SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 1
หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล
(Basic Concept and Fluid Property)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกกระทาด้วยแรงเค้นเฉือน
ของไหลสามารถคงรูปอยู่ได้ใน 2 สถานะ
o ของเหลว (Liquid) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะที่
บรรจุ แต่จะมีขอบเขตระหว่างตัวมันเองกับของไหลอื่นอย่างชัดเจน
เรียกว่า “ผิวอิสระ” (Free surface) นอกจากนี้ของเหลวยังมี
คุณสมบัติที่ยากต่อการบีบอัด เนื่องจากระยะห่างระหว่างโมเลกุล
ค่อนข้างน้อย (มากกว่าของแข็ง แต่น้อยกว่าก๊าซ)
o ก๊าซ (Gas) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะที่บรรจุ โดย
มีลักษณะแพร่กระจายไปทั่วภาชนะไม่มีผิวอิสระ และถูกบีบอัดได้ง่าย
กว่าของเหลว เนื่องจากมีระยะห่างระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลว
รูป ความแตกต่างระหว่าง
ของเหลวกับก็าซ
1. นิยามของของไหล
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
มิติ หมายถึง คุณสมบัติทางกายภาพของสสาร ซึ่งสามารถระบุได้ในเชิงปริมาณ เช่น ความยาว น้าหนัก มวล แรง
ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
2. มิติ (Dimensions)
o มิติปฐมภูมิหรือมิติพื้นฐาน (Primary Dimensions or Basic Dimensions)
มิติปฐมภูมิ หมายถึง มิติของตัวแปรพืนฐานที่ไม่สามารถแยกเป็นมิติอื่นได้อีกและไม่ขึนอยู่กับมิติอื่นๆ ซึ่งเป็นค่าที่
บอกถึงปริมาณที่ที่สสารแสดงออกมาโดยตรง ในวิชากลศาสตร์ของของไหลจะใช้มิติพืนฐาน 4 ตัว ดังนี
o มวล (Mass) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ M
o ความยาว (Length) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ L
o เวลา (Time) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ T
o อุณหภูมิ (Temperature) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ 𝜃
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
o มิติทุติยภูมิ (Secondary Dimensions)
มิติทุติยภูมิ เป็นมิติที่เกิดจากการรวมกันของมิติปฐมภูมิ ซึ่งตัวแปรจะแสดงค่ามิติที่ถูกกาหนดขึ้นจากนิยามหรือ
ทฤษฎีบท ดังนี้
• พื้นที่ คือ ความกว้าง (L) × ความยาว (L)
ดังนั้น พื้นที่ มีมิติเป็น L2
• ปริมาตรลูกบาศ์ก คือ ความกว้าง (L) × ความยาว (L) × ความสูง (L)
ดังนั้น ปริมาตรลูกบาศก์ มีมิติเป็น L3
• ความเร่ง คือ ระยะทางที่เปลี่ยนไป (L) ต่อสองหน่วยเวลา (T)
ดังนั้น ความเร็ว มีมิติเป็น L/T2 หรือ LT -2
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
หน่วย หมายถึง ลักษณะนามที่ใช้ระบุถึงปริมาณของมิติที่แสดงออกมา ซึ่งทั่วโลกได้มีการกาหนดระบบหน่วยใน
การวัดขึ้นมาหลายระบบ แต่ละระบบหน่วยสากลที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบันมี 2 ระบบ
o System International Unit หรือที่เรียกว่า “ระบบ SI” ตัวย่อ SI
o British Gravitational System หรือที่เรียกว่า “ระบบอังกฤษ” ตัวย่อ BG
ในวิชากลศาสตร์ของไหลนี้จะใช้ระบบ SI เป็นหลัก ซึ่งหน่วยของมิติปฐมภูมิและทุติยภูมิ
3. หน่วย (Unit)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Dimensions SI Unit BG Unit
Length (L) Meter (m) Foot (ft)
Mass (M) Kilogram (kg) Slug (slug)
Time (T) Second (s) Second (s)
Temperature
(𝜃)
Kevin (K) Rankine (R)
Force (F) Newton (N) Pound (Ib)
Parameters Dimensions SI Unit BG Unit
Area (A) L2 m2 ft2
Volume (∀) L3 m3 ft3
Velocity (v) L1 T -1 m/s ft/sec
Acceleration (a) L1 T-2 m/s2 ft/sec2
Density (𝜌) M1 L-3 kg/m3 slug/ft3
Specific weight (𝛾) M1 L-2 T-2 Kg/ (m2 s2), N/m3 slug/ (ft2 s2), Ib /ft3
Force (N) M1 L1 T-2 (kg m)/s2, N slug ft/sec2, Ib
Discharge (Q) L3 T-1 m3/s ft3/s
Frequency (f) T-1 cycle/s cycle/sec
Work, Energy (W, E) M1 L2 T-2 kg m2/s2, N m, j slug ft2/s2, Ib ft
Pressure M1 L-1 T-2 kg/ (m s2), N/m2, Pa slug /(ft s2), Ib/ft2, Ib/in2, Psi
Viscosity M1 L-1 T-1 kg/ (m s), N s/m2 slug/(ft s), Ib sec/ft2
Kinematic viscosity (𝑣) L2 T-1 m2/s ft2 / sec
Power (P) M1 L2 T-3 kg m2/s3,N m/s, watt slug ft2/s3, ft/sec
ตาราง หน่วยของมิติปฐมภูมิของระบบ SI และ BG ตาราง ตัวอย่างหน่วยของมิติทุติยภูมิของระบบ SI และ BG
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 1 จงหาหน่วยของแรงและแรงดัน
o จากกฎการเคลื่อนที่ของ Newton F = ma
แรงในที่นี้มีหน่วยเป็น N (Newton)
m (มวล) มีมิติเป็น M มีหน่วยเป็น kg
a (ความเร่ง) มีมิติเป็น LT-2 มีหน่วยเป็น m/s2
F (แรง) มีมิติเป็น MLT-2 มีหน่วยเป็น kg m/s2
หมายเหตุ 1N = 1 kg m/s2
o จากสมการแรงดัน P =
F
A
F (แรง) มีมิติเป็น MLT-2 มีหน่วยเป็น kg m/s2 หรือ N (Newton)
A (พื้นที่) มีมิติเป็น L2 มีหน่วยเป็น m2
P (แรงดัน) มีมิติเป็น ML-1T-2 มีหน่วยเป็น kg/ ms2 หรือ N/m2 หรือ Pa
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Prefixes คือ คานาหน้าที่นามาใส่ไว้ด้านหน้าของหน่วย
เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่สะดวกในการใช้งานตัวเลขที่มีขนาด
ใหญ่มากๆ หรือเล็กมากๆ เช่น
• 3.5 กิโลเมตร (km) มีค่าเท่ากับ 3.5×103 หรือ
3,500 เมตร (m)
