับ
วิธีทา
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
6
ตัวอย่างที่ 7 สถานการณ์ปูกระเบื้อง
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3
จากวิธีปูกระเบื้องในรูปพบว่า
ถ้าเรียงกระเบื้องลายทาง 1 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด 8 แผ่นล้อมรอบกระเบื้องลายทาง
ถ้าเรียงกระเบื้องลายทาง 2 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด 10 แผ่นล้อมรอบกระเบื้องลายทาง
คาถาม
1. จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่นถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 4 แผ่น
2. จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่นถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 7 แผ่น
3. ถ้ามีกระเบื้องลายจุด 100 แผ่น กระเบื้องลายทางด้านในจะมีกี่แผ่น
4. ถ้าใช้กระเบื้องลายทาง n แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่น
วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่างกระเบื้องลายทางและกระเบื้องลายจุดสามารถนามาเขียน
ความสัมพันธ์ได้ดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
ดังนั้น ถ้าเราเขียนเป็นความสัมพันธ์โดยใช้ตัวแปร จะได้ความสัมพันธ์ ดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
1. ถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 4 แผ่น ต้องใช้กระเบื้องลายจุด ……………………... แผ่น
2. ถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 7 แผ่น ต้องใช้กระเบื้องลายจุด ……………………... แผ่น
3. ถ้ามีกระเบื้องลายจุด 100 แผ่น สามารถหาจานวนกระเบื้องลายทางได้ ดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………..…………………..………..
4. ถ้าใช้กระเบื้องลายทาง n แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด …………………………..……... แผ่น
7
ตัวอย่างที่ 8 ไม้ขีดไฟ
รูปข้างบนเกิดจากการนาก้านไม้ขีดไฟมาเรียงต่อกัน ให้เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้าน 1 ด้าน
ร่วมกัน
1. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 6 รูป 7 รูป 8 รูป 9 รูป
และ 10 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมดกี่ก้าน
2. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 100 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมดกี่ก้าน
วิธีทา
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
ดังนั้น ถ้าเราเขียนเป็นความสัมพันธ์โดยใช้ตัวแปร จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
คาตอบ
1. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 6 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 7 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 8 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 9 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
และถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 10 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
2. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 100 รูป
จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
8
สรุป
ความสัมพันธ์ (relation) เกิดจาก....................................................................................
..............................................................................................................................................................
แบบรูป (pattern) คือ ...........................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
บันทึกเพิ่มเติม
9
เอกสารแนะแนวทางที่ 2 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย แบบรูปและความสัมพันธ์
สถานการณ์เก่งซื้อข้าวสาร
พิจารณาปัญหาต่อไปนี้
เก่งสั่งซื้อข้าวสารจากร้านค้า ราคาถุงละ 80 บาท และให้ทางร้านนามาส่งที่บ้าน
ซึ่งต้องเสียค่าส่งเที่ยวละ 50 บาท ถ้าเขาจ่ายเงินซื้อข้าวสารครั้งนี้ไปทั้งหมด 690 บาท
อยากทราบว่าเก่งซื้อข้าวสารกี่ถุง
วิธีหาคาตอบอาจหาจานวนข้าวสารโดยวิธีลองหาจานวนเงินที่จ่าย เมื่อเพิ่มจานวนข้าวสาร
ทีละถุงจนกว่าจะจ่ายเงิน 690 บาท วิธีนี้จะต้องหาจานวนเงินถึง 8 ครั้ง จึงจะจ่ายเงิน 690 บาท
ดังตาราง ซึ่งทาให้เสียเวลามาก
จานวนข้าวสาร
(ถุง)
ค่าข้าวสาร
(บาท)
ค่าส่ง
(บาท)
จานวนเงินที่จ่าย
(บาท)
1 1×80 50 ( ) 130=50+1×80
2 2×80 50 ( ) 210=50+2×80
3 3×80 50 ( ) 290=50+3×80
4 4×80 50 ( ) 370=50+4×80
5 5×80 50 ( ) 450=50+5×80
6 6×80 50 ( ) 530=50+6×80
7 7×80 50 ( ) 610=50+7×80
8 8×80 50 ( ) 690=50+8×80
   
n n×80 50 ( ) 50+n×80
10
ในทางคณิตศาสตร์เราจะหาแบบรูปของความสัมพันธ์ระหว่างจานวนข้าวสารกับจานวนเงินที่จ่าย เมื่อ
n แทนจานวนข้าวสารเป็นถุง จานวนเงินที่จ่ายเป็นค่าข้าวสาร n ถุง จะเท่ากับ ( ) 50+n×80
ถ้าจานวนเงินที่จ่ายเป็น 690 บาท เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพื่อหาจานวน
ข้าวสารได้ ดังนี้
( ) 690=50+n×80
เรียกประโยคนี้ว่า สมการ
จาก สมการ ( ) 690=50+n×80 เมื่อแทน n ด้วย 8 จะได้
( ) 50+640=50+8×80
690
ดังนั้น เก่งซื้อข้าวสารมา 8 ถุง
ในการหาคาตอบของเก่งดังตารางข้างต้นนี้เป็นการลองแทนค่า n ด้วย 1, 2, 3, 4, ..., 8
ในสมการ ( ) 690=50+n×80 จนเมื่อแทน n ด้วย 8
จึงทาให้สมการ ( ) 690=50+n×80 เป็นจริง
สมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ เช่น ( ) 690=50+n×80 เป็นสมการที่มี n
เป็นตัวแปร และ 3 – 5 = -2 เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปร
สมการ เป็นประโยคที่แสดงการเท่ากันของจานวนโดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน
11
เอกสารแนะแนวทางที่ 3 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย คาตอบของสมการ
คาสั่ง จงพิจารณาว่าสมการเป็นจริงหรือไม่ เมื่อแทนตัวแปร x ด้วยค่าต่างๆที่กาหนดให้ในตาราง
ต่อไปนี้
สมการ ค่าของตัวแปร แทนค่าตัวแปร
สมการ
เป็นจริง ไม่เป็นจริง
x - 9 = -3
-2 (-3 ) - 9  -3 - 
0 0 - 9  -3
3 3 - 9  -3
6
y + 5 = 1
-6
-4
2
6
จากตารางข้างต้น จานวนที่นาไปแทนตัวแปร x และ y ในสมการแล้วทาให้สมการ
เป็นจริงคือคาตอบของสมการนั่นเอง
จากตาราง สามารถสรุปความหมายของ “คาตอบของสมการ” ได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ 2=7+a โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
วิธีทา เนื่องจาก 2=7+(-9)
เมื่อแทน a ด้วย -9 ใน 2=7+a แล้วจะได้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คาตอบของสมการ 2=7+a คือ -9
ตอบ -9
คาตอบของสมการ คือ ................................................................................................
12
ตัวอย่างที่ 2 จงหาคาตอบของสมการ 12=4-b 2
โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
วิธีทา เนื่องจาก 12=4-)(4 2
เมื่อแทน b ด้วย 4 ใน 12=4-b 2
แล้วจะได้สมการเป็นจริง
เนื่องจาก 124)4( 2

เมื่อแทน b ด้วย -4 ใน 12=4-b 2
แล้วจะได้สมการเป็นจริง
ดังนั้น คาตอบของสมการ 12=4-b 2
คือ 4 และ -4
ตอบ 4 และ -4
ตัวอย่างที่ 3 จงหาคาตอบของสมการ c+5=5+c โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน c ด้วยจานวนใดๆ ใน
c+5=5+c แล้วจะได้สมการเป็นจริงเสมอ
ดังนั้น คาตอบของสมการ c+5=5+c คือ จานวนทุกจานวน
ตอบ จานวนทุกจานวน
ตัวอย่างที่ 4 จงหาคาตอบของสมการ d=d+2 โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
วิธีทา เนื่องจาก ไม่มีจานวนใดแทน d ใน d=d+2 แล้วทาให้สมการเป็นจริง
ดังนั้น ไม่มีจานวนใดเป็นคาตอบของสมการ d=d+2
ตอบ ไม่มีจานวนใดเลย
จากตัวอย่างที่ 1, 2, 3 และ 4 สามารถจาแนกสมการได้ ...... แบบ ตามลักษณะคาตอบ
ของสมการ ดังนี้
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
13
เอกสารแนะแนวทางที่ 4 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ในการแก้สมการ นอกจากจะใช้วิธีการแทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการแล้ว
เพื่อความรวดเร็วเราสามารถใช้สมบัติของการเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่
1.สมบัติสมมาตร
การเขียนประโยคแสดงการเท่ากันของจานวน 2 จานวน สามารถเขียนได้ 2 แบบ
ตัวอย่างเช่น
1. x = 3 หรือ 3 = x
2. -3 + x = 1 หรือ 1 = -3 + x
3. 2 p = -11 หรือ -11 = 2 p
4. s = t + 1 หรือ t + 1 = s
5. a + b = c หรือ c = a + b
การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติสมมาตร ซึ่งกล่าวว่า
2.สมบัติถ่ายทอด
การเขียนประโยคแสดงการเท่ากันของจานวนตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไป โดยใช้สมบัติของการ
เท่ากันทาให้ได้ข้อสรุป ดังตัวอย่างเช่น
1. ถ้า 2 = x และ x = y แล้วจะสรุปได้ว่า 2 = y หรือ y = 2
2. ถ้า พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวด้าน2
และ ความยาวด้าน2
= 64
แล้วจะสรุปได้ว่า พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 64
3. ถ้า c=b+a และ 6=c แล้วจะสรุปได้ว่า 6=b+a
4. ถ้า r=q×p และ 1+s2=r แล้วจะสรุปได้ว่า 1+s2=q×p
5. ถ้า y=x และ z=y แล้วจะสรุปได้ว่า z=x
การแก้สมการ คือ …………....................................……………………
ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใด ๆ
ถ้า และ แล้ว เมื่อ a , b และ แทนจานวนใดๆ
14
จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1) ให้ x2
2
1
 ดังนั้น x2 ...............
2) ให้ qp  และ 4q  ดังนั้น 4.............. 
3) ให้ b1a2  ดังนั้น ............b 
4) ให้ t4s  และ 7t  ดังนั้น 4s ................
5) ให้
y
8
x  เมื่อ 0y  ดังนั้น 
y
8
..............
6) ให้ 1ab2  ดังนั้น ............... ab2 
7) ให้ 11xy  และ 11z  ดังนั้น xy ...............
8) ให้ q5p  ดังนั้น q ..............
9) ให้ n3m
5
2
 ดังนั้น .................. m
5
2

