SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล
1. ชายคนหนึ่งหนัก 500 นิวตัน กําลังขึ้นบันไดขนาดสมํ่าเสมอยาว 5.0 เมตร
และหนัก 100 นิวตัน ถ้าบันไดพาดอยู่กับผนังลื่น
โดยปลายบันไดบนพื้นอยู่ห่างจากผนัง 3.0 เมตร
และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับบันไดเท่ากับ 0.5
ชายคนนี้จะขึ้นบันไดไปได้ระยะกี่เมตรก่อนที่บันไดจะไถล
1. 3.5 m 2. 3.8 m 3. 4.0 m 3. 4.2 m
2. รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโลกรัม
มีศูนย์กลางมวลของรถอยู่ที่ตําแหน่งกึ่งกลางระหว่างล้อหลังกับล้อหน้าซึ่งห่างกั
น 2.0 เมตร ถ้ารถพยายามยกวัตถุที่อยู่ห่างจากตัวรถไปทางด้านหน้า 10
เมตร มวลมากที่สุดที่รถสามารถยกได้เป็นกี่กิโลกรัม
1. 120 2. 160
3. 240 4. 320
3. ชายสองคนช่วยกันหามวัตถุมวล 90 กิโลกรัม
ซึ่งแขวนอยู่ที่จุดกึ่งกลางคานสมํ่าเสมอมวล 10 กิโลกรัม
ถ้าชายคนที่หนึ่งแบกคานตรงตําแหน่งห่างจากจุดที่แขวนวัตถุ 0.5 เมตร
และรับนํ้าหนัก 600 นิวตัน
ชายคนที่สองจะแบกคานที่ตําแหน่งห่างจากจุดแขวนวัตถุเท่าไร
1. 0.13 m 2. 0.25 m 3. 0.50 m 4. 0.75 m
5. บันไดขนาดสมํ่าเสมอ มีนํ้าหนัก W
วางพาดกําแพงเกลี้ยงซึ่งไม่คิดแรงเสียดทาน
ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างพื้นล่างกับบันใดเท่ากับ μ จงหามุม
θ น้อยที่สุดที่ทําให้บันไดวางอยู่นิ่งได้
1. 1
tan (1/ μ)

2. 1
tan (μ)

3. 1
tan (1/ 2μ)

4. 1
tan (2μ)