• 10.5 มิลลิเมตร (mm) มีค่าเท่ากับ 10.5×10-3 หรือ
0.0105 เมตร (m)
ตาราง ชื่อ สัญลักษณ์และค่าของ Prefixes
Prefixes Symbol Factor Prefixes Symbol Factor
yotta Y 1024 deci D 10-1
zetta Z 1021 centi C 10-2
exa E 1018 milli M 10-3
peta P 1015 micro µ 10-6
tera T 1012 nano N 10-9
giga G 109 pico P 10-12
mega M 106 femto F 10-15
kilo K 103 atto A 10-18
hecto H 102 zepto Z 10-21
deca da 101 yocto Y 10-24
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4. คุณสมบัติของของไหล
การศึกษาวิชากลศาสตร์ของของไหล จะต้องทราบคุณสมบัติพื้นฐานบางประการของของไหล เพื่อนาไปใช้เป็นตัว
แปรต่างๆ ในการคานวณหรือวิเคราะห์ปัญหาทางด้านกลศาสตร์
ความหนาแน่น หมายถึง มวลของของไหล (Mass) ในหน่วย
ปริมาตร (Volume) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “ρ” (อ่านว่า rho)
4.1 ความหนาแน่น (Density or Mass Density)
ρ=
Mass
Volume
=
m
∀
หน่วย กก./ลบ.ม. (kg/m3)
ความหนาแน่นของของไหลจะไม่คงที่โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตาม
อุณหภูมิและความดัน เช่นอุณหภูมิ 4o C ความดัน 1 บรรยากาศน้าใน
สถานะของเหลวจะมีความหนาแน่นเท่า 1,000 กก./ลบ.ม. (𝜌𝑤) ซึ่งเป็น
สภาวะที่น้ามีความหนาแน่นมากที่สุดเมื่อเทียบกับที่อุณหภูมิและความดัน
อื่น ๆ
น้าหนักจาเพาะ หมายถึง น้าหนักเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ
ของไหล (Weight) ในหนึ่งหน่วยปริมาตร (Volume) สัญลักษณ์ที่
ใช้แทนคือ “𝛾” (อ่านว่า gamma)
4.2 น้้าหนักจ้าเพาะ (Specific Weight)
γ=
Weight
Volume
=
mg
∀
=ρg หน่วย นิวตัน/ลบ.ม. (Nm3)
เช่นเดียวกับความหนาแน่น น้าหนักจาเพาะของของไหลจะ
ไม่คงที่ โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความดัน เช่น ที่
อุณหภูมิ 4 OC ความดัน 1 บรรยากาศ น้าในสถานะของเหลวบน
โลกจะมีน้าหนักจาเพาะเท่ากับ 9,810 นิวตัน/ลบ.ม. (𝛾𝑤)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ความถ่วงจาเพาะ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงดึงดูดที่สนามแรง
โน้มถ่วง กระทากับของเหลวชนิดนั้น เทียบกับน้าอุณหภูมิ 4 oC ความดัน
1 บรรยากาศ ที่มีปริมาตรเท่ากัน สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “S” หรือ “SG”
4.3 ความถ่วงจ้าเพาะ (Specific Gravity)
SG=
w
ww
=
γ
γw
=
ρg
ρwg =
ρ
ρw
ไม่มีหน่วย
ดังนั้นค่าความถ่วงจาเพาะของน้าที่อุณหภูมิ 4o C ความดัน 1
บรรยากาศ จึงมีค่าเท่ากับ 1
ปริมาตรจาเพาะ หมายถึง ปริมาตรของไหล (Volume) ต่อ
หนึ่งหน่วยมวล (mass) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “υ”
4.4 ปริมาตรจ้าเพาะ (Specific Volume)
𝜐 =
𝑉𝑜𝑙𝑢𝑚𝑒
𝑀𝑎𝑠𝑠
=
∀
𝑀
=
1
𝜌
หน่วย ลบ.ม./กก. (m3/kg)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
เนื่องจากของไหล คือ สสารที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง (Deformation) หากพิจารณาของไหลเป็นก้อนอนุภาค
เมื่อถูกกระทาด้วยแรงเค้นเฉือน (shear stress) อนุภาคของไหลแต่ละชนิด จะมีความสามารถในการต้านทานเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการแลกเปลี่ยนโมเมนตัมระหว่างอนุภาคของไหลนั้น ความสามารถใน
การต้านทานการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอันเนื่องมาจากแรงเค้นเฉือนนี้เราเรียกว่า ความหนืด (Viscosity)
4.5 ความหนืด (viscosity)
ในการเคลื่อนที่ของของไหล แรงเค้นเฉือนจะเกิดขึ้นจากแรงเสียดทาน (Friction) ระหว่างอนุภาคของของไหลด้วยกันเอง
เมื่อพิจารณาก้อนอนุภาคของของไหล ดังรูป 2 จะเห็นได้ว่าแรงเค้นเฉือนที่เกิดขึ้น จะแปรผันกับ “แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค”
(Cohesion Force)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ส้าหรับของไหลที่มีพฤติกรรมเป็นไปตามสมการความหนืดของนิวตัน หรือของไหลที่มีความหนืดคงที่เมื่อไม่ว่า dv/dy
จะเปลี่ยนแปลงเท่าไรนัน เราจะเรียกของไหลชนิดนันว่า ของไหลนิวโทเนียน (Newtonian fluid)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ส่วนของไหลที่มีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามสมการความหนืดของนิวตันหรือของไหลที่มีความหนืดไม่คงที่เมื่อ dv/dy
เปลี่ยนแปลงไปนั้น จะเรียกของไหลชนิดนั้นว่า ของไหลนอนนิวโทเนียน (Non-Newtonian fluid) ซึ่งสามารถแบ่ง
ได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ o ของไหลประเภทไดลาแทน (Dilatant fluid) ความหนืดจะ
เพิ่มขึ้น เมื่อแรงเค้นเฉือนเพิ่มขึ้น
o ของไหลประเภทสูโดพลาสติก (Pseudoplastic fluid)
ความหนืดจะลดลง เมื่อแรงเค้นเฉือนเพิ่มขึ้น
o ของไหลประเภทพลาสติก (Plastic fluid) พฤติกรรมจะ
เหมือนของแข็งในระยะเริ่มต้น แต่เมื่อถูกแรงเค้นเฉือน
กระทาจนถึงจุดคราก (yield) คุณสมบัติจะเปลี่ยนแปลง
เป็นของไหลแบบ Newtonain
รูป ความสัมพันธ์ระหว่าง τ กับ (dv/dy) สาหรับของไหลประเภทต่างๆ
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 2 จากรูปแผ่น plate เคลื่อนที่อยู่ในรางที่บรรจุของไหลที่มี
ค่าความหนืด เท่ากับ µ จงหาขนาดของแรงฉุด (F) ที่ทาให้ plate
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับ v (สมมติให้การกระจายความเร็วเป็น
เส้นตรง)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 3 จากรูปเป็นลักษณะของการไหลในทางน้าเปิด มีการกระจาย