10) ให้ y
x2
1
 และ 12y  ดังนั้น 
x2
1
................
3.สมบัติการบวก
ถ้ามีจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน เมื่อนาจานวนหนึ่งมาบวกกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลลัพธ์จะได้เท่ากัน เช่น
1. ถ้า x = -5 แล้ว x - 3 = -5 - 3
2. ถ้า 4=2×2 แล้ว ( ) 3+4=3+2×2
3. ถ้า 5y + 4 = 7 แล้ว (5y + 4) + (-4) = -7 + (-4)
4. ถ้า q=p แล้ว p + (-r) = q + (-r)
การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติการบวก ซึ่งกล่าวว่า
หมำยเหตุ
จานวนที่นามาบวกกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจเป็นจานวนบวกหรือจานวนลบก็ได้
การบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันด้วยจานวนลบ ก็คือการนาจานวนบวกมาลบออก
จากทั้งสองจานวนที่เท่ากันนั้นเอง ดังนี้
ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใด ๆ
ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวน
ใดๆ
15
4. สมบัติการคูณ
ถ้ามีจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน เมื่อนาจานวนหนึ่งมาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น
ผลลัพธ์จะได้เท่ากัน เช่น
1. ถ้า
4
1
x3  แล้ว 4
4
1
43x)( 
2. ถ้า 422  แล้ว ( ) 3×4=3×2×2
3. ถ้า yx  แล้ว y2x2 
4. ถ้า nm  แล้ว n
4
1
m
4
1












 นั่นคือ n
4
1
m
4
1

5. ถ้า z
y
x
 และ 0y  แล้ว yzx 
การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติการคูณ ซึ่งกล่าวว่า
หมำยเหตุ
จานวนที่นามาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจเป็นจานวนเต็มหรือเศษส่วนก็ได้
การคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันด้วยเศษส่วน เช่น
k
1
เมื่อ k เป็นจานวนเต็มใดๆ ที่ 0k 
ก็คือการนาจานวนเต็ม k มาหารทั้งสองจานวนที่เท่ากันนั้นเอง ทาให้สรุปได้ว่า
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ 125x 
วิธีทา 125x 
นา 5 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 51255x 
17x 
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 17 ในสมการ 125x 
จะได้ 12517  เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 17 เป็นคาตอบของสมการ 125x 
ตอบ 17
ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใดๆ
ถ้า แล้ว เมื่อ a ,b และ แทนจานวนใดๆ ที่
16
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ
5
7
5
1
y 
วิธีทา
5
7
5
1
y 
นา
5
1
 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
5
1
5
7
5
1
5
1
y 
5
6
y
5
17
y



ตรวจคาตอบ แทน y ด้วย
5
6
ในสมการ
5
7
5
1
y 
จะได้
5
7
5
1
5
6

5
7
5
7
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น
5
6
เป็นคาตอบของสมการ
5
7
5
1
y 
ตอบ
5
6
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 7x
3
1

วิธีทา 7x
3
1

นา 3 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 73x
3
1
3 
21x 
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 21 ในสมการ 7x
3
1

17
จะได้ 721
3
1

77  เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 21 เป็นคาตอบของสมการ 7x
3
1

ตอบ 21
ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ 12y4 
วิธีทา 12y4 
นา
4
1
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
4
12
4
y4

3y 
ตรวจคาตอบ แทน y ด้วย 3 ในสมการ 12y4 
จะได้ 1234 
1212  เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 3 เป็นคาตอบของสมการ 12y4 
ตอบ 3
ตัวอย่างที่ 5 จงแก้สมการ 53
2
x

วิธีทา 53
2
x

นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 3533
2
x

8
2
x

นา 2 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 82
2
x
2 
16x 
18
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 16 ในสมการ 53
2
x

จะได้ 53
2
16

538 
55  เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 16 เป็นคาตอบของสมการ 53
2
x

ตอบ 16
ตัวอย่างที่ 6 จงแก้สมการ 287x3 
วิธีทา 287x3 
นา 7 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 72877x3 
21x3 
นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
3
21
3
x3

7x 
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 7 ในสมการ 287x3 
จะได้ ( ) 28=7+7×3
28721 
2828  เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 7 เป็นคาตอบของสมการ 287x3 
ตอบ 7
ตัวอย่างที่ 7 จงแก้สมการ
4
3
2
1
x3 
วิธีทา
4
3
2
1
x3 
นา
2
1
มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
2
1
4
3
2
1
2
1
x3 
19
4
1
x3
4
23
x3



นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
3
4
1
3
x3

12
1
x
3
1
4
1
x


ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย
12
1
ในสมการ
4
3
2
1
x3 
จะได้
4
3
2
1
12
1
3 






4
3
2
1
4
1

4
3
4
21


4
3
4
3
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น
12
1
เป็นคาตอบของสมการ
4
3
2
1
x3 
ตอบ
12
1
การแก้สมการที่มีเศษส่วนอย่างเช่นตัวอย่างที่ 7 อาจทาได้อีกวิธีหนึ่ง คือ กาจัดส่วน
ทั้งหมดในสมการให้หมดไป โดยการนาส่วนทั้งหมดมาหา ค.ร.น. แล้วนา ค.ร.น. ที่ได้มาคูณตลอด
สมการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
20
ตัวอย่างที่ 8 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 7 จงแก้สมการ
4
3
2
1
x3  โดยวิธีกาจัดส่วน
วิธีทา
4
3
2
1
x3 
หา ค.ร.น. ของส่วนคือ 2 และ 4 ได้ 4
นา ค.ร.น. คูณตลอดสมการ
จะได้
4
3
4
2
1
x34 






32x12
3
2
1
4)x3(4








นา 2 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 2322x12 
1x12 
นา 12 มาหารทั้งสองข้างชองสมการ
จะได้
12
1
12
x12

12
1
x 
ตอบ
12
1
จากตัวอย่างที่ 7 และ 8 จะเห็นว่า การแก้สมการที่มีเศษส่วนโดยวิธีปกติ
และโดยวิธีกาจัดส่วนต่างทาให้ได้ผลลัพธ์เท่ากัน
21
เอกสารแนะแนวทางที่ 5 เรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 9 จงแก้สมการ x + 3 = 7
วิธีทา x + 3 = 7
นา -3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x + 3 + (– 3) = 7 + (– 3)
หรือ x + 3 – 3 = 7 - 3
x = 4
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 4 ในสมการ x + 3 = 7
จะได้ 4 + 3 = 7
7 = 7 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 4 เป็นคาตอบของสมการ x + 3 = 7
ตอบ 4
ตัวอย่างที่ 10 จงแก้สมการ x + 29 = 51
วิธีทา x + 29 = 51
นา 29 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ x + 29- 29 = 51 - 29
x = 22
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 22 ในสมการ x + 29 = 51
จะได้ 22 + 29 = 51
51 = 51 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 22 เป็นคาตอบของสมการ x + 29 = 51
ตอบ 22
ตัวอย่างที่ 11 จงแก้สมการ b – 11.5 = 3.52
วิธีทา b – 11.5 = 3.52
นา 11.5 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ b – 11.5 + 11.5 = 3.52 + 11.5
b = 15.02
ตรวจสอบ แทน b ด้วย 15.02 ในสมการ b – 11.5 = 3.52
จะได้ 15.02 – 11.5 = 3.52
3.52 = 3.52 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 15.02 เป็นคาตอบของสมการ b – 11.5 = 3.52
ตอบ 15.02
22
ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ
9
4
7
3
c 
วิธีทา
9
4
7
3
c 
นา
7
3
มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
7
3
9
4
7
3
7
3
c 
63
2728
c


63
55
c 
ตรวจสอบ แทน c ด้วย
63
55
ในสมการ
9
4
7
3
c 
จะได้
9
4
7
3
63
55

9
4
63
2755


9
4
63
28

9
4
9
4
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น
63
55
เป็นคาตอบของสมการ
9
4
7
3
c 
ตอบ
63
55
23
ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 5
7
a

วิธีทา 5
7
a

นา 7 มาคูณทั้ง 2 ข้างของสมการ
จะได้ 757
7
a

35a
ตรวจสอบ แทน a ด้วย 35 ในสมการ 5
7
a

จะได้ 5
7
35
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 35 เป็นคาตอบของสมการ 5
7
a

ตอบ 35
ตัวอย่างที่ 14 จงแก้สมการ 36m4 
วิธีทา 36m4 
นา 4 มาหารทั้ง 2 ข้างของสมการ
จะได้
4
36
4
m4