6. แท่งวัตถุขนาดไม่สมํ่าเสมอยาว L = 1.4 เมตร
ถูกแขวนอยู่ในสมดุลด้วยสปริงเบาที่ปลายทั้งสองของแท่งวัตถุ ดังรูป
ถ้าแรงดึงสปริง F1 = 60 นิวตัน และ F2 = 20 นิวตัน
จงหาตําแหน่งจุดศูนย์กลางมวลวัดจากปลาย A ของแท่งวัตถุในหน่วยเมตร
1. 0.25 2. 0.35
3. 0.40
4. 0.45
7. ชายคนหนึ่งถือแผ่นไม้ขนาดสมํ่าเสมอยาว 2 เมตร นํ้าหนัก 100 นิวตัน
ให้สมดุลตามแนวระดับ โดยมือข้างหนึ่งยกแผ่นไม้ขึ้นที่ตําแหน่ง 40
เซนติเมตร จากปลายใกล้ตัวและมืออีกข้างหนึ่งกดแผ่นไม้ลงที่ปลายเดียวกันนั้น
ดังรูป
จงคํานวณหาแรงกดและแรงยกจากมือทั้งสองตามลําดับที่ทําให้แผ่นไม้อยู่นิ่งไ
ด้
1. 120 และ 220 N
2. 130 และ 230 N
3. 140 และ 240 N
4. 150 และ 250 N
8. แท่งปริซึมนํ้าหนัก 5 นิวตัน มีหน้าตัดเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า ยาวด้านละ L
วางบนพื้นที่มี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเท่ากับ 0.4 ถ้าออกแรง P
ในแนวขนานกับพื้นกระทํากับ ปริซึมตรงตําแหน่งดังที่แสดงในรูปโดยค่อย ๆ
เพิ่มแรงขึ้น องคํานวณว่าสามารถทําให้ปริซึมพลิกได้หรือไม่
ถ้าได้จะต้องใช้แรง P เท่าไร
1. พลิกเมื่อแรง P เท่ากับ 3
5
N
2. พลิกเมื่อแรง P เท่ากับ 5
3
N
3. ไม่พลิก เพราะวัตถุจะเริ่มไถลเมื่อแรง P เท่ากับ 0.5 N
4. ไม่พลิก เพราะวัตถุจะเริ่มไถลเมื่อแรง P เท่ากับ 2 N
9. ออกแรงกดก้อนมวล 4 กิโลกรัม ให้ติดกับฝาผนังด้วยแรงซึ่งทํามุม 45o
กับแนวระดับ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างฝาผนังกับก้อนมวล
เท่ากับ 0.25 จงหาขนาดของแรงที่ทําให้มวลเริ่มไถลขึ้นได้
1. 45.7 N
2. 58.8 N
3. 75.4 N
4. 91.4 N
10. ท่อรูปทรงกระบอกมีนํ้าหนัก W
วางอยู่บนพื้นและมีเชือกเบายึดไว้อย่างสมมาตรดังรูป เชือกมีแรงตึง T นิวตัน
และสัมผัสกับส่วนโค้งของท่อเป็นมุม 2α แรงที่ทรงกระบอกกดพื้นเป็นเท่าใด
1. W+2T
2. W+2T cos α
3. W+T sin 2α
4. W+2T sin α
11. กล่องใบหนึ่งมีมวล 5.0 กิโลกรัม มีฐานกว้าง 40.0 เซนติเมตร และสูง
50.0 เซนติเมตร ถูกปล่อยให้ไถลลงมาตามพื้นเอียงลื่น ถ้าออกแรง F
ดึงที่ผิวบนของกล่องในแนวขนานกับพื้นเอียง ดังรูป แรงนี้มีขนาดมากที่สุด
กี่นิวตันจึงจะทําให้กล่องไม่ล้มควํ่าลงมา
1. 20 2. 32
3. 40 4. 48
12. คันโยก กขคง ซึ่งมีความยาวของแขน กข ขค และ คง
เท่ากันและหักเป็นมุมฉากดังรูป ถ้าออกแรง F
กระทําตั้งฉากกับแขน กข ที่จุด ก โดยให้ ข เป็นจุดหมุน
แรงที่น้อยที่สุดที่กระทําต่อปลาย ง โดย ไม่ทําให้คันโยกหมุนรอบจุด ข
จะมีขนาดเท่าใด
1. F 2. F
2
3. F
2
4. F
3
13. ท่อนไม้มวล 100 กิโลกรัม วางพาดกําแพงลื่นดัง
รูปแรงที่กําแพงทําต่อปลายไม้เท่ากับ 140 N
แรงลัพธ์ที่พื้นระดับทําต่อปลายไม้เป็นกี่นิวตัน
กําหนดให้ g=9.8 m/s2
1. 840
2. 980
3. 990
4. 1,120
14. บานพับ A และ B ยึดประตูหนัก 400 นิวตัน บานพับ A รับนํ้าหนักประตู
3
4
ของนํ้าหนักทั้งหมด จงหาขนาดของแรงที่บานพับ B กระทําต่อประตู
ถ้าความกว้างของประตูเป็น 1 เมตร และบานพับทั้งสองห่างกัน 2 เมตร
15. บานพับ A และ B ยึดหน้าต่างหนัก 300 นิวตัน บานพับ A
รับนํ้าหนักหน้าต่าง
2
3
ของนํ้าหนักทั้งหมด จงหาขนาดของแรงที่บานพับ A กระทําต่อหน้าต่าง
ถ้าความกว้างของหน้าต่างเป็น 0.8 เมตร และบานพับทั้งสองห่างกัน 1.0
เมตร
1. 182.4 N 2. 233.2 N 3. 296.6 N 4. 344.8 N
16. ทรงกลมมวล 3 kg วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงดังรูป
จงหาขนาดของแรงกระทําจากพื้นเอียง R1
จะประมาณกี่นิวตัน
17. (สามัญฟิสิกส์ 2555) ชายคนหนึ่ง มวล 75 kg.
ออกกําลังกายขณะอยู่ในท่าดังรูป แขนแต่ละข้างต้อง
รับบทหนักกนิวตัน กําหนดให้ ระยะจากปลายเท้าถึงจุดศูนย์กลางมวลเป็ น
100 cm. และระยะจากปลายเท้าถึงมือเป็น 150 cm. กําหนดให้ g=9.8
m/s2
1. 245 N 2. 250 N
3. 368 N 4. 490 N
5. 735 N
18. (สามัญฟิสิกส์ 2557) ท่อนไม้โตสมํ่าเสมอวางปลายบนพิงกําแพงลื่น
ปลายล่างอยู่บนพื้นฝืดมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานกับท่อนไม้เป็ น μ
จงหาค่าของ θ ที่โตที่สุดที่ท่อนไม้พิงอยู่ได้โดยไม่ไถลลง
1. arctan μ 2. arctan 2μ
3. 1
arctan
μ
3. 1
arctan
2μ
5. 1
arctan 1+
μ
 
 
 
19. PAT2 ฟิสิกส์ (ต.ค.53) คานสมํ่าเสมอยาว 2L นํ้าหนัก 2W ดังรูป ก
เมื่อวางจุดกึ่งกลางคานไว้ที่ มีคมมีด พบว่าคานดังกล่าวอยู่ในสภาพสมดุล
ถ้าตัดคานด้านขวาไป 2 ท่อนเล็ก ยาวท่อนละ (1/3)L
แล้ววางส่วนที่เหลือดังรูป ข จะได้ผลตามข้อใด
1. คานในรูป ข สมดุลเหมือนเดิม
2. ต้องออกแรงดึงในทิศลงที่จุด A ด้วยขนาด (4/3)W
จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล
3. ต้องออกแรงดึงในทิศลงที่จุด B ด้วยขนาด (4/3)W
จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล
4. ต้องออกแรงดันในทิศขึ้นที่จุด B ด้วยขนาด (4/3)W
จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล
20. (ต.ค.54) แขวนวัตถุมวล m
ที่ตําแหน่งกึ่งกลางเชือกเบาเส้นหนึ่งที่ตรึงปลายทั้งสองด้านกับกําแพง
ขณะที่ระบบอยู่ในสภาพสมดุลพบว่า ปลายเชือกทั้งสองด้านทํามุมน้อย ๆ
กับแนวระดับ ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแรงดึงเชือก T ในสถานการณ์นี้
1. T = mg 2.
mg
T <
2
3.
T
> mg
2
4.
mg
< T < mg
2
21. (ต.ค.55)
ขับรถให้ล้อหน้าทั้งสองทับไปบนตาชั่งที่อยู่ในระดับเดียวกับถนน
อ่านนํ้าหนักจากตาชั่งได้ W1 ขับรถต่อไปให้ล้อหลังทับไปบนตาชั่งตัวเดิม
และล้อหน้าอยู่บนถนน อ่านค่านํ้าหนักได้ W2 ถ้านํ้าหนักของรถที่แท้จริงคือ
W และศูนย์กลางมวลของรถค่อนมาทางด้านหลัง ข้อสรุปโดถูกต้อง
1. 1 2
W > W และ 1 2
W + W W