ตัวของความเร็วเป็นรูป parabola ความเร็วสูงสุดที่ผิวน้าได้ 6 m/s ความ
ลึกของน้าเท่ากับ 3 m จงหาความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบริเวณท้องน้า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 4 ระบบเพลามีขนาด และทิศทางการเคลื่อนที่ดังรูป ถ้ากระบอกเพลาเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตร/วินาที และ
เพลาเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที จงหาแรงที่กระทากับเพลา (สมมติให้การกระจายตัวของความเร็วมีลักษณะเป็น
เส้นตรง)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4.6 ความสามารถในการบีบอัดตัวของของไหล (Compressibility)
ในสภาพความเป็นจริงสสารทุกชนิดจะมีความยืดหยุ่น นั่นหมายความว่าสามารถขยายตัวหรือหดตัว
ภายใต้สภาวะที่แตกต่างกัน ซึ่งในของไหล เมื่อถูกบีบอัด (มีการเปลี่ยนแปลงความดัน) ปริมาตรของของไหลจะ
เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงปริมาตรนี้ถูก
เรียกว่า Compressibility ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของของไหลแต่ละชนิด โดยจะเปรียบได้กับค่าความยืดหยุ่น
ในของแข็ง (Modulus) แต่ในของเหลวนั้นค่าความยืดหยุ่น (ความสามารถในการบีบอัดตัว) จะอยู่ในรูปของค่า
“Bulk Modulus” (k) โดยหาได้จาก
𝑘 = −
𝑑𝑝
𝑑∀
∀
เมื่อ dp คือ การเปลี่ยนแปลงความดัน
𝑑∀ คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาตร
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ในวิชากลศาสตร์ของของไหล หากพิจารณาความสามารถ
ในการบีบอัดตัวของของไหล เราจะสามารถจาแนกของ
ไหลออกเป็น 2 ประเภทคือ
o ของไหลที่บีบอัดตัวไม่ได้หรือบีบอัดตัวได้น้อยมาก
(Incompressible fluid) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของ
ความดัน ความหนาแน่น ของของไหลประเภทนี้จะมีการ
เปลี่ยนแปลงน้อยมาก จนสามารถละทิ้งได้ ของไหล
ประเภทนี้ส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ ของเหลว
o ของไหลที่บีบอัดตัวได้ (Compressible fluid) คือ
ของไหลที่มีความหนาแน่นไม่คงที่เมื่อมีความดัน
เปลี่ยนแปลงไป ของไหลประเภทนี้ส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ
ก๊าซ
รูป ความแตกต่างระหว่าง Incompressible fluid
กับ Compressible fluid
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
แรงตึงผิว คือแรงที่เกิดจากการปรับสภาพสมดุลของแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคของเหลวที่อยู่บริเวณผิว หรือแรงที่เกิดขึนบริเวณขอบของผิวอิสระของเหลว
กับวัตถุที่อยู่ติดกัน ซึ่งจะเกิดกับของไหลที่อยู่ในสถานะของเหลวเท่านัน
4.7 แรงตึงผิว (Surface tension)
Fs= σLw
เมื่อ Fs คือ แรงตึงผิว (N)
σ คือ ความตึงผิวหรือหน่วยแรงตึงผิว (N/m)
Lw คือ ความยาวเส้นขอบผิวอิสระ (m)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
แรงยึดติด (A) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของไหลกับผนังภาชนะ
แรงเชื่อมแน่น (C) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของไหลด้วยกันเอง
พิจารณาอนุภาคที่ขอบของผิวอิสระหากแรงเชื่อมแน่นมีค่าน้อย แรงยึดติดมาก แรงรวมจึงมีทิศทางเฉเข้าหาภาชนะ
ดังรูป (ก) ส่งผลให้มุมสัมผัส (𝜃) จึงมีค่าน้อย เช่นเดียวกับหยดน้า แรงเชื่อมแน่นมีค่าน้อย ในขณะเดียวกันแรงยึดติดมี
ค่ามาก ฐานของหยดจึงมีลักษณะแผ่กระจายออกเมื่อสัมผัสกับพื้นผิววัตถุ
รูป ลักษณะการเกิดแรงบริเวณขอบของผิวอิสระ
รูป ลักษณะรูปร่างของหยดปรอทและน้าที่อยู่บนพืน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Capillarity เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ของไหลในบริเวณที่สัมผัสวัตถุจะยกตัวสูงขึน หรือลดต่้าลง ซึ่ง
เป็นผลมาจากอิทธิผลของแรงตึงผิว ปรากฏการณ์นีจะเกิดขึนบริเวณช่องว่างแคบ ๆ เช่น หลอดขนาดเล็กๆ หรือ
ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เป็นต้น
เมื่อ r คือ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอด
𝜃 คือ มุมสัมผัสระหว่างผนังกับผิวอิสระของของเหลว
กรณีของหลอดกลม h =
2σ cosθ
γr
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Temp
(oC)
Density , 𝛒
(kg/m3)
Specific
Weight, 𝛄
(N/m3)
Specific Gravity
4 oC reference
Dynamic
viscosity, 𝛍 (x10-
3N-s/m2)
Kinematic
Viscosity, 𝐯
(x10-6 m2/s)
Surface
Tension, 𝛔
(x10-2N/m2)
Vapor
Pressure,
Pv (m)
Bulk
Modulus, k
(x107N/m2)
0 999.9 9805 0.999 1.792 1.792 7.62 0.06 204
10 999.7 9803 0.999 1.308 1.308 7.48 0.12 211
20 998.2 9789 0.998 1.005 1.007 7.36 0.25 220
25 997.1 9779 0.997 0.894 0.894 7.26 0.33 222
30 995.7 9767 0.996 0.801 0.804 7.18 0.44 223
40 992.2 9737 0.993 0.656 0.661 7.01 0.76 227
50 988.1 9697 0.988 0.549 0.556 6.82 1.26 230
60 983.2 9658 0.985 0.469 0.477 6.68 2.03 228
70 977.8 9600 0.979 0.406 0.415 6.50 3.20 225
80 971.8 9557 0.974 0.357 0.367 6.30 4.86 221
90 965.3 9499 0.968 0.317 0.328 6.12 7.18 216
100 958.4 9438 0.962 0.284 0.296 5.94 10.33 207
ตาราง คุณสมบัติของน้าที่อุณหภูมิต่าง ๆ
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
thanakit553
 

