SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
รูปคล้าย คือ รูปที่มีลักษณะแบบเดียวกันแต่ไม่จาเป็นต้องมีขนาดของรูปเท่ากัน
ให้นักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีลักษณะเหมือนกัน ต่างขนาดกัน แล้วตั้ง
คาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้
พิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปต่อไปนี้
ให้นักเรียนลองพิจารณามุมของ ABC และ PQR ที่กาหนดให้
ABC PQR
CAB = 30˚ RPQ = __________
ABC = 50˚ PQR = __________
ACB = __________ PRQ = 100˚
1) ABC มุม CAB มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด
(เท่ากับมุม △RPQ มีขนาด 30˚)
2) ABC มุม ABC มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด
(เท่ากับมุม PQR มีขนาด 50˚)
3) ABC มุม ACB มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด
(เท่ากับมุม PRQ มีขนาด 100˚)
4) นักเรียนรู้ได้อย่างไรว่า ACB = PRQ (มุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180˚)
5) ABCและ PQR มีการเท่ากันของมุมในรูปสามเหลี่ยมอย่างไร(มุมเท่ากันมุมต่อมุมทั้งสามมุม)
6) รูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดมุมเท่ากันทั้งสามคู่นี้ เรียกความสัมพันธ์นี้ว่าอย่างไร
(รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน หรือรูปสามเหลี่ยมคล้าย)
7) รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันนักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนความสัมพันธ์นี้อย่างไร
(“ ~ ” เช่น △ ABC ~ △ PQR)
สรุปว่า ลักษณะของรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดของมุมเท่ากันทั้งสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมคล้าย
เขียนสัญลักษณ์แทนความคล้ายได้ “~” เช่น ABC ~ PQR
^
^
^
^
^
^
^ ^
ลักษณะของรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดของมุมเท่ากันทั้งสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมคล้าย
เขียนสัญลักษณ์แทนความคล้าย “ ~ ”
ให้นักเรียนดูรูปสามเหลี่ยมคล้าย 2 รูป แล้วพิจารณาความสัมพันธ์ของมุมของรูป
สามเหลี่ยมคล้าย จากนั้นครูตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมคล้าย
ดังนี้
พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายต่อไปนี้ กาหนดให้ ABC ~ DEF
1) จากรูป ABC มีมุมใดบ้างที่เท่ากับมุมใน DEF (มุมที่เท่ากันคือ CAB = FDE,
ABC = DEF และ BCA = EFD)
2) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมมีลักษณะเป็นอย่างไร
(มุมทั้งสามมุมเท่ากันเป็นคู่ ๆ)
3) เรียกมุมที่เท่ากันเป็นคู่ ๆ ของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันว่าอย่างไร (มุมที่สมนัยกัน)
4) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันมีมุมใดบ้างที่เป็นมุมที่สมนัยกัน (CAB สมนัยกับ FDE,
ABC สมนัยกับ DEF และ BCA สมนัยกับ EFD)
5) รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มุมของรูปสามเหลี่ยมจะต้องสมนัยกันเสมอหรือไม่
(มุมของรูปสามเหลี่ยมจะสมนัยกันเสมอ)
6) ตาแหน่งในการเขียนสัญลักษณ์ความคล้ายของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน โดยมุมที่
สมนัยกันนั้นมีลักษณะอย่างไร (จะต้องเรียงลาดับมุมที่เท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกัน)
3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับมุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย
โดยเชื่อมโยงจากกิจกรรมและการหาคาตอบจากคาถามข้างต้น ดังนี้
มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปเรียกว่า มุมที่สมนัยกัน รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
จะมีมุมที่สมนัยกันสามคู่ และการเขียนสัญลักษณ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้ายจะเรียงลาดับมุมที่สมนัย
กันหรือเท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกันเสมอ
^ ^
^ ^ ^ ^
^ ^
^^^^
พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายต่อไปนี้
กาหนด ABC ~ DEF
1) นักเรียนคิดว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันนอกจากมีมุมที่สมนัยกันแล้ว ยังมีส่วนใดอีก
สมนัยกัน (ด้านประกอบของรูปสามเหลี่ยมนั้น ๆ)
2) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน BC และ EF มีความสัมพันธ์กันอย่างไร (เป็นด้านที่อยู่
ตรงข้ามมุมที่เท่ากันหรือมุมที่สมนัยกัน)
3) ด้านของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันและเป็นด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านนั้น
เป็นด้านที่สมนัยกันหรือไม่ (เป็นด้านที่สมนัยกัน)
4) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันข้างต้นมีด้านใดบ้างที่สมนัยกัน (BC สมนัยกับ EF,
AC สมนัยกับ DF และ AB สมนัยกับ DE)
5. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่
คล้ายกัน โดยเชื่อมโยงจากตัวอย่างและคาถามข้างต้น ดังนี้
รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกับมุมที่สมนัยกันเรียกว่า ด้านที่สมนัยกัน
ตัวอย่างที่ 1 จากรูป กาหนดให้ MNO = PQR และ NMO = QPR จงแสดงว่า
MNO คล้ายกับ PQR พร้อมบอกด้านที่สมนัยกัน
1) จากตัวอย่างมีมุมใดบ้างที่เท่ากันตามที่โจทย์กาหนด (MNO = PQR และ
NMO = QPR)
^ ^ ^ ^
^ ^
^ ^
2) เมื่อมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันสองมุม มุมที่เหลือจะเท่ากัน