9m
ตรวจสอบ แทน 9m ในสมการ 36m4 
จะได้ 9
4
36
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 9 เป็นคาตอบของสมการ 36m4 
ตอบ 9
24
ตัวอย่างที่ 15 จงแก้สมการ 84-a
5
2

วิธีทา 84-a
5
2

นา 4 บวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 4844-a
5
2

12a
5
2

นา
2
5
คูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
2
5
12
2
5
a
5
2

30a
ตรวจสอบ แทน a ด้วย 30 ในสมการ 84-a
5
2

จะได้ 84-30
5
2
 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 30 เป็นคาตอบของสมการ 84-a
5
2

ตอบ 30
ตัวอย่างที่ 16 จงแก้สมการ
7
3
( 5-
2
x
) 6
วิธีทา
7
3
( 5-
2
x
) 6
นา
3
7
คูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
7
3
( 5-
2
x
)
3
7
 6
3
7

145-
2
x

นา 5 บวกทั้งสองข้างของสมการ
25
จะได้ 51455-
2
x

19
2
x

นา 2 คูณทั้งสองข้างของสมการจะได้ 2192
2
x

38x 
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 38 ในสมการ
7
3
( 5-
2
x
) 6
จะได้
7
3
( 5-
2
38
) 6 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 38 เป็นคาตอบของสมการ
7
3
( 5-
2
x
) 6
ตอบ 38
26
เอกสารแนะแนวทางที่ 6 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 17 จงแก้สมการ
3
2
4
3
2
1
3
x2

วิธีทา วิธีที่ 1
3
2
4
3
2
1
3
x2

นา
2
1
มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
2
1
3
2
4
3
2
1
2
1
3
x2

12
7
3
x2
12
689
3
x2
2
1
3
2
4
3
3
x2




นา
2
3
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
2
3
12
7
2
3
3
x2






8
7
x 
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย
8
7
ในสมการ
3
2
4
3
2
1
3
x2

จะได้
3
2
4
3
2
1
8
7
3
2







4
89
2
1
12
7 

12
1
12
67


12
1
12
1
 เป็นสมการที่เป็นจริง
27
ดังนั้น
8
7
เป็นคาตอบของสมการ
3
2
4
3
2
1
3
x2

ตอบ
8
7
วิธีที่ 2 กาจัดส่วนของเศษส่วนในสมการ
3
2
4
3
2
1
3
x2

หา ค.ร.น. ของส่วนคือ 2, 3 และ 4 ได้ 12
นา ค.ร.น. คูณตลอดสมการ
จะได้ 












3
2
4
3
12
2
1
3
x2
12
16x8
896x8
3
2
12
4
3
12
2
1
12
3
x2
12



























นา …… มา ……… ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
นา ...... มา ........ ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ .................................................................
..................................................................
ตอบ .....................................................................
28
ตัวอย่างที่ 18 จงแก้สมการ 10)3a(3 
วิธีทา วิธีที่ 1 10)3a(3 
นา
3
1
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
3
10
3
)3a(3


3
10
3a 
นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ ..............................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
ตรวจคาตอบ ................................................................................................
................................................................................................
ดังนั้น ....... เป็นคาตอบของสมการ 10)3a(3 
ตอบ ................................................
วิธีที่ 2 10)3a(3 
นา 3 มาคูณในวงเล็บ ( สมบัติการแจกแจง )
จะได้ 109a3 
นา 9 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 91099a3 
1a3 
นา
3
1
มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้
3
1
3
a3

3
1
a 
ตอบ
3
1

จากตัวอย่างที่ 18 จะเห็นได้ว่า การแก้สมการที่มีวงเล็บ สามารถทาได้โดยอาศัยสมบัติ
การแจกแจง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะเท่ากับวิธีปกติ
29
ตัวอย่างที่ 19 จงแก้สมการ   62b
3
1
 โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง
วิธีทา   62b
3
1

นา ........ มา ........ ในวงเล็บ
จะได้ .....................................................
นา ....... มา .......... ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ ............................................................................
.............................................................................
............................................................................
............................................................................
ตรวจคาตอบ ...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
ดังนั้น ......... เป็นคาตอบของสมการ   62b
3
1

ตอบ ……………………………………….
ตัวอย่างที่ 20 จงแก้สมการ 10x215x3 
วิธีทา 10x215x3 
นา x2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 10x2)x2(15x3)x2( 
    10x2)2(15x3)2( 
15x 
นา -15 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ ................................................
.…………………………….………….
ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 10x215x3 
จะได้     1025215253 
10501575 
................................................... เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ….. เป็นคาตอบของสมการ 10x215x3 
ตอบ ……………………………………….
30
ตัวอย่างที่ 21 จงแก้สมการ    3c21c3  โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง
วิธีทา    3c21c3 
นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ
จะได้ 6c23c3 
นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 36c233c3 
..................................
นา c2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 3c2)c2(c3)c2( 
……………………….................................................
……………………….................................................
ตรวจคาตอบ แทน c ด้วย ....... ในสมการ    3c21c3 
จะได้ ..........................................................................
..........................................................................
.......................................................................... เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ........ เป็นคาตอบของสมการ    3c21c3 
ตอบ ……………………………………….
31
เอกสารแนะแนวทางที่ 7 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 1 ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี จงเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงอายุปัจจุบันของคนซึ่งเกี่ยวข้อง
กับบี้ ดังนี้
1. แดนแก่กว่าบี้ 7 ปี
2. อั้มอ่อนกว่าบี้ 5 ปี
3. หลินปิงอายุเป็น 3 เท่าของบี้
4. น้าชาอายุมากกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 4 ปี
5. หญิงอายุน้อยกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 3 ปี
6. เมื่อ 5 ปีที่แล้วแก้วมีอายุเท่ากับอายุปัจจุบันของบี้
วิธีทา
1. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
และแดนอายุแก่กว่าบี้ 7 ปี
ดังนั้น ปัจจุบันแดนมีอายุ x + 7 ปี
2. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
และอั้มมีอายุอ่อนกว่าบี้ 5 ปี
ดังนั้น ปัจจุบันอั้มมีอายุ x - 5 ปี
3. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
และ หลินปิงมีอายุเป็น 3 เท่าของบี้
ดังนั้น ปัจจุบันหลินปิงมีอายุ 3x ปี
4. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
และ น้าชามีอายุมากกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 4 ปี
ดังนั้น ปัจจุบันน้าชามีอายุ 3x + 4 ปี
5. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
และ หญิงมีอายุน้อยกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 3 ปี
ดังนั้น ปัจจุบันหญิงมีอายุ 3x - 3 ปี
6. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี
เมื่อ 5 ปีที่แล้วแก้วมีอายุเท่ากับอายุปัจจุบันของบี้
นั่นคือ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว แก้วมีอายุ x ปี
ดังนั้น ปัจจุบันแก้วมีอายุ x + 5 ปี
32
ตัวอย่างที่ 2 5 เท่าของเลขจานวนหนึ่งมากกว่า 3 อยู่ 7
วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง
จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7
นา 3 บวกทั้งสองข้างของสมการ
5x – 3 + 3 = 7 + 3
5x = 10
นา
5
1
คูณทั้งสองข้างของสมการ
5
1
 5x =
5
1
10
x = 2
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7
5(2) – 3 = 7
7 = 7 สมการเป็นจริง
ดังนั้น เลขจานวนนั้นคือ 2
ตอบ 2
33
เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า
20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท
ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า
เท่าไร
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท
จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท
จะได้สมการ ........................................................
........................................................
ตรวจคาตอบ แทนค่า ............. ในสมการ ........................................................
จะได้ ........................................................
ตอบ ........................................................ ล้านบาท
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัว
ได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์
วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว ............... %
จะได้ ...........................................................................
จะได้สมการ คือ ...........................................................................
...........................................................................
นา ............................................. ทั้งสองข้างของสมการ
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
34
ตรวจคาตอบ แทนค่า ...................... ในสมการ ........................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ ……………………………
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป
สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท
วิธีทา ให้ ................ แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์
จะได้สมการคือ ............................................................................
นา ................................ ทั้งสองข้างของสมการ
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7
5(2) – 3 = 7
7 = 7 สมการเป็นจริง
ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ ………………………….. %
35
ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ
ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก
5
3
ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี
พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้หาว่า
มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ
วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด .......... ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2557 ขายได้ .......... ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ. 2558 ขายได้
5
3
ของที่เหลือ .............................. ล้านเหรียญสหรัฐ
เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ
จะได้ ...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตรวจคาตอบ แทนค่า ....................... ในสมการ ...........................................................
...........................................................................
...........................................................................
ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย ........................................... ล้านเหรียญสหรัฐ
36
เอกสารแนะแนวทางที่ 9 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างที่ 5 ขณะนี้ตุ๊กกี้อายุ 17 ปี อีก 4 ปีข้างหน้าเธอจะอายุเป็น 3 เท่า ของอายุปุ๊กกี้
ปัจจุบันปุ๊กกี้อายุเท่าไร
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
37
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
38
ตัวอย่างที่ 6 เมื่อ 8 ปีที่แล้วบุตรมีอายุเป็นหนึ่งในเจ็ดของอายุมารดา ถ้าปัจจุบันบุตร
มีอายุ 14 ปี จงหาอายุปัจจุบันของมารดา
วิธีคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
39
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
40
แนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคนให้มีหลักคิด
และหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลัก
เหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแต่
ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และมีค่านิยมที่ดีงาม
ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย
หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา
สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา
กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา
เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน ที่ทุกคน
ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ
จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา
การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ
ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไข
ความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง ………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง ……………………………………………………………………………..
…………………………………….………………………………………………………………………………………………………..
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
41
และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ ..........................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ ……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ
ได้แก่ ....................................................................................................................................................
การนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว
ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ
รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน นา
ผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง
ตัวอย่างที่ 7 แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงิน
เพื่อเก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้
เป็นเงินออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน
คิดเป็นเงิน 150
เก็บออม
2 ส่วน
ลูก
3 ส่วน
5 ส่วน
รวม เท่ากับ
150 บาท
42
ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง
150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย
5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท
1 1 1 1 1
ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท
150
5
150
5
150
5
150
5
150
5
43
ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน
ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน
จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน ......... คน
นักเรียนทั้งหมด
420 คน
ร้อยละ 60
หมายถึง
ถ้านักเรียน 100 คน
มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน
44
ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ
นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้
นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น
ใครจะมีเงิน 18 บาท
วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง
ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท
นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท
ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท
.ง
.ก
.ข.ค 15 732
นาย ง
3 32 7
15 7
นาย ค นาย ก นาย ข
แทนการให้ยืม
.ง
.ก
.ข.ค
45
เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
46
ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร
วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้
ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้
ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
พฤ
3 วันก่อนพรุ่งนี้
พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
47
ตรวจคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปคาตอบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………
ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวัน ……………………………………