2. 1 2
W > W และ 1 2
W + W =W
3. 1 2
W < W และ 1 2
W + W W

4. 1 2
W < W และ 1 2
W + W =W
22. (มี.ค.56) แขวนไม้เมตรเนื้อสมํ่าเสมออันหนึ่งให้ทํามุม θ
กับแนวระดับด้วยเชือกเบาสองเส้น ดังรูป อัตราส่วนแรงดึงเชือก T1 ต่อ T2
เป็นเท่าใด
1. 1 2. 1 + sin θ
3. cos θ 4. 1
1 + sin θ
23. (9สามัญ ปี 59 ) AC กับ BC เป็นเชือกเบา ๆ อยู่ในระนาบดิ่งเดียวกัน
ก้อนนํ้าหนัก W ผูกแขวนจากจุด C จงหาค่าของความตึง T ในเชือก AC
1. 1
1 2
sin θ
W
sin (θ +θ )
2. 2
1 2
sin θ
W
sin (θ +θ )
3. 1
1 2
cos θ
W
sin (θ +θ )
4. 1
1 2
cos θ
W
cos (θ +θ )
5. 2
1 2
cos θ
W
cos (θ +θ )
24. (9 สามัญ ปี 60) ก้อนมวล m แขวนด้วยเชือก ดังรูป จงหาแรงตึงในเชือก
2 กําหนดให้มวลของเชือก
น้อยมาก
1. mg sin θ 2. mg cos θ
3. mg tan θ 4. mg cot θ
5. mg sec θ
25.(9สามัญ ปี 60) ใช้เชือกดึงเพลาของล้อ O ในแนวระดับด้วยแรง F
เท่ากับเท่าไร จึงจะทําให้ล้อปีนขึ้นสันสูง R/4 ได้พอดี
1. 3
Mg
7
2. 7
Mg
3
3. 3
Mg
7
4. 7
Mg
3
5. 3Mg
26. (9สามัญ ปี 61) สปริงเบาสองตัว แต่ละตัวมีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ k
และมีความยาวธรรมชาติ l ถูกดึงลงใน แนวดิ่งด้วยแรง W
แรงนี้มีขนาดเท่าไร
1. 2kl cot θ 2. 2kl (tanθ - sinθ)
3. 2kl (cotθ - cosθ) 4. 2kl tan θ
5. 2kl cos θ
27. (9สามัญ ปี 61) กําหนดว่าในรูปนี้ ระยะ CB=BA และท่อนแข็งเบา AB
สามารถหมุนได้เพื่อปรับให้อยู่ในสภาวะสมดุลมุม θ มีค่าเท่าไร
ในสภาวะสมดุล
1. 15o
2. 30o
3. 45o
4. 60o
5. 75o
28. นาย A และ นาย B ช่วยกันหามกล่องหนัก 150 นิวตัน
ด้วยท่อนไม้มวลสมํ่าเสมอหนัก 50 นิวตัน
ยาว 3.0 เมตร โดยให้ท่อนไม้อยู่ในแนวระดับ
ซึ่งตําแหน่งที่แต่ละคนออกแรงกระทําต่อท่อนไม้และตําแหน่งที่ผูกกล่องเป็นดั
งภาพ
ถ้าต้องการให้นาย A และ นาย B ออกแรงกระทําเท่ากันโดยที่นาย ค
ออกแรงกระทําที่ตําแหน่งเดิม นาย B จะต้องทําอย่างไร (วิชาสามัญ เม.ย.
64)
1. นาย B อยู่ตําแหน่งเดิม
2. นาย B ขยับเข้าหากลองอีก 0.2 เมตร
3. นาย B ขยับเข้าหากล่องอีก 0.3 เมตร
4. นาย B ขยับออกจากกล่องอีก 0.3 เมตร
5. นาย B ขยับออกจากกล่องอีก 0.4 เมตร
29. โต๊ะกลมแข็งแรงและสมมาตรตัวหนึ่งหนัก 250 นิวตัน
มีส่วนประกอบดังภาพที่ 1 และมีขนาดดังภาพที่ 2 กําหนดให้ F
คือแรงกดแรงที่น้อยที่สุดที่กดลงบนขอบโต๊ะ
แล้วทําให้โต๊ะเริ่มกระดกมีขนาดที่นิวตัน (PAT2 มี.ค. 64)
1. 89 2. 139
3. 250 4. 313
5. 389
30. แท่งไม้ขนาดสมํ่าเสมอกําลังไถลลงตามพื้นเอียงดังรูป
ถ้าค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานมีขนาดพอเหมาะที่ยอมให้ไม้ไถลได้พอดี
จงหาความสัมพันธ์ที่จะทําให้ไม้ไกลพอดีโดยไม่ล้ม
1. tan
d h
  2. h tan d
 