หรือไม่ เพราะเหตุใด (มุมที่เหลือย่อมเท่ากัน เพราะมุมภายในของ △ รวมกันได้ 180˚)
3) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้เป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายหรือไม่ เพราะเหตุใด (เป็นรูป
สามเหลี่ยมคล้าย เพราะมีมุมที่สมนัยกันทั้งสามมุม)
4) นักเรียนมีวิธีการหรือลาดับขั้นตอนการอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์จาก
ตัวอย่างข้างต้นอย่างไรบ้าง
(วิธีคิด เนื่องจาก
1) MNO = PQR (กาหนดให้)
2) NMO = QPR (กาหนดให้)
3) MNO + NOM + NMO = 180˚ (มุมภายใน △ รวมกันได้ 180˚)
4) PQR + QRP + QPR = 180˚ (มุมภายในรูป △ รวมกันได้ 180˚)
5) MNO + NOM + NMO = PQR + QRP + QPR (จากข้อ 3), 4)
โดยสมบัติการถ่ายทอด)
6) NOM = QRP (จากข้อ 1), 2) และ 5) โดยสมบัติการเท่ากัน)
7) ดังนั้น △ MNO ~ △ PQR (จากข้อ 1), 2), 6))
8) ด้าน MN สมนัยกับด้าน PQ (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน NOM = QRP)
9) ด้าน MO สมนัยกับด้าน PR (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน MNO = PQR)
10) ด้าน ON สมนัยกับด้าน RQ (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน NMO = QPR))
ตัวอย่างที่ 2 จากรูป กาหนดให้ XY // OP จงแสดงว่า XYZ กับ POZ เป็น
รูปสามเหลี่ยมคล้าย ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันจงบอกด้านที่สมนัยกัน
^ ^
^ ^
^ ^ ^
^ ^ ^
^ ^ ^ ^ ^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
^^
Y
Z P
O
X
วิธีคิด ขั้นที่ 1 ให้พิจารณาความสัมพันธ์ของรูปและ
สิ่งที่โจทย์กาหนดให้จะได้
1) XYZ = POZ (เป็นมุมแย้ง)
2) YXZ = OPZ (เป็นมุมแย้ง)
3) XZY = PZO (เป็นมุมตรงข้าม)
ขั้นที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งที่โจทย์กาหนดและเชื่อมโยงจาก
เนื้อหาเรื่องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันและมุมที่สมนัยกัน
จะได้ 4) ดังนั้น XYZ ~ POZ
(จาก ข้อ 1)-3) มีมุมที่สมนัยกันสามคู่)
ขั้นที่ 3 สรุปความสัมพันธ์สิ่งที่โจทย์ต้องการโดยใช้ความสัมพันธ์จากขั้นที่ 2
จะได้ XYZ คล้ายกับ POZ และมี XZ สมนัยกับ PZ, YZ สมนัย
กับ OZ, XY สมนัยกับ PO
สรุปเกี่ยวกับมุมที่สมนัยกันและด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย ดังนี้
1. มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูป เรียกว่า มุมที่สมนัยกัน รูปสามเหลี่ยมที่
คล้ายกันจะมีมุมที่สมนัยกันสามคู่ และการเขียนสัญลักษณ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้าย จะเรียงลาดับมุม
ที่สมนัยกัน หรือเท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกันเสมอ
2. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกัน ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับมุมที่เท่ากันเรียกว่า ด้านที่สมนัยกัน
ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กาหนดให้
ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ให้หามุมและด้านที่สมนัยกัน
วิธีทา ABC มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา
จะได้ ACB = 180˚ – 60˚ – 20˚
= 100˚
XYZ มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา
จะได้ XYZ = 180˚ – 100˚ – 60 ˚
^ ^
^ ^
^ ^
^
^
= 20˚
จะเห็นว่า ABC และ XYZ มีมุมเท่ากันสามคู่ คือ
CAB = ZXY มีขนาดของมุม 60˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
ABC = ZYZ มีขนาดของมุม 20˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
ACB = XZY มีขนาดของมุม 100˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
ดังนั้น ABC ~ XYZ มี BC สมนัยกับ YZ
AC สมนัยกับ XZ และ AB สมนัยกับ XY
ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กาหนดให้
ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ให้หามุมและด้านที่สมนัยกัน
วิธีทา POR มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา
จะได้ QPR = 180˚ – 110˚ – 28˚
= 42˚
XYZ มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา
จะได้ YZX = 180˚ – 42˚ – 28˚
= 110˚
จะเห็นว่า PQR และ XYZ มีมุมเท่ากันสามคู่คือ
QPR = YXZ มีขนาดของมุม 42˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
PQR = XYZ มีขนาดของมุม 28˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
QRP = YZX มีขนาดของมุม 110˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน
ดังนั้น PQR ~ XYZ
RQ สมนัยกับ ZY เพราะอยู่ตรงข้ามกับ QPR และ YXZ
PR สมนัยกับ XZ เพราะอยู่ตรงข้ามกับ PQR และ XYZ
PQ สมนัยกับ XY เพราะอยู่ตรงข้ามกับ QRP และ YZX
^ ^
^ ^
^ ^
^
^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
^ ^
^
ตัวอย่างที่ 3 จากรูปที่กาหนดให้ AB//CD จงพิจารณาว่า ABO กับ CDOคล้ายกันหรือไม่
ถ้าคล้ายกัน มีด้านใดที่สมนัยกัน
วิธีทา ใน ABO และ CDO
ABO = CDO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // CD
OAB = OCD เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // CD
BOA = DOC มุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน
ABO ~ CDO มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่
ดังนั้น BO สมนัยกับ DO
AO สมนัยกับ CO
AB สมนัยกับ CD
^ ^
^ ^
^ ^
เพราะเป็นด้านตรงข้ามกับมุมที่
เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย