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรsawed kodnara
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังการประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังkroojaja
 
ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ kanjana2536
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 

What's hot (20)

9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25609 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลังการประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
การประยุกต์จำนวนเต็มและเลขยกกำลัง
 
ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ ใบงานคู่อันดับ
ใบงานคู่อันดับ
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25599 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 

Similar to เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannkru_ann
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okJirathorn Buenglee
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553Review Wlp
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53ApisitIce
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53Seohyunjjang
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557jjrrwnd
 

Similar to เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (20)

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
 
ใบงานบทที่
ใบงานบทที่ใบงานบทที่
ใบงานบทที่
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
คณ ต Onet 53
คณ ต Onet 53คณ ต Onet 53
คณ ต Onet 53
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 

เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

  • 1. เอกสารแนะแนวทางที่ 1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย แบบรูปและความสัมพันธ์ แบบรูป (pattern) แบบรูปเป็นหนึ่งในกลยุทธ์สาคัญที่เป็นพื้นฐานในการช่วยคิด แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน โดยที่เราได้เคยพบเห็นและได้ผ่านการใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ด้วยเหตุผลกับแบบรูปในลักษณะต่าง ๆ กันมานานแล้ว เพียงแต่ยังไม่เห็นความสาคัญที่จะหยิบยกมา กล่าวถึงกันอย่างจริงจัง ซึ่งแบบรูปที่จะกล่าวถึงนี้เป็นการนาเสนอแบบรูปในลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ นักเรียนได้เห็นรูปแบบของการจัดลาดับและการกระทาซ้าอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ นักเรียนได้ใช้การสังเกต การวิเคราะห์ และการให้เหตุผลในการบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่สังเกตได้ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ต่างๆที่พบเห็นได้อย่างถูกต้องจนถึงขั้นสรุปเป็นกฎเกณฑ์ และสามารถนาความรู้เรื่องแบบรูปไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนสามารถสร้างแบบรูปขึ้นเอง ได้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ การคิดหาหรือสรุปแบบรูปของความสัมพันธ์นั้นสามารถคิดได้หลากหลาย ไม่มีข้อจากัดว่าถูกหรือผิดตายตัว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการคิด การให้เหตุผล และประสบการณ์ของผู้มอง แบบรูปอาจปรากฏให้เห็นในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น รูปภาพ จุด เส้น ประโยค ตัวเลข สัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น ความสัมพันธ์ (relation) ในชีวิตประจาวันเราจะพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างคน สัตว์ สิ่งของ ฯลฯ มากมายหลายความสัมพันธ์ ซึ่งแต่ละความสัมพันธ์จะแตกต่างกันออกไปขึ้นกับว่าเรา เป็นผู้กาหนดว่าจะใช้เงื่อนไขใดเป็นตัวกาหนดให้เกิดความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด ตัวอย่างที่ 1. 1.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 7 9 11 13 15 17 ..... ..... 23 25 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 7 = 7 9 = 7 + 2 11 = 7 + 2 + 2 13 = 7 + 2 + 2 + 2 15 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 17 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 +2 19 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 21 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 23 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 25 = 7 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 + 2 +2 จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 เท่าๆกัน ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 21 และ 23 ตอบ 21 และ 23
  • 2. 2 1.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 11 14 17 20 23 ..... ..... 32 35 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 11 = 11 14 = 11 + 3 17 = 11 + 3 + 3 20 = 11 + 3 + 3 + 3 23 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3 26 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 29 = 11 + 3 +3 + 3 + 3 + 3 + 3 32 = 11 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 + 3 35 = 11 + 3 + 3 + 3+ 3 + 3+ 3 + 3 + 3 จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการเพิ่มขึ้นครั้งละ 3 เท่า ๆ กัน ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 26 และ 29 ตอบ 26 และ 29 จากตัวอย่างที่ 1 ข้อ 1.1) และ 1.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ เพิ่มขึ้นครั้ง ละเท่า ๆ กัน จากตัวอย่างที่ 1 ข้อ 1.1) และ 1.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ เพิ่มขึ้นครั้งละเท่าๆกัน ตัวอย่างที่ 2 2.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 35 31 27 23 19 ..... 11 ..… 3 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 35 = 35 31 = 35 – 4 27 = 35 – 4 – 4 23 = 35 – 4 – 4 – 4 19 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 15 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 11 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 7 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 3 = 35 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4 – 4
  • 3. 3 จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ 4 เท่า ๆ กัน ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 15 และ 7 ตอบ 15 และ 7 2.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 56 50 44 38 32 ..... 20 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 56 = 56 50 = 56 – 6 44 = 56 – 6 – 6 38 = 56 – 6 – 6 – 6 32 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6 26 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6 20 = 56 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6 – 6 จะเห็นว่า จานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ 6 เท่า ๆ กัน ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ 26 ตอบ 16 จากตัวอย่างที่ 2 ข้อ 2.1) และ 2.2) สรุปได้ว่า ทั้ง 2 ข้อนี้มีความเหมือนกันในลักษณะ ลดลงครั้งละเท่า ๆ กัน ตัวอย่างที่ 3 3.1) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 27 15 32 12 37 9 42 6 ..... 3 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 27 = 27 32 = 27 + 5 37 = 27 + 5 + 5 42 = 27 + 5 + 5 + 5 47 = 27 + 5 + 5 + 5 + 5 และพิจารณาอีก 1 ชุด คือ 15 = 15 12 = 15 – 3 9 = 15 – 3 – 3 6 = ………………………………………. 3 = ……………………………………….
  • 4. 4 1 2 3 4 ..... ...... ….. ...... จะเห็นว่า ……………………………………….…………………………………………………………………….………. ……………………………………….……………………………………….……………………………………. ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ ………………………………………. ตอบ ………………………………………. 3.2) พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 10 32 20 28 30 24 40 20 ..... 16 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 10 = 10 20 = 10 + 10 30 = ………………………………………. 40 = ………………………………………. 50 = ………………………………………. พิจารณาอีก 1 ชุดคือ 32 = 32 28 = 32 – 4 24 = ………………………………………. 20 = ………………………………………. จะเห็นว่า ……………………………………….…………………………………………………………………….………. ……………………………………….……………………………………….……………………………………. ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ ………………………………………. ตอบ ………………………………………. ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ 10 11 13 16 20 25 ..… ..... 46 จานวนที่เว้นว่างไว้คือจานวนอะไร วิธีทา พิจารณาจาก 10 11 13 16 20 25 … ... 46 จะเห็นว่าจานวนที่กาหนดให้มีการลดลงครั้งละ ……………………………………….. ดังนั้น จานวนที่เว้นว่างไว้ คือ …………….. และ …………….