What's hot (20)

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 

Similar to บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)

23125135 the-basics-of-nmr
23125135 the-basics-of-nmr23125135 the-basics-of-nmr
23125135 the-basics-of-nmr
dharma281276
 
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
Mark Baevsky
 

Similar to บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics) (16)

บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
Correlation Analysis of Tool Wear and Cutting Sound Signal
Correlation Analysis of Tool Wear and Cutting Sound SignalCorrelation Analysis of Tool Wear and Cutting Sound Signal
Correlation Analysis of Tool Wear and Cutting Sound Signal
 
Simulation Analysis of Single Column Plate Phononic Crystals At Low Frequency...
Simulation Analysis of Single Column Plate Phononic Crystals At Low Frequency...Simulation Analysis of Single Column Plate Phononic Crystals At Low Frequency...
Simulation Analysis of Single Column Plate Phononic Crystals At Low Frequency...
 
Electrical Capacitance Volume Tomography
Electrical Capacitance Volume Tomography Electrical Capacitance Volume Tomography
Electrical Capacitance Volume Tomography
 
Hydrology civil engineering Fluid Mechanics.pptx
Hydrology civil engineering Fluid Mechanics.pptxHydrology civil engineering Fluid Mechanics.pptx
Hydrology civil engineering Fluid Mechanics.pptx
 
G04614154
G04614154G04614154
G04614154
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
23125135 the-basics-of-nmr
23125135 the-basics-of-nmr23125135 the-basics-of-nmr
23125135 the-basics-of-nmr
 
Pushkar N Patil
Pushkar N PatilPushkar N Patil
Pushkar N Patil
 
Dynamics of Unsteady Supercavitation Impacted by Pressure Wave and Acoustic W...
Dynamics of Unsteady Supercavitation Impacted by Pressure Wave and Acoustic W...Dynamics of Unsteady Supercavitation Impacted by Pressure Wave and Acoustic W...
Dynamics of Unsteady Supercavitation Impacted by Pressure Wave and Acoustic W...
 
Aspects Regarding the Elastic Properties of Silicon and Its Influence on the ...
Aspects Regarding the Elastic Properties of Silicon and Its Influence on the ...Aspects Regarding the Elastic Properties of Silicon and Its Influence on the ...
Aspects Regarding the Elastic Properties of Silicon and Its Influence on the ...
 
Physics .. An introduction
Physics .. An introductionPhysics .. An introduction
Physics .. An introduction
 
Ping Du's Research Highlight
Ping Du's Research HighlightPing Du's Research Highlight
Ping Du's Research Highlight
 
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
Baevsky_Liberzon_ICME2015_v2
 
First and second order semi-Markov chains for wind speed modeling
First and second order semi-Markov chains for wind speed modelingFirst and second order semi-Markov chains for wind speed modeling
First and second order semi-Markov chains for wind speed modeling
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
中 央社
 
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes GuàrdiaPersonalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
EADTU
 
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
EADTU
 

Recently uploaded (20)

會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文會考英文
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
 
DEMONSTRATION LESSON IN ENGLISH 4 MATATAG CURRICULUM
DEMONSTRATION LESSON IN ENGLISH 4 MATATAG CURRICULUMDEMONSTRATION LESSON IN ENGLISH 4 MATATAG CURRICULUM
DEMONSTRATION LESSON IN ENGLISH 4 MATATAG CURRICULUM
 
Andreas Schleicher presents at the launch of What does child empowerment mean...
Andreas Schleicher presents at the launch of What does child empowerment mean...Andreas Schleicher presents at the launch of What does child empowerment mean...
Andreas Schleicher presents at the launch of What does child empowerment mean...
 