More Related Content

What's hot

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติPao Pro
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 

What's hot (19)

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
111
111111
111
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 

Viewers also liked

กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3Kwanchai Buaksuntear
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นcrupor
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟcrupor
 
Quality for Project Managers
Quality for Project ManagersQuality for Project Managers
Quality for Project ManagersTeresa Carstens
 
Cyberbullying
CyberbullyingCyberbullying
CyberbullyingLIZ1206
 

Viewers also liked (20)

ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
Test ระบบสมการเชิงเส้น
Test ระบบสมการเชิงเส้น Test ระบบสมการเชิงเส้น
Test ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นบทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟบทที่ 2 กราฟ
บทที่ 2 กราฟ
 
Polymer profile modification
Polymer profile modificationPolymer profile modification
Polymer profile modification
 
5.pre nt
5.pre nt5.pre nt
5.pre nt
 
Quality for Project Managers
Quality for Project ManagersQuality for Project Managers
Quality for Project Managers
 
Cyberbullying
CyberbullyingCyberbullying
Cyberbullying
 
1.pre nt
1.pre nt1.pre nt
1.pre nt
 

Similar to แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)

สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7Laongphan Phan
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5T'Rak Daip
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75Nut Seraphim
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2Khunnawang Khunnawang
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9Khunnawang Khunnawang
 

Similar to แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม) (20)

สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
123456789
123456789123456789
123456789
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิศาสตร์ ม.2
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)