3. tan
d h
  4. h tan d
 
31. ตู้สมํ่าเสมอใบหนึ่งสูง 100 เซนติเมตร และกว้าง 50 เซนติเมตร มีมวล
100 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นราบ
ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างผิวสัมผัสเท่ากับ 0.2
ถ้าออกแรง F ผลักตู้ที่จุด A ซึ่งอยู่สูงจากพื้นเท่ากับ 50 เซนติเมตร โดยมุม θ
เท่ากับ 60o
ดังรูป แรง F จะมีขนาดกี่นิวตัน ตู้จึงจะเคลื่อนที่ไปโดยไม่ล้ม
1. 150 250
F
  2. 250 350
F
 
3. 350 450
F
  4. 450 550
F
 
32. กล่องสี่เหลี่ยมกว้าง 20 ซม. สูง 40 ซม.
วางอยู่บนพื้นเอียงที่สามารถปรับมุมของพื้นเอียงใด
ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างวัตถุกับพื้นเอียงเป็น 0.4
จงหาว่าถ้าปรับมุมของพื้นเอียงให้โตขึ้นเรื่อย ๆ
กล่องใบนี้จะไถลลงมาตามพื้นเอียงก่อนหรือล้มก่อน
33. นํ้าหนัก W1 และ W2 แขวนอยู่ที่ปลายไม้ที่เบามาก รูปตัว L ดังรูป
ถ้าติดบานพับไว้ที่จุด A จงหาค่ามุม θ ซึ่งทําให้ระบบอยู่ในสมดุล
1. 1 2
1
tan
2
W
W
  
 
 
2. 1 2
1
2
tan
W
W
  
 
 
3. 1 1
2
2
tan
W
W
  
 
 
4. 1 1
2
tan
2
W
W
  
 
 
34. ทรงกลมรัศมี R มีนํ้าหนัก mg วางบนพื้นเอียงเกลี่ยงที่ทํามุม θ กับระดับ
โดยมีเชือกยาว R ผูกติดกับ
พื้นเอียงดังรูป จงหาค่าความตึงในเส้นเชือก
1. sin
mg 
2. 2 sin
mg 
3. 3 sin
mg 
4. 2
sin
3
mg 
35. ทรงกลมมวล 24 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงที่ทํามุมกับพื้นระดับ 53
องศา โดยมีเชือกเบาผูกติดอยู่ด้านบนของทรงกลมดังแสดงในภาพ
อยากทราบว่า แรงตึงในเส้นเชือกที่ทําให้ทรงกลมอยู่นิ่งได้ มีค่าเท่าใด
(กําหนดให้ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเอียงมีค่า 0.5)
1) 43.6 นิวตัน 2) 171 นิวตัน
3) 72 นิวตัน 4) 115 นิวตัน
5) 120 นิวตัน
36. ทรงกระบอกตันหนัก w วางอยู่ที่ซอกผนังดังรูป
ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเป็น 1/3
และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของผนังเป็นศูนย์ แรง P มีค่าเป็น 2
เท่าของนํ้าหนักทรงกระบอก จงหาว่าแรงปฏิกิริยาที่ตําแหน่ง A มีค่าเป็นเท่าไร
1. 0.4w 2. 0.6w
3. 0.8w 4. 1.0w
37. จากปัญหาข้อ 36
ถ้าต้องการให้ทรงกระบอกนี้เริ่มหมุนได้ในทิศทวนเข็มนาฬิการะยะ d
มีค่าอย่างน้อยเท่าไร
1. 0.3R 2. 0.4R 3. 0.5R
4. 0.6R
38. ทรงกระบอกยาว 0.1 เมตร มวล 3 กิโลกรัม และรัศมี 0.5 เมตร
จํานวนสามท่อนถูกวางไว้ในกล่องสี่เหลี่ยมโดยจุดศูนย์กลางของท่อนล่างอยู่ห่า
งกัน 1.6 เมตร ดังรูป แรงปฏิกิริยาตั้งฉากกับผิวทรงกระบอกที่จุด A
มีค่าที่นิวตัน
39. ท่อนํ้ายาว 2 ท่อ แต่ละท่อหนัก 40 กิโลกรัม
วางชิดกันตามยาวบนพื้นเกลี้ยง
ถ้านําท่อลักษณะเหมือนกันวางซ้อนสองท่อแรกดังในรูป แรง H
ในแนวราบจะต้องมีค่าอย่างน้อยเท่าไร ที่จะทําให้ท่อไม่แยกจากกัน
กําหนดให้ sin 30o
= 0.50
cos 30o = 0.87
1. 115 N 2. 240 N
3. 350 N 4. 460 N
40. ทรงกระบอกตันมวล 40 กิโลกรัม เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 1.00
เมตรวางอยู่บนพื้นและมีแรง F ขนาด 500 นิวตัน พยายามหมุนทรงกระบอก
ดังรูป
ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตย์ระหว่างกําแพงและทรงกระบอกเป็น 0.2
ส่วนพื้นไม่มีความฝืด จงหาค่า h
ที่น้อยที่สุดในหน่วยเซนติเมตรทรงกระบอกพร้อมที่จะหมุนได้
1.6 m
A B
H H
F
h
41. ในการถอนตะปูออกจากไม้ ต้องใช้แรงดึงตะปูอย่างน้อย 800 N
จงหาว่าแรง P น้อยที่สุดที่ต้องใช้กระทําต่อค้อนต้องเป็นเท่าใด
1. 180N 2. 200N
3. 360
3
N 4. 400
3
N
42. วางแท่งไม้สมํ่าเสมอยาว (ซ้อนกันดังรูป แท่งไม่ในรูปใดที่อยู่ในสมดุล
เพราะเหตุใด)

More Related Content

What's hot

02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 

What's hot (20)