Mattingly "AI & Prompt Design: Named Entity Recognition"
Mattingly "AI & Prompt Design: Named Entity Recognition"Mattingly "AI & Prompt Design: Named Entity Recognition"
Mattingly "AI & Prompt Design: Named Entity Recognition"
 
diagnosting testing bsc 2nd sem.pptx....
diagnosting testing bsc 2nd sem.pptx....diagnosting testing bsc 2nd sem.pptx....
diagnosting testing bsc 2nd sem.pptx....
 
PSYPACT- Practicing Over State Lines May 2024.pptx
PSYPACT- Practicing Over State Lines May 2024.pptxPSYPACT- Practicing Over State Lines May 2024.pptx
PSYPACT- Practicing Over State Lines May 2024.pptx
 
ANTI PARKISON DRUGS.pptx
ANTI         PARKISON          DRUGS.pptxANTI         PARKISON          DRUGS.pptx
ANTI PARKISON DRUGS.pptx
 
ĐỀ THAM KHẢO KÌ THI TUYỂN SINH VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH FORM 50 CÂU TRẮC NGHI...
ĐỀ THAM KHẢO KÌ THI TUYỂN SINH VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH FORM 50 CÂU TRẮC NGHI...ĐỀ THAM KHẢO KÌ THI TUYỂN SINH VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH FORM 50 CÂU TRẮC NGHI...
ĐỀ THAM KHẢO KÌ THI TUYỂN SINH VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH FORM 50 CÂU TRẮC NGHI...
 
VAMOS CUIDAR DO NOSSO PLANETA! .
VAMOS CUIDAR DO NOSSO PLANETA!                    .VAMOS CUIDAR DO NOSSO PLANETA!                    .
VAMOS CUIDAR DO NOSSO PLANETA! .
 
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes GuàrdiaPersonalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
Personalisation of Education by AI and Big Data - Lourdes Guàrdia
 
UChicago CMSC 23320 - The Best Commit Messages of 2024
UChicago CMSC 23320 - The Best Commit Messages of 2024UChicago CMSC 23320 - The Best Commit Messages of 2024
UChicago CMSC 23320 - The Best Commit Messages of 2024
 
The Story of Village Palampur Class 9 Free Study Material PDF
The Story of Village Palampur Class 9 Free Study Material PDFThe Story of Village Palampur Class 9 Free Study Material PDF
The Story of Village Palampur Class 9 Free Study Material PDF
 
An overview of the various scriptures in Hinduism
An overview of the various scriptures in HinduismAn overview of the various scriptures in Hinduism
An overview of the various scriptures in Hinduism
 
Analyzing and resolving a communication crisis in Dhaka textiles LTD.pptx
Analyzing and resolving a communication crisis in Dhaka textiles LTD.pptxAnalyzing and resolving a communication crisis in Dhaka textiles LTD.pptx
Analyzing and resolving a communication crisis in Dhaka textiles LTD.pptx
 
MOOD STABLIZERS DRUGS.pptx
MOOD     STABLIZERS           DRUGS.pptxMOOD     STABLIZERS           DRUGS.pptx
MOOD STABLIZERS DRUGS.pptx
 
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
Transparency, Recognition and the role of eSealing - Ildiko Mazar and Koen No...
 
Book Review of Run For Your Life Powerpoint
Book Review of Run For Your Life PowerpointBook Review of Run For Your Life Powerpoint
Book Review of Run For Your Life Powerpoint
 
How to Send Pro Forma Invoice to Your Customers in Odoo 17
How to Send Pro Forma Invoice to Your Customers in Odoo 17How to Send Pro Forma Invoice to Your Customers in Odoo 17
How to Send Pro Forma Invoice to Your Customers in Odoo 17
 