  • 1. รูปคล้าย คือ รูปที่มีลักษณะแบบเดียวกันแต่ไม่จาเป็นต้องมีขนาดของรูปเท่ากัน ให้นักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีลักษณะเหมือนกัน ต่างขนาดกัน แล้วตั้ง คาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้ พิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปต่อไปนี้ ให้นักเรียนลองพิจารณามุมของ ABC และ PQR ที่กาหนดให้ ABC PQR CAB = 30˚ RPQ = __________ ABC = 50˚ PQR = __________ ACB = __________ PRQ = 100˚ 1) ABC มุม CAB มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด (เท่ากับมุม △RPQ มีขนาด 30˚) 2) ABC มุม ABC มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด (เท่ากับมุม PQR มีขนาด 50˚) 3) ABC มุม ACB มีขนาดเท่ากับมุมใดของ PQR และมีขนาดเท่าใด (เท่ากับมุม PRQ มีขนาด 100˚) 4) นักเรียนรู้ได้อย่างไรว่า ACB = PRQ (มุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180˚) 5) ABCและ PQR มีการเท่ากันของมุมในรูปสามเหลี่ยมอย่างไร(มุมเท่ากันมุมต่อมุมทั้งสามมุม) 6) รูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดมุมเท่ากันทั้งสามคู่นี้ เรียกความสัมพันธ์นี้ว่าอย่างไร (รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน หรือรูปสามเหลี่ยมคล้าย) 7) รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันนักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนความสัมพันธ์นี้อย่างไร (“ ~ ” เช่น △ ABC ~ △ PQR) สรุปว่า ลักษณะของรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดของมุมเท่ากันทั้งสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมคล้าย เขียนสัญลักษณ์แทนความคล้ายได้ “~” เช่น ABC ~ PQR ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^
  • 2. ลักษณะของรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดของมุมเท่ากันทั้งสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมคล้าย เขียนสัญลักษณ์แทนความคล้าย “ ~ ” ให้นักเรียนดูรูปสามเหลี่ยมคล้าย 2 รูป แล้วพิจารณาความสัมพันธ์ของมุมของรูป สามเหลี่ยมคล้าย จากนั้นครูตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมคล้าย ดังนี้ พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายต่อไปนี้ กาหนดให้ ABC ~ DEF 1) จากรูป ABC มีมุมใดบ้างที่เท่ากับมุมใน DEF (มุมที่เท่ากันคือ CAB = FDE, ABC = DEF และ BCA = EFD) 2) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมมีลักษณะเป็นอย่างไร (มุมทั้งสามมุมเท่ากันเป็นคู่ ๆ) 3) เรียกมุมที่เท่ากันเป็นคู่ ๆ ของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันว่าอย่างไร (มุมที่สมนัยกัน) 4) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันมีมุมใดบ้างที่เป็นมุมที่สมนัยกัน (CAB สมนัยกับ FDE, ABC สมนัยกับ DEF และ BCA สมนัยกับ EFD) 5) รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มุมของรูปสามเหลี่ยมจะต้องสมนัยกันเสมอหรือไม่ (มุมของรูปสามเหลี่ยมจะสมนัยกันเสมอ) 6) ตาแหน่งในการเขียนสัญลักษณ์ความคล้ายของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน โดยมุมที่ สมนัยกันนั้นมีลักษณะอย่างไร (จะต้องเรียงลาดับมุมที่เท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกัน) 3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับมุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย โดยเชื่อมโยงจากกิจกรรมและการหาคาตอบจากคาถามข้างต้น ดังนี้ มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปเรียกว่า มุมที่สมนัยกัน รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะมีมุมที่สมนัยกันสามคู่ และการเขียนสัญลักษณ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้ายจะเรียงลาดับมุมที่สมนัย กันหรือเท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกันเสมอ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^^^^