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 

Similar to แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.NewNew AcademicCenter
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 sugaeang
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์zweetiiz
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1himham_029
 

Similar to แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx (20)

123
123123
123
 
2
22
2
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57
 
Cmu57
Cmu57 Cmu57
Cmu57
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์
 
Cmu 57
Cmu 57Cmu 57
Cmu 57
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1
 

แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx

  • 1. แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล 1. ชายคนหนึ่งหนัก 500 นิวตัน กําลังขึ้นบันไดขนาดสมํ่าเสมอยาว 5.0 เมตร และหนัก 100 นิวตัน ถ้าบันไดพาดอยู่กับผนังลื่น โดยปลายบันไดบนพื้นอยู่ห่างจากผนัง 3.0 เมตร และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับบันไดเท่ากับ 0.5 ชายคนนี้จะขึ้นบันไดไปได้ระยะกี่เมตรก่อนที่บันไดจะไถล 1. 3.5 m 2. 3.8 m 3. 4.0 m 3. 4.2 m 2. รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโลกรัม มีศูนย์กลางมวลของรถอยู่ที่ตําแหน่งกึ่งกลางระหว่างล้อหลังกับล้อหน้าซึ่งห่างกั น 2.0 เมตร ถ้ารถพยายามยกวัตถุที่อยู่ห่างจากตัวรถไปทางด้านหน้า 10 เมตร มวลมากที่สุดที่รถสามารถยกได้เป็นกี่กิโลกรัม 1. 120 2. 160 3. 240 4. 320 3. ชายสองคนช่วยกันหามวัตถุมวล 90 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยู่ที่จุดกึ่งกลางคานสมํ่าเสมอมวล 10 กิโลกรัม ถ้าชายคนที่หนึ่งแบกคานตรงตําแหน่งห่างจากจุดที่แขวนวัตถุ 0.5 เมตร และรับนํ้าหนัก 600 นิวตัน ชายคนที่สองจะแบกคานที่ตําแหน่งห่างจากจุดแขวนวัตถุเท่าไร 1. 0.13 m 2. 0.25 m 3. 0.50 m 4. 0.75 m
  • 2. 5. บันไดขนาดสมํ่าเสมอ มีนํ้าหนัก W วางพาดกําแพงเกลี้ยงซึ่งไม่คิดแรงเสียดทาน ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างพื้นล่างกับบันใดเท่ากับ μ จงหามุม θ น้อยที่สุดที่ทําให้บันไดวางอยู่นิ่งได้ 1. 1 tan (1/ μ)  2. 1 tan (μ)  3. 1 tan (1/ 2μ)  4. 1 tan (2μ)  6. แท่งวัตถุขนาดไม่สมํ่าเสมอยาว L = 1.4 เมตร ถูกแขวนอยู่ในสมดุลด้วยสปริงเบาที่ปลายทั้งสองของแท่งวัตถุ ดังรูป ถ้าแรงดึงสปริง F1 = 60 นิวตัน และ F2 = 20 นิวตัน จงหาตําแหน่งจุดศูนย์กลางมวลวัดจากปลาย A ของแท่งวัตถุในหน่วยเมตร 1. 0.25 2. 0.35 3. 0.40 4. 0.45 7. ชายคนหนึ่งถือแผ่นไม้ขนาดสมํ่าเสมอยาว 2 เมตร นํ้าหนัก 100 นิวตัน ให้สมดุลตามแนวระดับ โดยมือข้างหนึ่งยกแผ่นไม้ขึ้นที่ตําแหน่ง 40 เซนติเมตร จากปลายใกล้ตัวและมืออีกข้างหนึ่งกดแผ่นไม้ลงที่ปลายเดียวกันนั้น ดังรูป จงคํานวณหาแรงกดและแรงยกจากมือทั้งสองตามลําดับที่ทําให้แผ่นไม้อยู่นิ่งไ ด้ 1. 120 และ 220 N 2. 130 และ 230 N 3. 140 และ 240 N 4. 150 และ 250 N