  • 5. 5 ตัวอย่างที่ 5 พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลาดับที่กับจานวนซึ่งกาหนดให้ดังแบบรูปต่อไปนี้ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 จานวน 5 10 15 20 จงหาจานวนในลาดับที่ 5 และ 6 วิธีทา จากตารางจะเห็นว่า จานวนที่อยู่ในแถวลำดับที่เป็นจานวนนับ 1, 2, 3, 4, ... และจานวน ที่อยู่ในแถวของจำนวน เป็น 5 เท่าของจานวนที่เป็นลาดับที่ ซึ่งอยู่ในหลักเดียวกัน เช่น ลาดับที่ 2 จะสัมพันธ์กับ 10 ซึ่งเท่ากับ 5 x 2 และลาดับที่ 3 จะสัมพันธ์กับ 15 ซึ่งเท่ากับ 5 x 3 ดังนั้น ลาดับที่ 5 จะสัมพันธ์กับ 25 ซึ่งเท่ากับ 5 x 5 และลาดับที่ 6 สัมพันธ์กับ 30 ซึ่งเท่ากับ 5 x 6 ดังนั้น สามารถเติมคาตอบลงในตารางได้ดังนี้ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 จานวน 5 (5 x 1) 10 (5 x 2) 15 (5 x 3) 20 (5 x 4) 25 (5 x 5) 30 (5 x 6) นอกจากนี้ยังสามารถหาจานวนในลาดับต่อไปได้อีกเรื่อย ๆ ดังนั้นถ้าเรามีลาดับที่ซึ่งยังไม่ได้ ระบุจานวนที่แน่นอน จะใช้อักษรภาษาอังกฤษเช่น n แทนลาดับที่นั้น เรียก n ว่า ตัวแปร จากตัวอย่างที่ 5 สามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างลาดับที่กับจานวน จะได้ว่าให้ n แทน ลาดับที่จานวนที่สัมพันธ์กับลาดับที่ n จะเป็น 5 เท่าของ n เขียนเป็น 5 x n หรือ 5n ตัวอย่างที่ 6 จานวนนับ พิจารณาแบบรูปของจานวนนับต่อไปนี้ 1 , 3 , 7 , 15 , 31 , … จากแบบรูปของจานวนนับที่กาหนดให้จงหาจานวนในลาดับต่อไปอีก 3 ลาดับ วิธีทา ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..……………
  • 6. 6 ตัวอย่างที่ 7 สถานการณ์ปูกระเบื้อง รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 จากวิธีปูกระเบื้องในรูปพบว่า ถ้าเรียงกระเบื้องลายทาง 1 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด 8 แผ่นล้อมรอบกระเบื้องลายทาง ถ้าเรียงกระเบื้องลายทาง 2 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด 10 แผ่นล้อมรอบกระเบื้องลายทาง คาถาม 1. จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่นถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 4 แผ่น 2. จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่นถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 7 แผ่น 3. ถ้ามีกระเบื้องลายจุด 100 แผ่น กระเบื้องลายทางด้านในจะมีกี่แผ่น 4. ถ้าใช้กระเบื้องลายทาง n แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุดกี่แผ่น วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่างกระเบื้องลายทางและกระเบื้องลายจุดสามารถนามาเขียน ความสัมพันธ์ได้ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ดังนั้น ถ้าเราเขียนเป็นความสัมพันธ์โดยใช้ตัวแปร จะได้ความสัมพันธ์ ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… 1. ถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 4 แผ่น ต้องใช้กระเบื้องลายจุด ……………………... แผ่น 2. ถ้าจานวนกระเบื้องลายทางเท่ากับ 7 แผ่น ต้องใช้กระเบื้องลายจุด ……………………... แผ่น 3. ถ้ามีกระเบื้องลายจุด 100 แผ่น สามารถหาจานวนกระเบื้องลายทางได้ ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………..…………………..……….. 4. ถ้าใช้กระเบื้องลายทาง n แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องลายจุด …………………………..……... แผ่น
  • 7. 7 ตัวอย่างที่ 8 ไม้ขีดไฟ รูปข้างบนเกิดจากการนาก้านไม้ขีดไฟมาเรียงต่อกัน ให้เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้าน 1 ด้าน ร่วมกัน 1. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 6 รูป 7 รูป 8 รูป 9 รูป และ 10 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมดกี่ก้าน 2. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 100 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมดกี่ก้าน วิธีทา ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ดังนั้น ถ้าเราเขียนเป็นความสัมพันธ์โดยใช้ตัวแปร จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………..………..…………… คาตอบ 1. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 6 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 7 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 8 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 9 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน และถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 10 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน 2. ถ้าวางเรียงไม้ขีดเพิ่มให้มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 100 รูป จะต้องใช้ไม้ขีดทั้งหมด …………………………………………………….. ก้าน
  • 8. 8 สรุป ความสัมพันธ์ (relation) เกิดจาก.................................................................................... .............................................................................................................................................................. แบบรูป (pattern) คือ ........................................................................................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... บันทึกเพิ่มเติม
  • 9. 9 เอกสารแนะแนวทางที่ 2 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย แบบรูปและความสัมพันธ์ สถานการณ์เก่งซื้อข้าวสาร พิจารณาปัญหาต่อไปนี้ เก่งสั่งซื้อข้าวสารจากร้านค้า ราคาถุงละ 80 บาท และให้ทางร้านนามาส่งที่บ้าน ซึ่งต้องเสียค่าส่งเที่ยวละ 50 บาท ถ้าเขาจ่ายเงินซื้อข้าวสารครั้งนี้ไปทั้งหมด 690 บาท อยากทราบว่าเก่งซื้อข้าวสารกี่ถุง วิธีหาคาตอบอาจหาจานวนข้าวสารโดยวิธีลองหาจานวนเงินที่จ่าย เมื่อเพิ่มจานวนข้าวสาร ทีละถุงจนกว่าจะจ่ายเงิน 690 บาท วิธีนี้จะต้องหาจานวนเงินถึง 8 ครั้ง จึงจะจ่ายเงิน 690 บาท ดังตาราง ซึ่งทาให้เสียเวลามาก จานวนข้าวสาร (ถุง) ค่าข้าวสาร (บาท) ค่าส่ง (บาท) จานวนเงินที่จ่าย (บาท) 1 1×80 50 ( ) 130=50+1×80 2 2×80 50 ( ) 210=50+2×80 3 3×80 50 ( ) 290=50+3×80 4 4×80 50 ( ) 370=50+4×80 5 5×80 50 ( ) 450=50+5×80 6 6×80 50 ( ) 530=50+6×80 7 7×80 50 ( ) 610=50+7×80 8 8×80 50 ( ) 690=50+8×80     n n×80 50 ( ) 50+n×80
  • 10. 10 ในทางคณิตศาสตร์เราจะหาแบบรูปของความสัมพันธ์ระหว่างจานวนข้าวสารกับจานวนเงินที่จ่าย เมื่อ n แทนจานวนข้าวสารเป็นถุง จานวนเงินที่จ่ายเป็นค่าข้าวสาร n ถุง จะเท่ากับ ( ) 50+n×80 ถ้าจานวนเงินที่จ่ายเป็น 690 บาท เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เพื่อหาจานวน ข้าวสารได้ ดังนี้ ( ) 690=50+n×80 เรียกประโยคนี้ว่า สมการ จาก สมการ ( ) 690=50+n×80 เมื่อแทน n ด้วย 8 จะได้ ( ) 50+640=50+8×80 690 ดังนั้น เก่งซื้อข้าวสารมา 8 ถุง ในการหาคาตอบของเก่งดังตารางข้างต้นนี้เป็นการลองแทนค่า n ด้วย 1, 2, 3, 4, ..., 8 ในสมการ ( ) 690=50+n×80 จนเมื่อแทน n ด้วย 8 จึงทาให้สมการ ( ) 690=50+n×80 เป็นจริง สมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ เช่น ( ) 690=50+n×80 เป็นสมการที่มี n เป็นตัวแปร และ 3 – 5 = -2 เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปร สมการ เป็นประโยคที่แสดงการเท่ากันของจานวนโดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน
  • 11. 11 เอกสารแนะแนวทางที่ 3 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย คาตอบของสมการ คาสั่ง จงพิจารณาว่าสมการเป็นจริงหรือไม่ เมื่อแทนตัวแปร x ด้วยค่าต่างๆที่กาหนดให้ในตาราง ต่อไปนี้ สมการ ค่าของตัวแปร แทนค่าตัวแปร สมการ เป็นจริง ไม่เป็นจริง x - 9 = -3 -2 (-3 ) - 9  -3 -  0 0 - 9  -3 3 3 - 9  -3 6 y + 5 = 1 -6 -4 2 6 จากตารางข้างต้น จานวนที่นาไปแทนตัวแปร x และ y ในสมการแล้วทาให้สมการ เป็นจริงคือคาตอบของสมการนั่นเอง จากตาราง สามารถสรุปความหมายของ “คาตอบของสมการ” ได้ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ 2=7+a โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร วิธีทา เนื่องจาก 2=7+(-9) เมื่อแทน a ด้วย -9 ใน 2=7+a แล้วจะได้สมการเป็นจริง ดังนั้น คาตอบของสมการ 2=7+a คือ -9 ตอบ -9 คาตอบของสมการ คือ ................................................................................................
  • 12. 12 ตัวอย่างที่ 2 จงหาคาตอบของสมการ 12=4-b 2 โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร วิธีทา เนื่องจาก 12=4-)(4 2 เมื่อแทน b ด้วย 4 ใน 12=4-b 2 แล้วจะได้สมการเป็นจริง เนื่องจาก 124)4( 2  เมื่อแทน b ด้วย -4 ใน 12=4-b 2 แล้วจะได้สมการเป็นจริง ดังนั้น คาตอบของสมการ 12=4-b 2 คือ 4 และ -4 ตอบ 4 และ -4 ตัวอย่างที่ 3 จงหาคาตอบของสมการ c+5=5+c โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน c ด้วยจานวนใดๆ ใน c+5=5+c แล้วจะได้สมการเป็นจริงเสมอ ดังนั้น คาตอบของสมการ c+5=5+c คือ จานวนทุกจานวน ตอบ จานวนทุกจานวน ตัวอย่างที่ 4 จงหาคาตอบของสมการ d=d+2 โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร วิธีทา เนื่องจาก ไม่มีจานวนใดแทน d ใน d=d+2 แล้วทาให้สมการเป็นจริง ดังนั้น ไม่มีจานวนใดเป็นคาตอบของสมการ d=d+2 ตอบ ไม่มีจานวนใดเลย จากตัวอย่างที่ 1, 2, 3 และ 4 สามารถจาแนกสมการได้ ...... แบบ ตามลักษณะคาตอบ ของสมการ ดังนี้ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................
  • 13. 13 เอกสารแนะแนวทางที่ 4 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ในการแก้สมการ นอกจากจะใช้วิธีการแทนค่าตัวแปรเพื่อหาคาตอบของสมการแล้ว เพื่อความรวดเร็วเราสามารถใช้สมบัติของการเท่ากันมาช่วยในการหาคาตอบ ได้แก่ 1.สมบัติสมมาตร การเขียนประโยคแสดงการเท่ากันของจานวน 2 จานวน สามารถเขียนได้ 2 แบบ ตัวอย่างเช่น 1. x = 3 หรือ 3 = x 2. -3 + x = 1 หรือ 1 = -3 + x 3. 2 p = -11 หรือ -11 = 2 p 4. s = t + 1 หรือ t + 1 = s 5. a + b = c หรือ c = a + b การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติสมมาตร ซึ่งกล่าวว่า 2.สมบัติถ่ายทอด การเขียนประโยคแสดงการเท่ากันของจานวนตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไป โดยใช้สมบัติของการ เท่ากันทาให้ได้ข้อสรุป ดังตัวอย่างเช่น 1. ถ้า 2 = x และ x = y แล้วจะสรุปได้ว่า 2 = y หรือ y = 2 2. ถ้า พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวด้าน2 และ ความยาวด้าน2 = 64 แล้วจะสรุปได้ว่า พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 64 3. ถ้า c=b+a และ 6=c แล้วจะสรุปได้ว่า 6=b+a 4. ถ้า r=q×p และ 1+s2=r แล้วจะสรุปได้ว่า 1+s2=q×p 5. ถ้า y=x และ z=y แล้วจะสรุปได้ว่า z=x การแก้สมการ คือ …………....................................…………………… ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใด ๆ ถ้า และ แล้ว เมื่อ a , b และ แทนจานวนใดๆ