  • 3. พิจารณารูปสามเหลี่ยมคล้ายต่อไปนี้ กาหนด ABC ~ DEF 1) นักเรียนคิดว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันนอกจากมีมุมที่สมนัยกันแล้ว ยังมีส่วนใดอีก สมนัยกัน (ด้านประกอบของรูปสามเหลี่ยมนั้น ๆ) 2) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน BC และ EF มีความสัมพันธ์กันอย่างไร (เป็นด้านที่อยู่ ตรงข้ามมุมที่เท่ากันหรือมุมที่สมนัยกัน) 3) ด้านของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันและเป็นด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากัน ด้านนั้น เป็นด้านที่สมนัยกันหรือไม่ (เป็นด้านที่สมนัยกัน) 4) จากรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันข้างต้นมีด้านใดบ้างที่สมนัยกัน (BC สมนัยกับ EF, AC สมนัยกับ DF และ AB สมนัยกับ DE) 5. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่ คล้ายกัน โดยเชื่อมโยงจากตัวอย่างและคาถามข้างต้น ดังนี้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกับมุมที่สมนัยกันเรียกว่า ด้านที่สมนัยกัน ตัวอย่างที่ 1 จากรูป กาหนดให้ MNO = PQR และ NMO = QPR จงแสดงว่า MNO คล้ายกับ PQR พร้อมบอกด้านที่สมนัยกัน 1) จากตัวอย่างมีมุมใดบ้างที่เท่ากันตามที่โจทย์กาหนด (MNO = PQR และ NMO = QPR) ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^
  • 4. 2) เมื่อมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันสองมุม มุมที่เหลือจะเท่ากัน หรือไม่ เพราะเหตุใด (มุมที่เหลือย่อมเท่ากัน เพราะมุมภายในของ △ รวมกันได้ 180˚) 3) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้เป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายหรือไม่ เพราะเหตุใด (เป็นรูป สามเหลี่ยมคล้าย เพราะมีมุมที่สมนัยกันทั้งสามมุม) 4) นักเรียนมีวิธีการหรือลาดับขั้นตอนการอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์จาก ตัวอย่างข้างต้นอย่างไรบ้าง (วิธีคิด เนื่องจาก 1) MNO = PQR (กาหนดให้) 2) NMO = QPR (กาหนดให้) 3) MNO + NOM + NMO = 180˚ (มุมภายใน △ รวมกันได้ 180˚) 4) PQR + QRP + QPR = 180˚ (มุมภายในรูป △ รวมกันได้ 180˚) 5) MNO + NOM + NMO = PQR + QRP + QPR (จากข้อ 3), 4) โดยสมบัติการถ่ายทอด) 6) NOM = QRP (จากข้อ 1), 2) และ 5) โดยสมบัติการเท่ากัน) 7) ดังนั้น △ MNO ~ △ PQR (จากข้อ 1), 2), 6)) 8) ด้าน MN สมนัยกับด้าน PQ (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน NOM = QRP) 9) ด้าน MO สมนัยกับด้าน PR (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน MNO = PQR) 10) ด้าน ON สมนัยกับด้าน RQ (ด้านตรงข้ามมุมที่เท่ากันของ รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน NMO = QPR)) ตัวอย่างที่ 2 จากรูป กาหนดให้ XY // OP จงแสดงว่า XYZ กับ POZ เป็น รูปสามเหลี่ยมคล้าย ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันจงบอกด้านที่สมนัยกัน ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^^ Y Z P O X