  • 3. 8. แท่งปริซึมนํ้าหนัก 5 นิวตัน มีหน้าตัดเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า ยาวด้านละ L วางบนพื้นที่มี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเท่ากับ 0.4 ถ้าออกแรง P ในแนวขนานกับพื้นกระทํากับ ปริซึมตรงตําแหน่งดังที่แสดงในรูปโดยค่อย ๆ เพิ่มแรงขึ้น องคํานวณว่าสามารถทําให้ปริซึมพลิกได้หรือไม่ ถ้าได้จะต้องใช้แรง P เท่าไร 1. พลิกเมื่อแรง P เท่ากับ 3 5 N 2. พลิกเมื่อแรง P เท่ากับ 5 3 N 3. ไม่พลิก เพราะวัตถุจะเริ่มไถลเมื่อแรง P เท่ากับ 0.5 N 4. ไม่พลิก เพราะวัตถุจะเริ่มไถลเมื่อแรง P เท่ากับ 2 N 9. ออกแรงกดก้อนมวล 4 กิโลกรัม ให้ติดกับฝาผนังด้วยแรงซึ่งทํามุม 45o กับแนวระดับ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างฝาผนังกับก้อนมวล เท่ากับ 0.25 จงหาขนาดของแรงที่ทําให้มวลเริ่มไถลขึ้นได้ 1. 45.7 N 2. 58.8 N 3. 75.4 N 4. 91.4 N 10. ท่อรูปทรงกระบอกมีนํ้าหนัก W วางอยู่บนพื้นและมีเชือกเบายึดไว้อย่างสมมาตรดังรูป เชือกมีแรงตึง T นิวตัน และสัมผัสกับส่วนโค้งของท่อเป็นมุม 2α แรงที่ทรงกระบอกกดพื้นเป็นเท่าใด 1. W+2T 2. W+2T cos α 3. W+T sin 2α 4. W+2T sin α
  • 4. 11. กล่องใบหนึ่งมีมวล 5.0 กิโลกรัม มีฐานกว้าง 40.0 เซนติเมตร และสูง 50.0 เซนติเมตร ถูกปล่อยให้ไถลลงมาตามพื้นเอียงลื่น ถ้าออกแรง F ดึงที่ผิวบนของกล่องในแนวขนานกับพื้นเอียง ดังรูป แรงนี้มีขนาดมากที่สุด กี่นิวตันจึงจะทําให้กล่องไม่ล้มควํ่าลงมา 1. 20 2. 32 3. 40 4. 48 12. คันโยก กขคง ซึ่งมีความยาวของแขน กข ขค และ คง เท่ากันและหักเป็นมุมฉากดังรูป ถ้าออกแรง F กระทําตั้งฉากกับแขน กข ที่จุด ก โดยให้ ข เป็นจุดหมุน แรงที่น้อยที่สุดที่กระทําต่อปลาย ง โดย ไม่ทําให้คันโยกหมุนรอบจุด ข จะมีขนาดเท่าใด 1. F 2. F 2 3. F 2 4. F 3 13. ท่อนไม้มวล 100 กิโลกรัม วางพาดกําแพงลื่นดัง รูปแรงที่กําแพงทําต่อปลายไม้เท่ากับ 140 N แรงลัพธ์ที่พื้นระดับทําต่อปลายไม้เป็นกี่นิวตัน กําหนดให้ g=9.8 m/s2 1. 840 2. 980 3. 990 4. 1,120 14. บานพับ A และ B ยึดประตูหนัก 400 นิวตัน บานพับ A รับนํ้าหนักประตู
  • 5. 3 4 ของนํ้าหนักทั้งหมด จงหาขนาดของแรงที่บานพับ B กระทําต่อประตู ถ้าความกว้างของประตูเป็น 1 เมตร และบานพับทั้งสองห่างกัน 2 เมตร 15. บานพับ A และ B ยึดหน้าต่างหนัก 300 นิวตัน บานพับ A รับนํ้าหนักหน้าต่าง 2 3 ของนํ้าหนักทั้งหมด จงหาขนาดของแรงที่บานพับ A กระทําต่อหน้าต่าง ถ้าความกว้างของหน้าต่างเป็น 0.8 เมตร และบานพับทั้งสองห่างกัน 1.0 เมตร 1. 182.4 N 2. 233.2 N 3. 296.6 N 4. 344.8 N 16. ทรงกลมมวล 3 kg วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงดังรูป จงหาขนาดของแรงกระทําจากพื้นเอียง R1 จะประมาณกี่นิวตัน 17. (สามัญฟิสิกส์ 2555) ชายคนหนึ่ง มวล 75 kg. ออกกําลังกายขณะอยู่ในท่าดังรูป แขนแต่ละข้างต้อง รับบทหนักกนิวตัน กําหนดให้ ระยะจากปลายเท้าถึงจุดศูนย์กลางมวลเป็ น 100 cm. และระยะจากปลายเท้าถึงมือเป็น 150 cm. กําหนดให้ g=9.8 m/s2 1. 245 N 2. 250 N 3. 368 N 4. 490 N 5. 735 N 18. (สามัญฟิสิกส์ 2557) ท่อนไม้โตสมํ่าเสมอวางปลายบนพิงกําแพงลื่น ปลายล่างอยู่บนพื้นฝืดมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานกับท่อนไม้เป็ น μ จงหาค่าของ θ ที่โตที่สุดที่ท่อนไม้พิงอยู่ได้โดยไม่ไถลลง
  • 6. 1. arctan μ 2. arctan 2μ 3. 1 arctan μ 3. 1 arctan 2μ 5. 1 arctan 1+ μ       19. PAT2 ฟิสิกส์ (ต.ค.53) คานสมํ่าเสมอยาว 2L นํ้าหนัก 2W ดังรูป ก เมื่อวางจุดกึ่งกลางคานไว้ที่ มีคมมีด พบว่าคานดังกล่าวอยู่ในสภาพสมดุล ถ้าตัดคานด้านขวาไป 2 ท่อนเล็ก ยาวท่อนละ (1/3)L แล้ววางส่วนที่เหลือดังรูป ข จะได้ผลตามข้อใด 1. คานในรูป ข สมดุลเหมือนเดิม 2. ต้องออกแรงดึงในทิศลงที่จุด A ด้วยขนาด (4/3)W จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล 3. ต้องออกแรงดึงในทิศลงที่จุด B ด้วยขนาด (4/3)W จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล 4. ต้องออกแรงดันในทิศขึ้นที่จุด B ด้วยขนาด (4/3)W จึงจะทําให้คานในรูป ข สมดุล 20. (ต.ค.54) แขวนวัตถุมวล m ที่ตําแหน่งกึ่งกลางเชือกเบาเส้นหนึ่งที่ตรึงปลายทั้งสองด้านกับกําแพง ขณะที่ระบบอยู่ในสภาพสมดุลพบว่า ปลายเชือกทั้งสองด้านทํามุมน้อย ๆ กับแนวระดับ ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแรงดึงเชือก T ในสถานการณ์นี้ 1. T = mg 2. mg T < 2 3. T > mg 2 4. mg < T < mg 2