  • 14. 14 จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์ 1) ให้ x2 2 1  ดังนั้น x2 ............... 2) ให้ qp  และ 4q  ดังนั้น 4..............  3) ให้ b1a2  ดังนั้น ............b  4) ให้ t4s  และ 7t  ดังนั้น 4s ................ 5) ให้ y 8 x  เมื่อ 0y  ดังนั้น  y 8 .............. 6) ให้ 1ab2  ดังนั้น ............... ab2  7) ให้ 11xy  และ 11z  ดังนั้น xy ............... 8) ให้ q5p  ดังนั้น q .............. 9) ให้ n3m 5 2  ดังนั้น .................. m 5 2  10) ให้ y x2 1  และ 12y  ดังนั้น  x2 1 ................ 3.สมบัติการบวก ถ้ามีจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน เมื่อนาจานวนหนึ่งมาบวกกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น ผลลัพธ์จะได้เท่ากัน เช่น 1. ถ้า x = -5 แล้ว x - 3 = -5 - 3 2. ถ้า 4=2×2 แล้ว ( ) 3+4=3+2×2 3. ถ้า 5y + 4 = 7 แล้ว (5y + 4) + (-4) = -7 + (-4) 4. ถ้า q=p แล้ว p + (-r) = q + (-r) การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติการบวก ซึ่งกล่าวว่า หมำยเหตุ จานวนที่นามาบวกกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจเป็นจานวนบวกหรือจานวนลบก็ได้ การบวกแต่ละจานวนที่เท่ากันด้วยจานวนลบ ก็คือการนาจานวนบวกมาลบออก จากทั้งสองจานวนที่เท่ากันนั้นเอง ดังนี้ ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใด ๆ ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวน ใดๆ
  • 15. 15 4. สมบัติการคูณ ถ้ามีจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน เมื่อนาจานวนหนึ่งมาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น ผลลัพธ์จะได้เท่ากัน เช่น 1. ถ้า 4 1 x3  แล้ว 4 4 1 43x)(  2. ถ้า 422  แล้ว ( ) 3×4=3×2×2 3. ถ้า yx  แล้ว y2x2  4. ถ้า nm  แล้ว n 4 1 m 4 1              นั่นคือ n 4 1 m 4 1  5. ถ้า z y x  และ 0y  แล้ว yzx  การเขียนแสดงการเท่ากันดังกล่าวเป็นไปตามสมบัติการคูณ ซึ่งกล่าวว่า หมำยเหตุ จานวนที่นามาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจเป็นจานวนเต็มหรือเศษส่วนก็ได้ การคูณแต่ละจานวนที่เท่ากันด้วยเศษส่วน เช่น k 1 เมื่อ k เป็นจานวนเต็มใดๆ ที่ 0k  ก็คือการนาจานวนเต็ม k มาหารทั้งสองจานวนที่เท่ากันนั้นเอง ทาให้สรุปได้ว่า ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการ 125x  วิธีทา 125x  นา 5 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 51255x  17x  ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 17 ในสมการ 125x  จะได้ 12517  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 17 เป็นคาตอบของสมการ 125x  ตอบ 17 ถ้า แล้ว เมื่อ และ แทนจานวนใดๆ ถ้า แล้ว เมื่อ a ,b และ แทนจานวนใดๆ ที่
  • 16. 16 ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 5 7 5 1 y  วิธีทา 5 7 5 1 y  นา 5 1  มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 5 1 5 7 5 1 5 1 y  5 6 y 5 17 y    ตรวจคาตอบ แทน y ด้วย 5 6 ในสมการ 5 7 5 1 y  จะได้ 5 7 5 1 5 6  5 7 5 7  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 5 6 เป็นคาตอบของสมการ 5 7 5 1 y  ตอบ 5 6 ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ 7x 3 1  วิธีทา 7x 3 1  นา 3 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 73x 3 1 3  21x  ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 21 ในสมการ 7x 3 1 
  • 17. 17 จะได้ 721 3 1  77  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 21 เป็นคาตอบของสมการ 7x 3 1  ตอบ 21 ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ 12y4  วิธีทา 12y4  นา 4 1 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 4 12 4 y4  3y  ตรวจคาตอบ แทน y ด้วย 3 ในสมการ 12y4  จะได้ 1234  1212  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 3 เป็นคาตอบของสมการ 12y4  ตอบ 3 ตัวอย่างที่ 5 จงแก้สมการ 53 2 x  วิธีทา 53 2 x  นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3533 2 x  8 2 x  นา 2 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 82 2 x 2  16x 
  • 18. 18 ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 16 ในสมการ 53 2 x  จะได้ 53 2 16  538  55  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 16 เป็นคาตอบของสมการ 53 2 x  ตอบ 16 ตัวอย่างที่ 6 จงแก้สมการ 287x3  วิธีทา 287x3  นา 7 มาลบทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 72877x3  21x3  นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3 21 3 x3  7x  ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 7 ในสมการ 287x3  จะได้ ( ) 28=7+7×3 28721  2828  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 7 เป็นคาตอบของสมการ 287x3  ตอบ 7 ตัวอย่างที่ 7 จงแก้สมการ 4 3 2 1 x3  วิธีทา 4 3 2 1 x3  นา 2 1 มาลบทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 2 1 4 3 2 1 2 1 x3 
  • 19. 19 4 1 x3 4 23 x3    นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3 4 1 3 x3  12 1 x 3 1 4 1 x   ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 12 1 ในสมการ 4 3 2 1 x3  จะได้ 4 3 2 1 12 1 3        4 3 2 1 4 1  4 3 4 21   4 3 4 3  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 12 1 เป็นคาตอบของสมการ 4 3 2 1 x3  ตอบ 12 1 การแก้สมการที่มีเศษส่วนอย่างเช่นตัวอย่างที่ 7 อาจทาได้อีกวิธีหนึ่ง คือ กาจัดส่วน ทั้งหมดในสมการให้หมดไป โดยการนาส่วนทั้งหมดมาหา ค.ร.น. แล้วนา ค.ร.น. ที่ได้มาคูณตลอด สมการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 20. 20 ตัวอย่างที่ 8 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 7 จงแก้สมการ 4 3 2 1 x3  โดยวิธีกาจัดส่วน วิธีทา 4 3 2 1 x3  หา ค.ร.น. ของส่วนคือ 2 และ 4 ได้ 4 นา ค.ร.น. คูณตลอดสมการ จะได้ 4 3 4 2 1 x34        32x12 3 2 1 4)x3(4         นา 2 มาลบทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 2322x12  1x12  นา 12 มาหารทั้งสองข้างชองสมการ จะได้ 12 1 12 x12  12 1 x  ตอบ 12 1 จากตัวอย่างที่ 7 และ 8 จะเห็นว่า การแก้สมการที่มีเศษส่วนโดยวิธีปกติ และโดยวิธีกาจัดส่วนต่างทาให้ได้ผลลัพธ์เท่ากัน
  • 21. 21 เอกสารแนะแนวทางที่ 5 เรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 9 จงแก้สมการ x + 3 = 7 วิธีทา x + 3 = 7 นา -3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ x + 3 + (– 3) = 7 + (– 3) หรือ x + 3 – 3 = 7 - 3 x = 4 ตรวจสอบ แทน x ด้วย 4 ในสมการ x + 3 = 7 จะได้ 4 + 3 = 7 7 = 7 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 4 เป็นคาตอบของสมการ x + 3 = 7 ตอบ 4 ตัวอย่างที่ 10 จงแก้สมการ x + 29 = 51 วิธีทา x + 29 = 51 นา 29 มาลบทั้งสองข้างของสมการ จะได้ x + 29- 29 = 51 - 29 x = 22 ตรวจสอบ แทน x ด้วย 22 ในสมการ x + 29 = 51 จะได้ 22 + 29 = 51 51 = 51 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 22 เป็นคาตอบของสมการ x + 29 = 51 ตอบ 22 ตัวอย่างที่ 11 จงแก้สมการ b – 11.5 = 3.52 วิธีทา b – 11.5 = 3.52 นา 11.5 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ b – 11.5 + 11.5 = 3.52 + 11.5 b = 15.02 ตรวจสอบ แทน b ด้วย 15.02 ในสมการ b – 11.5 = 3.52 จะได้ 15.02 – 11.5 = 3.52 3.52 = 3.52 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 15.02 เป็นคาตอบของสมการ b – 11.5 = 3.52 ตอบ 15.02
  • 22. 22 ตัวอย่างที่ 12 จงแก้สมการ 9 4 7 3 c  วิธีทา 9 4 7 3 c  นา 7 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 7 3 9 4 7 3 7 3 c  63 2728 c   63 55 c  ตรวจสอบ แทน c ด้วย 63 55 ในสมการ 9 4 7 3 c  จะได้ 9 4 7 3 63 55  9 4 63 2755   9 4 63 28  9 4 9 4  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 63 55 เป็นคาตอบของสมการ 9 4 7 3 c  ตอบ 63 55
  • 23. 23 ตัวอย่างที่ 13 จงแก้สมการ 5 7 a  วิธีทา 5 7 a  นา 7 มาคูณทั้ง 2 ข้างของสมการ จะได้ 757 7 a  35a ตรวจสอบ แทน a ด้วย 35 ในสมการ 5 7 a  จะได้ 5 7 35  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 35 เป็นคาตอบของสมการ 5 7 a  ตอบ 35 ตัวอย่างที่ 14 จงแก้สมการ 36m4  วิธีทา 36m4  นา 4 มาหารทั้ง 2 ข้างของสมการ จะได้ 4 36 4 m4  9m ตรวจสอบ แทน 9m ในสมการ 36m4  จะได้ 9 4 36  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 9 เป็นคาตอบของสมการ 36m4  ตอบ 9
  • 24. 24 ตัวอย่างที่ 15 จงแก้สมการ 84-a 5 2  วิธีทา 84-a 5 2  นา 4 บวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 4844-a 5 2  12a 5 2  นา 2 5 คูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 2 5 12 2 5 a 5 2  30a ตรวจสอบ แทน a ด้วย 30 ในสมการ 84-a 5 2  จะได้ 84-30 5 2  เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 30 เป็นคาตอบของสมการ 84-a 5 2  ตอบ 30 ตัวอย่างที่ 16 จงแก้สมการ 7 3 ( 5- 2 x ) 6 วิธีทา 7 3 ( 5- 2 x ) 6 นา 3 7 คูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 7 3 ( 5- 2 x ) 3 7  6 3 7  145- 2 x  นา 5 บวกทั้งสองข้างของสมการ