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
 

บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล (Basic Concept and Fluid Property)
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกกระทาด้วยแรงเค้นเฉือน ของไหลสามารถคงรูปอยู่ได้ใน 2 สถานะ o ของเหลว (Liquid) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะที่ บรรจุ แต่จะมีขอบเขตระหว่างตัวมันเองกับของไหลอื่นอย่างชัดเจน เรียกว่า “ผิวอิสระ” (Free surface) นอกจากนี้ของเหลวยังมี คุณสมบัติที่ยากต่อการบีบอัด เนื่องจากระยะห่างระหว่างโมเลกุล ค่อนข้างน้อย (มากกว่าของแข็ง แต่น้อยกว่าก๊าซ) o ก๊าซ (Gas) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ตามภาชนะที่บรรจุ โดย มีลักษณะแพร่กระจายไปทั่วภาชนะไม่มีผิวอิสระ และถูกบีบอัดได้ง่าย กว่าของเหลว เนื่องจากมีระยะห่างระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลว รูป ความแตกต่างระหว่าง ของเหลวกับก็าซ 1. นิยามของของไหล
  • 4. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา มิติ หมายถึง คุณสมบัติทางกายภาพของสสาร ซึ่งสามารถระบุได้ในเชิงปริมาณ เช่น ความยาว น้าหนัก มวล แรง ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 2. มิติ (Dimensions) o มิติปฐมภูมิหรือมิติพื้นฐาน (Primary Dimensions or Basic Dimensions) มิติปฐมภูมิ หมายถึง มิติของตัวแปรพืนฐานที่ไม่สามารถแยกเป็นมิติอื่นได้อีกและไม่ขึนอยู่กับมิติอื่นๆ ซึ่งเป็นค่าที่ บอกถึงปริมาณที่ที่สสารแสดงออกมาโดยตรง ในวิชากลศาสตร์ของของไหลจะใช้มิติพืนฐาน 4 ตัว ดังนี o มวล (Mass) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ M o ความยาว (Length) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ L o เวลา (Time) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ T o อุณหภูมิ (Temperature) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ 𝜃
  • 5. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา o มิติทุติยภูมิ (Secondary Dimensions) มิติทุติยภูมิ เป็นมิติที่เกิดจากการรวมกันของมิติปฐมภูมิ ซึ่งตัวแปรจะแสดงค่ามิติที่ถูกกาหนดขึ้นจากนิยามหรือ ทฤษฎีบท ดังนี้ • พื้นที่ คือ ความกว้าง (L) × ความยาว (L) ดังนั้น พื้นที่ มีมิติเป็น L2 • ปริมาตรลูกบาศ์ก คือ ความกว้าง (L) × ความยาว (L) × ความสูง (L) ดังนั้น ปริมาตรลูกบาศก์ มีมิติเป็น L3 • ความเร่ง คือ ระยะทางที่เปลี่ยนไป (L) ต่อสองหน่วยเวลา (T) ดังนั้น ความเร็ว มีมิติเป็น L/T2 หรือ LT -2
  • 6. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา หน่วย หมายถึง ลักษณะนามที่ใช้ระบุถึงปริมาณของมิติที่แสดงออกมา ซึ่งทั่วโลกได้มีการกาหนดระบบหน่วยใน การวัดขึ้นมาหลายระบบ แต่ละระบบหน่วยสากลที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบันมี 2 ระบบ o System International Unit หรือที่เรียกว่า “ระบบ SI” ตัวย่อ SI o British Gravitational System หรือที่เรียกว่า “ระบบอังกฤษ” ตัวย่อ BG ในวิชากลศาสตร์ของไหลนี้จะใช้ระบบ SI เป็นหลัก ซึ่งหน่วยของมิติปฐมภูมิและทุติยภูมิ 3. หน่วย (Unit)
  • 7. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Dimensions SI Unit BG Unit Length (L) Meter (m) Foot (ft) Mass (M) Kilogram (kg) Slug (slug) Time (T) Second (s) Second (s) Temperature (𝜃) Kevin (K) Rankine (R) Force (F) Newton (N) Pound (Ib) Parameters Dimensions SI Unit BG Unit Area (A) L2 m2 ft2 Volume (∀) L3 m3 ft3 Velocity (v) L1 T -1 m/s ft/sec Acceleration (a) L1 T-2 m/s2 ft/sec2 Density (𝜌) M1 L-3 kg/m3 slug/ft3 Specific weight (𝛾) M1 L-2 T-2 Kg/ (m2 s2), N/m3 slug/ (ft2 s2), Ib /ft3 Force (N) M1 L1 T-2 (kg m)/s2, N slug ft/sec2, Ib Discharge (Q) L3 T-1 m3/s ft3/s Frequency (f) T-1 cycle/s cycle/sec Work, Energy (W, E) M1 L2 T-2 kg m2/s2, N m, j slug ft2/s2, Ib ft Pressure M1 L-1 T-2 kg/ (m s2), N/m2, Pa slug /(ft s2), Ib/ft2, Ib/in2, Psi Viscosity M1 L-1 T-1 kg/ (m s), N s/m2 slug/(ft s), Ib sec/ft2 Kinematic viscosity (𝑣) L2 T-1 m2/s ft2 / sec Power (P) M1 L2 T-3 kg m2/s3,N m/s, watt slug ft2/s3, ft/sec ตาราง หน่วยของมิติปฐมภูมิของระบบ SI และ BG ตาราง ตัวอย่างหน่วยของมิติทุติยภูมิของระบบ SI และ BG
  • 8. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 1 จงหาหน่วยของแรงและแรงดัน o จากกฎการเคลื่อนที่ของ Newton F = ma แรงในที่นี้มีหน่วยเป็น N (Newton) m (มวล) มีมิติเป็น M มีหน่วยเป็น kg a (ความเร่ง) มีมิติเป็น LT-2 มีหน่วยเป็น m/s2 F (แรง) มีมิติเป็น MLT-2 มีหน่วยเป็น kg m/s2 หมายเหตุ 1N = 1 kg m/s2 o จากสมการแรงดัน P = F A F (แรง) มีมิติเป็น MLT-2 มีหน่วยเป็น kg m/s2 หรือ N (Newton) A (พื้นที่) มีมิติเป็น L2 มีหน่วยเป็น m2 P (แรงดัน) มีมิติเป็น ML-1T-2 มีหน่วยเป็น kg/ ms2 หรือ N/m2 หรือ Pa