  • 7. 21. (ต.ค.55) ขับรถให้ล้อหน้าทั้งสองทับไปบนตาชั่งที่อยู่ในระดับเดียวกับถนน อ่านนํ้าหนักจากตาชั่งได้ W1 ขับรถต่อไปให้ล้อหลังทับไปบนตาชั่งตัวเดิม และล้อหน้าอยู่บนถนน อ่านค่านํ้าหนักได้ W2 ถ้านํ้าหนักของรถที่แท้จริงคือ W และศูนย์กลางมวลของรถค่อนมาทางด้านหลัง ข้อสรุปโดถูกต้อง 1. 1 2 W > W และ 1 2 W + W W  2. 1 2 W > W และ 1 2 W + W =W 3. 1 2 W < W และ 1 2 W + W W  4. 1 2 W < W และ 1 2 W + W =W 22. (มี.ค.56) แขวนไม้เมตรเนื้อสมํ่าเสมออันหนึ่งให้ทํามุม θ กับแนวระดับด้วยเชือกเบาสองเส้น ดังรูป อัตราส่วนแรงดึงเชือก T1 ต่อ T2 เป็นเท่าใด 1. 1 2. 1 + sin θ 3. cos θ 4. 1 1 + sin θ 23. (9สามัญ ปี 59 ) AC กับ BC เป็นเชือกเบา ๆ อยู่ในระนาบดิ่งเดียวกัน ก้อนนํ้าหนัก W ผูกแขวนจากจุด C จงหาค่าของความตึง T ในเชือก AC 1. 1 1 2 sin θ W sin (θ +θ ) 2. 2 1 2 sin θ W sin (θ +θ ) 3. 1 1 2 cos θ W sin (θ +θ ) 4. 1 1 2 cos θ W cos (θ +θ ) 5. 2 1 2 cos θ W cos (θ +θ )
  • 8. 24. (9 สามัญ ปี 60) ก้อนมวล m แขวนด้วยเชือก ดังรูป จงหาแรงตึงในเชือก 2 กําหนดให้มวลของเชือก น้อยมาก 1. mg sin θ 2. mg cos θ 3. mg tan θ 4. mg cot θ 5. mg sec θ 25.(9สามัญ ปี 60) ใช้เชือกดึงเพลาของล้อ O ในแนวระดับด้วยแรง F เท่ากับเท่าไร จึงจะทําให้ล้อปีนขึ้นสันสูง R/4 ได้พอดี 1. 3 Mg 7 2. 7 Mg 3 3. 3 Mg 7 4. 7 Mg 3 5. 3Mg 26. (9สามัญ ปี 61) สปริงเบาสองตัว แต่ละตัวมีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ k และมีความยาวธรรมชาติ l ถูกดึงลงใน แนวดิ่งด้วยแรง W แรงนี้มีขนาดเท่าไร 1. 2kl cot θ 2. 2kl (tanθ - sinθ) 3. 2kl (cotθ - cosθ) 4. 2kl tan θ 5. 2kl cos θ 27. (9สามัญ ปี 61) กําหนดว่าในรูปนี้ ระยะ CB=BA และท่อนแข็งเบา AB สามารถหมุนได้เพื่อปรับให้อยู่ในสภาวะสมดุลมุม θ มีค่าเท่าไร ในสภาวะสมดุล
  • 9. 1. 15o 2. 30o 3. 45o 4. 60o 5. 75o 28. นาย A และ นาย B ช่วยกันหามกล่องหนัก 150 นิวตัน ด้วยท่อนไม้มวลสมํ่าเสมอหนัก 50 นิวตัน ยาว 3.0 เมตร โดยให้ท่อนไม้อยู่ในแนวระดับ ซึ่งตําแหน่งที่แต่ละคนออกแรงกระทําต่อท่อนไม้และตําแหน่งที่ผูกกล่องเป็นดั งภาพ ถ้าต้องการให้นาย A และ นาย B ออกแรงกระทําเท่ากันโดยที่นาย ค ออกแรงกระทําที่ตําแหน่งเดิม นาย B จะต้องทําอย่างไร (วิชาสามัญ เม.ย. 64) 1. นาย B อยู่ตําแหน่งเดิม 2. นาย B ขยับเข้าหากลองอีก 0.2 เมตร 3. นาย B ขยับเข้าหากล่องอีก 0.3 เมตร 4. นาย B ขยับออกจากกล่องอีก 0.3 เมตร 5. นาย B ขยับออกจากกล่องอีก 0.4 เมตร
  • 10. 29. โต๊ะกลมแข็งแรงและสมมาตรตัวหนึ่งหนัก 250 นิวตัน มีส่วนประกอบดังภาพที่ 1 และมีขนาดดังภาพที่ 2 กําหนดให้ F คือแรงกดแรงที่น้อยที่สุดที่กดลงบนขอบโต๊ะ แล้วทําให้โต๊ะเริ่มกระดกมีขนาดที่นิวตัน (PAT2 มี.ค. 64) 1. 89 2. 139 3. 250 4. 313 5. 389 30. แท่งไม้ขนาดสมํ่าเสมอกําลังไถลลงตามพื้นเอียงดังรูป ถ้าค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานมีขนาดพอเหมาะที่ยอมให้ไม้ไถลได้พอดี จงหาความสัมพันธ์ที่จะทําให้ไม้ไกลพอดีโดยไม่ล้ม 1. tan d h   2. h tan d   3. tan d h   4. h tan d   31. ตู้สมํ่าเสมอใบหนึ่งสูง 100 เซนติเมตร และกว้าง 50 เซนติเมตร มีมวล 100 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นราบ ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างผิวสัมผัสเท่ากับ 0.2 ถ้าออกแรง F ผลักตู้ที่จุด A ซึ่งอยู่สูงจากพื้นเท่ากับ 50 เซนติเมตร โดยมุม θ เท่ากับ 60o ดังรูป แรง F จะมีขนาดกี่นิวตัน ตู้จึงจะเคลื่อนที่ไปโดยไม่ล้ม 1. 150 250 F   2. 250 350 F   3. 350 450 F   4. 450 550 F  