  • 25. 25 จะได้ 51455- 2 x  19 2 x  นา 2 คูณทั้งสองข้างของสมการจะได้ 2192 2 x  38x  ตรวจสอบ แทน x ด้วย 38 ในสมการ 7 3 ( 5- 2 x ) 6 จะได้ 7 3 ( 5- 2 38 ) 6 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น 38 เป็นคาตอบของสมการ 7 3 ( 5- 2 x ) 6 ตอบ 38
  • 26. 26 เอกสารแนะแนวทางที่ 6 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 17 จงแก้สมการ 3 2 4 3 2 1 3 x2  วิธีทา วิธีที่ 1 3 2 4 3 2 1 3 x2  นา 2 1 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 2 1 3 2 4 3 2 1 2 1 3 x2  12 7 3 x2 12 689 3 x2 2 1 3 2 4 3 3 x2     นา 2 3 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 2 3 12 7 2 3 3 x2       8 7 x  ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย 8 7 ในสมการ 3 2 4 3 2 1 3 x2  จะได้ 3 2 4 3 2 1 8 7 3 2        4 89 2 1 12 7   12 1 12 67   12 1 12 1  เป็นสมการที่เป็นจริง
  • 27. 27 ดังนั้น 8 7 เป็นคาตอบของสมการ 3 2 4 3 2 1 3 x2  ตอบ 8 7 วิธีที่ 2 กาจัดส่วนของเศษส่วนในสมการ 3 2 4 3 2 1 3 x2  หา ค.ร.น. ของส่วนคือ 2, 3 และ 4 ได้ 12 นา ค.ร.น. คูณตลอดสมการ จะได้              3 2 4 3 12 2 1 3 x2 12 16x8 896x8 3 2 12 4 3 12 2 1 12 3 x2 12                            นา …… มา ……… ทั้งสองข้างของสมการ จะได้ นา ...... มา ........ ทั้งสองข้างของสมการ จะได้ ................................................................. .................................................................. ตอบ .....................................................................
  • 28. 28 ตัวอย่างที่ 18 จงแก้สมการ 10)3a(3  วิธีทา วิธีที่ 1 10)3a(3  นา 3 1 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3 10 3 )3a(3   3 10 3a  นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ .............................................................................................. ................................................................................................ ................................................................................................ ตรวจคาตอบ ................................................................................................ ................................................................................................ ดังนั้น ....... เป็นคาตอบของสมการ 10)3a(3  ตอบ ................................................ วิธีที่ 2 10)3a(3  นา 3 มาคูณในวงเล็บ ( สมบัติการแจกแจง ) จะได้ 109a3  นา 9 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 91099a3  1a3  นา 3 1 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3 1 3 a3  3 1 a  ตอบ 3 1  จากตัวอย่างที่ 18 จะเห็นได้ว่า การแก้สมการที่มีวงเล็บ สามารถทาได้โดยอาศัยสมบัติ การแจกแจง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะเท่ากับวิธีปกติ
  • 29. 29 ตัวอย่างที่ 19 จงแก้สมการ   62b 3 1  โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง วิธีทา   62b 3 1  นา ........ มา ........ ในวงเล็บ จะได้ ..................................................... นา ....... มา .......... ทั้งสองข้างของสมการ จะได้ ............................................................................ ............................................................................. ............................................................................ ............................................................................ ตรวจคาตอบ ................................................................................................... ................................................................................................... ................................................................................................... ดังนั้น ......... เป็นคาตอบของสมการ   62b 3 1  ตอบ ………………………………………. ตัวอย่างที่ 20 จงแก้สมการ 10x215x3  วิธีทา 10x215x3  นา x2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 10x2)x2(15x3)x2(      10x2)2(15x3)2(  15x  นา -15 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ ................................................ .…………………………….…………. ตรวจคาตอบ แทน x ด้วย -25 ในสมการ 10x215x3  จะได้     1025215253  10501575  ................................................... เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น ….. เป็นคาตอบของสมการ 10x215x3  ตอบ ……………………………………….
  • 30. 30 ตัวอย่างที่ 21 จงแก้สมการ    3c21c3  โดยอาศัยสมบัติการแจกแจง วิธีทา    3c21c3  นา 3 และ 2 คูณแจกแจงเข้าไปในวงเล็บ จะได้ 6c23c3  นา 3 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 36c233c3  .................................. นา c2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ 3c2)c2(c3)c2(  ………………………................................................. ………………………................................................. ตรวจคาตอบ แทน c ด้วย ....... ในสมการ    3c21c3  จะได้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น ........ เป็นคาตอบของสมการ    3c21c3  ตอบ ……………………………………….
  • 31. 31 เอกสารแนะแนวทางที่ 7 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 1 ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี จงเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงอายุปัจจุบันของคนซึ่งเกี่ยวข้อง กับบี้ ดังนี้ 1. แดนแก่กว่าบี้ 7 ปี 2. อั้มอ่อนกว่าบี้ 5 ปี 3. หลินปิงอายุเป็น 3 เท่าของบี้ 4. น้าชาอายุมากกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 4 ปี 5. หญิงอายุน้อยกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 3 ปี 6. เมื่อ 5 ปีที่แล้วแก้วมีอายุเท่ากับอายุปัจจุบันของบี้ วิธีทา 1. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี และแดนอายุแก่กว่าบี้ 7 ปี ดังนั้น ปัจจุบันแดนมีอายุ x + 7 ปี 2. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี และอั้มมีอายุอ่อนกว่าบี้ 5 ปี ดังนั้น ปัจจุบันอั้มมีอายุ x - 5 ปี 3. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี และ หลินปิงมีอายุเป็น 3 เท่าของบี้ ดังนั้น ปัจจุบันหลินปิงมีอายุ 3x ปี 4. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี และ น้าชามีอายุมากกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 4 ปี ดังนั้น ปัจจุบันน้าชามีอายุ 3x + 4 ปี 5. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี และ หญิงมีอายุน้อยกว่า 3 เท่าของบี้อยู่ 3 ปี ดังนั้น ปัจจุบันหญิงมีอายุ 3x - 3 ปี 6. ปัจจุบันบี้มีอายุ x ปี เมื่อ 5 ปีที่แล้วแก้วมีอายุเท่ากับอายุปัจจุบันของบี้ นั่นคือ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว แก้วมีอายุ x ปี ดังนั้น ปัจจุบันแก้วมีอายุ x + 5 ปี
  • 32. 32 ตัวอย่างที่ 2 5 เท่าของเลขจานวนหนึ่งมากกว่า 3 อยู่ 7 วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 นา 3 บวกทั้งสองข้างของสมการ 5x – 3 + 3 = 7 + 3 5x = 10 นา 5 1 คูณทั้งสองข้างของสมการ 5 1  5x = 5 1 10 x = 2 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 5(2) – 3 = 7 7 = 7 สมการเป็นจริง ดังนั้น เลขจานวนนั้นคือ 2 ตอบ 2
  • 33. 33 เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 1 จากการคาดการณ์ว่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 20% ต่อปี หากปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออก 80,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2557 มูลค่าการส่งออกของไทยไปอาเซียนควรจะมีการขยายตัวไม่ต่ากว่า เท่าไร วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว x บาท จะได้ x คิดเป็น 20 % ของ 80,000 ล้านบาท จะได้สมการ ........................................................ ........................................................ ตรวจคาตอบ แทนค่า ............. ในสมการ ........................................................ จะได้ ........................................................ ตอบ ........................................................ ล้านบาท ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าการส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัว ได้จริง 18,000 ล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวกี่เปอร์เซนต์ วิธีทา สมมติให้การส่งออกของไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัว ............... % จะได้ ........................................................................... จะได้สมการ คือ ........................................................................... ........................................................................... นา ............................................. ทั้งสองข้างของสมการ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ...........................................................................