  • 5. วิธีคิด ขั้นที่ 1 ให้พิจารณาความสัมพันธ์ของรูปและ สิ่งที่โจทย์กาหนดให้จะได้ 1) XYZ = POZ (เป็นมุมแย้ง) 2) YXZ = OPZ (เป็นมุมแย้ง) 3) XZY = PZO (เป็นมุมตรงข้าม) ขั้นที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งที่โจทย์กาหนดและเชื่อมโยงจาก เนื้อหาเรื่องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันและมุมที่สมนัยกัน จะได้ 4) ดังนั้น XYZ ~ POZ (จาก ข้อ 1)-3) มีมุมที่สมนัยกันสามคู่) ขั้นที่ 3 สรุปความสัมพันธ์สิ่งที่โจทย์ต้องการโดยใช้ความสัมพันธ์จากขั้นที่ 2 จะได้ XYZ คล้ายกับ POZ และมี XZ สมนัยกับ PZ, YZ สมนัย กับ OZ, XY สมนัยกับ PO สรุปเกี่ยวกับมุมที่สมนัยกันและด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย ดังนี้ 1. มุมที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูป เรียกว่า มุมที่สมนัยกัน รูปสามเหลี่ยมที่ คล้ายกันจะมีมุมที่สมนัยกันสามคู่ และการเขียนสัญลักษณ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้าย จะเรียงลาดับมุม ที่สมนัยกัน หรือเท่ากันไว้ในตาแหน่งเดียวกันเสมอ 2. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกัน ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับมุมที่เท่ากันเรียกว่า ด้านที่สมนัยกัน ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กาหนดให้ ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ให้หามุมและด้านที่สมนัยกัน วิธีทา ABC มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา จะได้ ACB = 180˚ – 60˚ – 20˚ = 100˚ XYZ มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา จะได้ XYZ = 180˚ – 100˚ – 60 ˚ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^
  • 6. = 20˚ จะเห็นว่า ABC และ XYZ มีมุมเท่ากันสามคู่ คือ CAB = ZXY มีขนาดของมุม 60˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน ABC = ZYZ มีขนาดของมุม 20˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน ACB = XZY มีขนาดของมุม 100˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน ดังนั้น ABC ~ XYZ มี BC สมนัยกับ YZ AC สมนัยกับ XZ และ AB สมนัยกับ XY ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่กาหนดให้ ถ้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ให้หามุมและด้านที่สมนัยกัน วิธีทา POR มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา จะได้ QPR = 180˚ – 110˚ – 28˚ = 42˚ XYZ มีมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศา จะได้ YZX = 180˚ – 42˚ – 28˚ = 110˚ จะเห็นว่า PQR และ XYZ มีมุมเท่ากันสามคู่คือ QPR = YXZ มีขนาดของมุม 42˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน PQR = XYZ มีขนาดของมุม 28˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน QRP = YZX มีขนาดของมุม 110˚ เท่ากัน เป็นมุมที่สมนัยกัน ดังนั้น PQR ~ XYZ RQ สมนัยกับ ZY เพราะอยู่ตรงข้ามกับ QPR และ YXZ PR สมนัยกับ XZ เพราะอยู่ตรงข้ามกับ PQR และ XYZ PQ สมนัยกับ XY เพราะอยู่ตรงข้ามกับ QRP และ YZX ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^ ^
  • 7. ตัวอย่างที่ 3 จากรูปที่กาหนดให้ AB//CD จงพิจารณาว่า ABO กับ CDOคล้ายกันหรือไม่ ถ้าคล้ายกัน มีด้านใดที่สมนัยกัน วิธีทา ใน ABO และ CDO ABO = CDO เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // CD OAB = OCD เป็นมุมแย้งที่เท่ากันระหว่าง AB // CD BOA = DOC มุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน ABO ~ CDO มีมุมภายในที่มีขนาดเท่ากันสามคู่ ดังนั้น BO สมนัยกับ DO AO สมนัยกับ CO AB สมนัยกับ CD ^ ^ ^ ^ ^ ^ เพราะเป็นด้านตรงข้ามกับมุมที่ เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมคล้าย