  • 11. 32. กล่องสี่เหลี่ยมกว้าง 20 ซม. สูง 40 ซม. วางอยู่บนพื้นเอียงที่สามารถปรับมุมของพื้นเอียงใด ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างวัตถุกับพื้นเอียงเป็น 0.4 จงหาว่าถ้าปรับมุมของพื้นเอียงให้โตขึ้นเรื่อย ๆ กล่องใบนี้จะไถลลงมาตามพื้นเอียงก่อนหรือล้มก่อน 33. นํ้าหนัก W1 และ W2 แขวนอยู่ที่ปลายไม้ที่เบามาก รูปตัว L ดังรูป ถ้าติดบานพับไว้ที่จุด A จงหาค่ามุม θ ซึ่งทําให้ระบบอยู่ในสมดุล 1. 1 2 1 tan 2 W W        2. 1 2 1 2 tan W W        3. 1 1 2 2 tan W W        4. 1 1 2 tan 2 W W        34. ทรงกลมรัศมี R มีนํ้าหนัก mg วางบนพื้นเอียงเกลี่ยงที่ทํามุม θ กับระดับ โดยมีเชือกยาว R ผูกติดกับ พื้นเอียงดังรูป จงหาค่าความตึงในเส้นเชือก 1. sin mg  2. 2 sin mg  3. 3 sin mg  4. 2 sin 3 mg 
  • 12. 35. ทรงกลมมวล 24 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงที่ทํามุมกับพื้นระดับ 53 องศา โดยมีเชือกเบาผูกติดอยู่ด้านบนของทรงกลมดังแสดงในภาพ อยากทราบว่า แรงตึงในเส้นเชือกที่ทําให้ทรงกลมอยู่นิ่งได้ มีค่าเท่าใด (กําหนดให้ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเอียงมีค่า 0.5) 1) 43.6 นิวตัน 2) 171 นิวตัน 3) 72 นิวตัน 4) 115 นิวตัน 5) 120 นิวตัน 36. ทรงกระบอกตันหนัก w วางอยู่ที่ซอกผนังดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเป็น 1/3 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของผนังเป็นศูนย์ แรง P มีค่าเป็น 2 เท่าของนํ้าหนักทรงกระบอก จงหาว่าแรงปฏิกิริยาที่ตําแหน่ง A มีค่าเป็นเท่าไร 1. 0.4w 2. 0.6w 3. 0.8w 4. 1.0w 37. จากปัญหาข้อ 36 ถ้าต้องการให้ทรงกระบอกนี้เริ่มหมุนได้ในทิศทวนเข็มนาฬิการะยะ d มีค่าอย่างน้อยเท่าไร 1. 0.3R 2. 0.4R 3. 0.5R 4. 0.6R
  • 13. 38. ทรงกระบอกยาว 0.1 เมตร มวล 3 กิโลกรัม และรัศมี 0.5 เมตร จํานวนสามท่อนถูกวางไว้ในกล่องสี่เหลี่ยมโดยจุดศูนย์กลางของท่อนล่างอยู่ห่า งกัน 1.6 เมตร ดังรูป แรงปฏิกิริยาตั้งฉากกับผิวทรงกระบอกที่จุด A มีค่าที่นิวตัน 39. ท่อนํ้ายาว 2 ท่อ แต่ละท่อหนัก 40 กิโลกรัม วางชิดกันตามยาวบนพื้นเกลี้ยง ถ้านําท่อลักษณะเหมือนกันวางซ้อนสองท่อแรกดังในรูป แรง H ในแนวราบจะต้องมีค่าอย่างน้อยเท่าไร ที่จะทําให้ท่อไม่แยกจากกัน กําหนดให้ sin 30o = 0.50 cos 30o = 0.87 1. 115 N 2. 240 N 3. 350 N 4. 460 N 40. ทรงกระบอกตันมวล 40 กิโลกรัม เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 1.00 เมตรวางอยู่บนพื้นและมีแรง F ขนาด 500 นิวตัน พยายามหมุนทรงกระบอก ดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตย์ระหว่างกําแพงและทรงกระบอกเป็น 0.2 ส่วนพื้นไม่มีความฝืด จงหาค่า h ที่น้อยที่สุดในหน่วยเซนติเมตรทรงกระบอกพร้อมที่จะหมุนได้ 1.6 m A B H H F h
  • 14. 41. ในการถอนตะปูออกจากไม้ ต้องใช้แรงดึงตะปูอย่างน้อย 800 N จงหาว่าแรง P น้อยที่สุดที่ต้องใช้กระทําต่อค้อนต้องเป็นเท่าใด 1. 180N 2. 200N 3. 360 3 N 4. 400 3 N 42. วางแท่งไม้สมํ่าเสมอยาว (ซ้อนกันดังรูป แท่งไม่ในรูปใดที่อยู่ในสมดุล เพราะเหตุใด)