  • 34. 34 ตรวจคาตอบ แทนค่า ...................... ในสมการ ........................................ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตอบ การส่งออกของไทยไปอาเซียนในปี พ.ศ. 2557 สามารถขยายตัวได้ …………………………… ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 พบว่า 5 เท่าของปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไป สิงคโปร์ มากกว่า 3 แสนล้านบาท อยู่ 7 แสนล้านบาท วิธีทา ให้ ................ แทนปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ จะได้สมการคือ ............................................................................ นา ................................ ทั้งสองข้างของสมการ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 5(2) – 3 = 7 7 = 7 สมการเป็นจริง ตอบ ปริมาณในการส่งออกยางพาราของไทยไปสิงคโปร์ คือ ………………………….. %
  • 35. 35 ตัวอย่างที่ 4 มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายจานวนหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2557 ขายให้บรูไนได้ครึ่งหนึ่งของ ที่ซื้อมา ปี พ.ศ. 2558 ขายให้กัมพูชาได้อีก 5 3 ของจานวนแร่โลหะที่เหลือจากปี พ.ศ. 2557 ถ้าปี พ.ศ. 2557 ขายแร่โลหะได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้หาว่า มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขายทั้งหมดกี่ล้านเหรียญสหรัฐ วิธีทา สมมติมาเลเซียซื้อแร่โลหะมาทั้งหมด .......... ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2557 ขายได้ .......... ล้านเหรียญสหรัฐ พ.ศ. 2558 ขายได้ 5 3 ของที่เหลือ .............................. ล้านเหรียญสหรัฐ เนื่องจากพ.ศ. 2558 ได้ 111 ล้านเหรียญสหรัฐ จะได้ ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตรวจคาตอบ แทนค่า ....................... ในสมการ ........................................................... ........................................................................... ........................................................................... ตอบ มาเลเซียซื้อแร่โลหะมาขาย ........................................... ล้านเหรียญสหรัฐ
  • 36. 36 เอกสารแนะแนวทางที่ 9 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่ 5 ขณะนี้ตุ๊กกี้อายุ 17 ปี อีก 4 ปีข้างหน้าเธอจะอายุเป็น 3 เท่า ของอายุปุ๊กกี้ ปัจจุบันปุ๊กกี้อายุเท่าไร วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 37. 37 วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
  • 38. 38 ตัวอย่างที่ 6 เมื่อ 8 ปีที่แล้วบุตรมีอายุเป็นหนึ่งในเจ็ดของอายุมารดา ถ้าปัจจุบันบุตร มีอายุ 14 ปี จงหาอายุปัจจุบันของมารดา วิธีคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 39. 39 วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….….. สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
  • 40. 40 แนวทางที่ 10 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดาริ เป็นหลักการเพื่อการพัฒนาคนให้มีหลักคิด และหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล ตลอดจนพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ โดยใช้คุณธรรมกากับความรู้ เป็นการฝึกให้คิด พูด ทา อย่างพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลัก เหตุผล ไม่ประมาท โดยใช้สติและปัญญาในทางที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแต่ ละคน ให้สามารถอุ้มชูตัวเองและครอบครัวได้ โดยไม่เบียดเบียนตัวเองและผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างสงบสุข รู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุลและยั่งยืน และมีค่านิยมที่ดีงาม ร่วมรักษาคุณค่าของความเป็นไทย หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง คือ สติและปัญญา ผู้รู้จักตัวเอง ฝึกฝนตนจนเกิดปัญญา สามารถตระหนักถึงคุณธรรม เช่น หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ความเมตตา กรุณา การไม่เบียดเบียนใคร และไม่เบียดเบียนโลก รวมทั้งการมีปัญญารู้ว่า อะไรคือสิ่งที่ควรทา เพื่อให้เกิดผลดีทั้งต่อตนและผู้อื่น ความพอเพียงจึงเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน ที่ทุกคน ต่างคานึงถึง การตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งที่ดี และหน้าที่ในการสร้างพฤติกรรมนั้นๆอยู่เสมอ จนกลายเป็นอุปนิสัยที่ดีและทาโดยอัตโนมัติ ไม่ลังเลสงสัยว่าทาไมผู้อื่นไม่ทา การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีหลัก 3 ห่วง ได้แก่ ห่วงความพอประมาณ ห่วงความมีเหตุผล ห่วงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ 2 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไข ความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง ………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง …………………………………………………………………………….. …………………………………….……………………………………………………………………………………………………….. ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง ………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..………….
  • 41. 41 และ 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ .......................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………. ทั้งนี้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้มุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้นอย่างสมดุลและยั่งยืนใน 4 มิติ ได้แก่ .................................................................................................................................................... การนาแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ต้องเริ่มต้นจากตนเอง คนใกล้ตัว ซึ่งก็คือสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและมั่นคง จึงจาเป็นต้องเริ่มต้นด้วยครอบครัวพอเพียงโดยนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ในการดารงชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิต มีความรับผิดชอบ รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความรู้ความเข้าใจ ประหยัดพลังงาน นา ผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ การบันทึกบัญชีรายรับ–รายจ่าย วางแผนการใช้เงินของตัวเอง ตัวอย่างที่ 7 แม่เป็นตัวอย่างในการออมเงินและปลูกฝังให้ลูกออมเงินโดยในแต่ละวันแม่จะแบ่งเงิน เพื่อเก็บออมและให้เงินลูกเพื่อเป็นค่าขนมไปโรงเรียนดังนี้ แม่แบ่งเงิน 150 บาท ไว้ เป็นเงินออมและลูกในอัตราส่วน 2 : 3 จงหาว่าแม่แบ่งเงินเพื่อเก็บออมวันละเท่าไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 แม่แบ่งเงินเก็บออม 2 ส่วน จากทั้งหมด 5 ส่วนซึ่งเงินทั้งหมด 5 ส่วน คิดเป็นเงิน 150 เก็บออม 2 ส่วน ลูก 3 ส่วน 5 ส่วน รวม เท่ากับ 150 บาท
  • 42. 42 ขั้นที่ 2 เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 150 บาท ถ้าจะหาเงิน 1 ส่วน จะต้องแบ่ง 150 บาท ออกเป็น 5 ส่วนด้วย 5 ส่วน เท่ากับ 150 บาท 1 1 1 1 1 ตอบ แม่เก็บออมวันละ 60 บาท 150 5 150 5 150 5 150 5 150 5
  • 43. 43 ตัวอย่างที่ 8 ร้อยละ 60 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีทั้งหมด 420 คน ปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน จงหาว่ามีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียนกี่คน วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ ตอบ มีนักเรียนปลูกผักไฮโดรโฟนิกร่วมกับโครงการของโรงเรียน ......... คน นักเรียนทั้งหมด 420 คน ร้อยละ 60 หมายถึง ถ้านักเรียน 100 คน มีนักเรียนปลูกผัก 60 คน
  • 44. 44 ตัวอย่างที่ 9 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท แต่นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และ นาย ง 15 บาท และ 32 บาท ตามลาดับ ก่อนหน้านั้น นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข 3 บาท และ 7 บาทตามลาดับ ถ้ามีการชาระหนี้ทั้งหมดขึ้น ใครจะมีเงิน 18 บาท วิธีทา ข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ นามาหาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 ใช้จุด . แทน นาย ก , ข , ค , ง ขั้นที่ 2 นาย ก ให้นาย ข ยืมเงิน 7 บาท นาย ก ขอยืมเงินจากนาย ค และนาย ง 15 บาท และ 32 บาท ขั้นที่ 3 นาย ง เป็นหนี้ นาย ค และนาย ข มาก่อน 3 บาท และ 7 บาท .ง .ก .ข.ค 15 732 นาย ง 3 32 7 15 7 นาย ค นาย ก นาย ข แทนการให้ยืม .ง .ก .ข.ค
  • 45. 45 เมื่อมีการชาระหนี้ทั้งหมด จะเกิดความสัมพันธ์ ดังนี้ ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
  • 46. 46 ตัวอย่างที่ 10 ถ้าสามวันก่อนวันพรุ่งนี้ เป็นวันพฤหัสบดีแล้ว สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวันอะไร วิธีทา จากโจทย์ หาความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 กาหนดวันพรุ่งนี้ แล้วหา 3 วันก่อนจากวันพรุ่งนี้ ขั้นที่ 2 หาวันนี้ และเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 3 หาสี่วันต่อจากวันเมื่อวานนี้ ขั้นที่ 4 กาหนดวันทั้งหมด พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้ พฤ 3 วันก่อนพรุ่งนี้ พรุ่งนี้เมื่อวานนี้ วันนี้
  • 47. 47 ตรวจคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….…………………………… ตอบ สี่วันหลังจากเมื่อวานเป็นวัน ……………………………………