  • 9. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Prefixes คือ คานาหน้าที่นามาใส่ไว้ด้านหน้าของหน่วย เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่สะดวกในการใช้งานตัวเลขที่มีขนาด ใหญ่มากๆ หรือเล็กมากๆ เช่น • 3.5 กิโลเมตร (km) มีค่าเท่ากับ 3.5×103 หรือ 3,500 เมตร (m) • 10.5 มิลลิเมตร (mm) มีค่าเท่ากับ 10.5×10-3 หรือ 0.0105 เมตร (m) ตาราง ชื่อ สัญลักษณ์และค่าของ Prefixes Prefixes Symbol Factor Prefixes Symbol Factor yotta Y 1024 deci D 10-1 zetta Z 1021 centi C 10-2 exa E 1018 milli M 10-3 peta P 1015 micro µ 10-6 tera T 1012 nano N 10-9 giga G 109 pico P 10-12 mega M 106 femto F 10-15 kilo K 103 atto A 10-18 hecto H 102 zepto Z 10-21 deca da 101 yocto Y 10-24
  • 10. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4. คุณสมบัติของของไหล การศึกษาวิชากลศาสตร์ของของไหล จะต้องทราบคุณสมบัติพื้นฐานบางประการของของไหล เพื่อนาไปใช้เป็นตัว แปรต่างๆ ในการคานวณหรือวิเคราะห์ปัญหาทางด้านกลศาสตร์ ความหนาแน่น หมายถึง มวลของของไหล (Mass) ในหน่วย ปริมาตร (Volume) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “ρ” (อ่านว่า rho) 4.1 ความหนาแน่น (Density or Mass Density) ρ= Mass Volume = m ∀ หน่วย กก./ลบ.ม. (kg/m3) ความหนาแน่นของของไหลจะไม่คงที่โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อุณหภูมิและความดัน เช่นอุณหภูมิ 4o C ความดัน 1 บรรยากาศน้าใน สถานะของเหลวจะมีความหนาแน่นเท่า 1,000 กก./ลบ.ม. (𝜌𝑤) ซึ่งเป็น สภาวะที่น้ามีความหนาแน่นมากที่สุดเมื่อเทียบกับที่อุณหภูมิและความดัน อื่น ๆ น้าหนักจาเพาะ หมายถึง น้าหนักเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ ของไหล (Weight) ในหนึ่งหน่วยปริมาตร (Volume) สัญลักษณ์ที่ ใช้แทนคือ “𝛾” (อ่านว่า gamma) 4.2 น้้าหนักจ้าเพาะ (Specific Weight) γ= Weight Volume = mg ∀ =ρg หน่วย นิวตัน/ลบ.ม. (Nm3) เช่นเดียวกับความหนาแน่น น้าหนักจาเพาะของของไหลจะ ไม่คงที่ โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความดัน เช่น ที่ อุณหภูมิ 4 OC ความดัน 1 บรรยากาศ น้าในสถานะของเหลวบน โลกจะมีน้าหนักจาเพาะเท่ากับ 9,810 นิวตัน/ลบ.ม. (𝛾𝑤)
  • 11. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ความถ่วงจาเพาะ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงดึงดูดที่สนามแรง โน้มถ่วง กระทากับของเหลวชนิดนั้น เทียบกับน้าอุณหภูมิ 4 oC ความดัน 1 บรรยากาศ ที่มีปริมาตรเท่ากัน สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “S” หรือ “SG” 4.3 ความถ่วงจ้าเพาะ (Specific Gravity) SG= w ww = γ γw = ρg ρwg = ρ ρw ไม่มีหน่วย ดังนั้นค่าความถ่วงจาเพาะของน้าที่อุณหภูมิ 4o C ความดัน 1 บรรยากาศ จึงมีค่าเท่ากับ 1 ปริมาตรจาเพาะ หมายถึง ปริมาตรของไหล (Volume) ต่อ หนึ่งหน่วยมวล (mass) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคือ “υ” 4.4 ปริมาตรจ้าเพาะ (Specific Volume) 𝜐 = 𝑉𝑜𝑙𝑢𝑚𝑒 𝑀𝑎𝑠𝑠 = ∀ 𝑀 = 1 𝜌 หน่วย ลบ.ม./กก. (m3/kg)
  • 12. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) เนื่องจากของไหล คือ สสารที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง (Deformation) หากพิจารณาของไหลเป็นก้อนอนุภาค เมื่อถูกกระทาด้วยแรงเค้นเฉือน (shear stress) อนุภาคของไหลแต่ละชนิด จะมีความสามารถในการต้านทานเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการแลกเปลี่ยนโมเมนตัมระหว่างอนุภาคของไหลนั้น ความสามารถใน การต้านทานการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอันเนื่องมาจากแรงเค้นเฉือนนี้เราเรียกว่า ความหนืด (Viscosity) 4.5 ความหนืด (viscosity) ในการเคลื่อนที่ของของไหล แรงเค้นเฉือนจะเกิดขึ้นจากแรงเสียดทาน (Friction) ระหว่างอนุภาคของของไหลด้วยกันเอง เมื่อพิจารณาก้อนอนุภาคของของไหล ดังรูป 2 จะเห็นได้ว่าแรงเค้นเฉือนที่เกิดขึ้น จะแปรผันกับ “แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค” (Cohesion Force)
  • 13. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 14. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ส้าหรับของไหลที่มีพฤติกรรมเป็นไปตามสมการความหนืดของนิวตัน หรือของไหลที่มีความหนืดคงที่เมื่อไม่ว่า dv/dy จะเปลี่ยนแปลงเท่าไรนัน เราจะเรียกของไหลชนิดนันว่า ของไหลนิวโทเนียน (Newtonian fluid)
  • 15. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ส่วนของไหลที่มีพฤติกรรมไม่เป็นไปตามสมการความหนืดของนิวตันหรือของไหลที่มีความหนืดไม่คงที่เมื่อ dv/dy เปลี่ยนแปลงไปนั้น จะเรียกของไหลชนิดนั้นว่า ของไหลนอนนิวโทเนียน (Non-Newtonian fluid) ซึ่งสามารถแบ่ง ได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ o ของไหลประเภทไดลาแทน (Dilatant fluid) ความหนืดจะ เพิ่มขึ้น เมื่อแรงเค้นเฉือนเพิ่มขึ้น o ของไหลประเภทสูโดพลาสติก (Pseudoplastic fluid) ความหนืดจะลดลง เมื่อแรงเค้นเฉือนเพิ่มขึ้น o ของไหลประเภทพลาสติก (Plastic fluid) พฤติกรรมจะ เหมือนของแข็งในระยะเริ่มต้น แต่เมื่อถูกแรงเค้นเฉือน กระทาจนถึงจุดคราก (yield) คุณสมบัติจะเปลี่ยนแปลง เป็นของไหลแบบ Newtonain รูป ความสัมพันธ์ระหว่าง τ กับ (dv/dy) สาหรับของไหลประเภทต่างๆ
  • 16. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 2 จากรูปแผ่น plate เคลื่อนที่อยู่ในรางที่บรรจุของไหลที่มี ค่าความหนืด เท่ากับ µ จงหาขนาดของแรงฉุด (F) ที่ทาให้ plate เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับ v (สมมติให้การกระจายความเร็วเป็น เส้นตรง)
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 3 จากรูปเป็นลักษณะของการไหลในทางน้าเปิด มีการกระจาย ตัวของความเร็วเป็นรูป parabola ความเร็วสูงสุดที่ผิวน้าได้ 6 m/s ความ ลึกของน้าเท่ากับ 3 m จงหาความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบริเวณท้องน้า
  • 18. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 19. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 4 ระบบเพลามีขนาด และทิศทางการเคลื่อนที่ดังรูป ถ้ากระบอกเพลาเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตร/วินาที และ เพลาเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที จงหาแรงที่กระทากับเพลา (สมมติให้การกระจายตัวของความเร็วมีลักษณะเป็น เส้นตรง)
  • 20. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 21. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4.6 ความสามารถในการบีบอัดตัวของของไหล (Compressibility) ในสภาพความเป็นจริงสสารทุกชนิดจะมีความยืดหยุ่น นั่นหมายความว่าสามารถขยายตัวหรือหดตัว ภายใต้สภาวะที่แตกต่างกัน ซึ่งในของไหล เมื่อถูกบีบอัด (มีการเปลี่ยนแปลงความดัน) ปริมาตรของของไหลจะ เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงปริมาตรนี้ถูก เรียกว่า Compressibility ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของของไหลแต่ละชนิด โดยจะเปรียบได้กับค่าความยืดหยุ่น ในของแข็ง (Modulus) แต่ในของเหลวนั้นค่าความยืดหยุ่น (ความสามารถในการบีบอัดตัว) จะอยู่ในรูปของค่า “Bulk Modulus” (k) โดยหาได้จาก 𝑘 = − 𝑑𝑝 𝑑∀ ∀ เมื่อ dp คือ การเปลี่ยนแปลงความดัน 𝑑∀ คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาตร
  • 22. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ในวิชากลศาสตร์ของของไหล หากพิจารณาความสามารถ ในการบีบอัดตัวของของไหล เราจะสามารถจาแนกของ ไหลออกเป็น 2 ประเภทคือ o ของไหลที่บีบอัดตัวไม่ได้หรือบีบอัดตัวได้น้อยมาก (Incompressible fluid) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของ ความดัน ความหนาแน่น ของของไหลประเภทนี้จะมีการ เปลี่ยนแปลงน้อยมาก จนสามารถละทิ้งได้ ของไหล ประเภทนี้ส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ ของเหลว o ของไหลที่บีบอัดตัวได้ (Compressible fluid) คือ ของไหลที่มีความหนาแน่นไม่คงที่เมื่อมีความดัน เปลี่ยนแปลงไป ของไหลประเภทนี้ส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ ก๊าซ รูป ความแตกต่างระหว่าง Incompressible fluid กับ Compressible fluid
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา แรงตึงผิว คือแรงที่เกิดจากการปรับสภาพสมดุลของแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคของเหลวที่อยู่บริเวณผิว หรือแรงที่เกิดขึนบริเวณขอบของผิวอิสระของเหลว กับวัตถุที่อยู่ติดกัน ซึ่งจะเกิดกับของไหลที่อยู่ในสถานะของเหลวเท่านัน 4.7 แรงตึงผิว (Surface tension) Fs= σLw เมื่อ Fs คือ แรงตึงผิว (N) σ คือ ความตึงผิวหรือหน่วยแรงตึงผิว (N/m) Lw คือ ความยาวเส้นขอบผิวอิสระ (m)
  • 24. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา แรงยึดติด (A) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของไหลกับผนังภาชนะ แรงเชื่อมแน่น (C) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของไหลด้วยกันเอง พิจารณาอนุภาคที่ขอบของผิวอิสระหากแรงเชื่อมแน่นมีค่าน้อย แรงยึดติดมาก แรงรวมจึงมีทิศทางเฉเข้าหาภาชนะ ดังรูป (ก) ส่งผลให้มุมสัมผัส (𝜃) จึงมีค่าน้อย เช่นเดียวกับหยดน้า แรงเชื่อมแน่นมีค่าน้อย ในขณะเดียวกันแรงยึดติดมี ค่ามาก ฐานของหยดจึงมีลักษณะแผ่กระจายออกเมื่อสัมผัสกับพื้นผิววัตถุ รูป ลักษณะการเกิดแรงบริเวณขอบของผิวอิสระ รูป ลักษณะรูปร่างของหยดปรอทและน้าที่อยู่บนพืน
  • 25. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Capillarity เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ของไหลในบริเวณที่สัมผัสวัตถุจะยกตัวสูงขึน หรือลดต่้าลง ซึ่ง เป็นผลมาจากอิทธิผลของแรงตึงผิว ปรากฏการณ์นีจะเกิดขึนบริเวณช่องว่างแคบ ๆ เช่น หลอดขนาดเล็กๆ หรือ ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เป็นต้น เมื่อ r คือ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอด 𝜃 คือ มุมสัมผัสระหว่างผนังกับผิวอิสระของของเหลว กรณีของหลอดกลม h = 2σ cosθ γr
  • 26. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Temp (oC) Density , 𝛒 (kg/m3) Specific Weight, 𝛄 (N/m3) Specific Gravity 4 oC reference Dynamic viscosity, 𝛍 (x10- 3N-s/m2) Kinematic Viscosity, 𝐯 (x10-6 m2/s) Surface Tension, 𝛔 (x10-2N/m2) Vapor Pressure, Pv (m) Bulk Modulus, k (x107N/m2) 0 999.9 9805 0.999 1.792 1.792 7.62 0.06 204 10 999.7 9803 0.999 1.308 1.308 7.48 0.12 211 20 998.2 9789 0.998 1.005 1.007 7.36 0.25 220 25 997.1 9779 0.997 0.894 0.894 7.26 0.33 222 30 995.7 9767 0.996 0.801 0.804 7.18 0.44 223 40 992.2 9737 0.993 0.656 0.661 7.01 0.76 227 50 988.1 9697 0.988 0.549 0.556 6.82 1.26 230 60 983.2 9658 0.985 0.469 0.477 6.68 2.03 228 70 977.8 9600 0.979 0.406 0.415 6.50 3.20 225 80 971.8 9557 0.974 0.357 0.367 6.30 4.86 221 90 965.3 9499 0.968 0.317 0.328 6.12 7.18 216 100 958.4 9438 0.962 0.284 0.296 5.94 10.33 207 ตาราง คุณสมบัติของน้าที่อุณหภูมิต่าง ๆ
  • 27. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube