SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
วันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 12.00 – 15.00 น.
คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 15 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน
2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต
3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ
5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน
สมุด
6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ
6.1เครื่องคิดเลข
6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน
7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม
ขั้นตอนที่คิดได้
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ
ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต.............................
คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800
ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................
*ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา*
**ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา**
***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
1
1. จงอธิบายหลักการและวาดรูปประกอบของปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่ใช้
เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน (Artesian Well) โดยเปรียบเทียบกับบ่อบาดาลแบบไร้แรงดัน ที่
ต้องใช้เครื่องสูบน้าช่วยสูบน้าขึนมา
2. จงอธิบายกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Wall) อย่างละเอียด โดยเลือกมาเฉพาะ
วิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ
3. โครงการก่อสร้างประปาหมู่บ้านของอ้าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ได้น้าน้าบาดาลมาผลิตน้าประปา เมื่อท้าการ
ขุดเจาะบ่อบาดาลแล้วพบว่าเป็นบ่อบาดาลแบบมีแรงดันมีความหนาของชันดินเหนือชันหินปิดกัน ชันหินปิด
กัน และชันหินอุ้มน้า 100, 10 และ 30 เมตร ตามล้าดับ โดยบ่อบาดาลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15
เซนติเมตร ภายหลังการทดสอบการสูบน้าตลอด 7 วัน ด้วยอัตราการสูบออก 30 ลิตรต่อวินาที พบว่าระดับน้า
ลดลงไปจนคงที่ที่ระดับ 75 เมตรและระดับน้าเดิมอยู่ที่ 90 เมตร ก้าหนดให้รัศมีกรวยยุบมีค่าเท่ากับ 90 เมตร
จงหาค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of Transmissibility)
4. จงอธิบายหลักการในการเกิดน้าซับ (Spring) โดยเลือกมาหนึ่งลักษณะของการเกิดน้าซับที่เหมาะสมต่อการ
ผลิตน้าประปา พร้อมวาดรูปประกอบ
5. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยผล
การตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 5 ปลาตินัม
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ
ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
เหล็ก (Fe) 0.6
มังกานีส (Mn) 0.3
ทองแดง (Cu) 1.0
สังกะสี (Zn) 6.0
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
2
คัลเซียม (Ca) 70
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ)
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
มักเนเซียม (Mg) 45 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ฟลูออไรด์ (F) 1.0
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.01
ตะกั่ว (Pb) 0.06
อาร์เซนิก (As) 0.07
แคดเมียม (Cd) 0.1
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.5 MPM
อี. โคไล (E.coli) มี
5.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum
Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
5.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum
Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย
5.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
5.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค
หรือไม่ เพราะเหตุใด
6. การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 และมีปริมาณของแคลเซียม
คาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีความเป็นกรด-ด่าง (Acidity-Alkalinity) และ
ความกระด้าง (Hardness) หรือไม่ พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของแต่ละคุณสมบัติ
7. การปล่อยสารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรมในเขต
จังหวัดปทุมธานีสู่คลองรังสิต ได้ตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และมากกว่าไนเตรท
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
3
ตามล้าดับ จงอธิบายปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณกี่วัน พร้อมวาดรูปประกอบ และ
บอกผลกระทบของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
8. ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มีกรรมวิธีการ
ผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูปประกอบ
9. การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก จ้าเป็นต้องเติมคลอรีนก่อนเข้าสู่ระบบ
แจกจ่าย จงอธิบายปฏิกริยาของคลอรีนในน้าในแต่ละช่วงอย่างละเอียด พร้อมวาดรูปประกอบและเขียน
ปฏิกริยาเคมีดังกล่าว ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตรายต่อบริโภคจะต้องท้าอย่างไร
พร้อมเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว
10. การก้าจัดปริมาณของก๊าซไนโตรเจนออกจากน้าดิบที่มาจากบ่อบาดาล สามารถก้าจัดโดยวิธีการฉีดพ่นน้าไปใน
อากาศ น้าดิบจะแตกตัวเป็นหยดน้าขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร ความเข้นข้นของก๊าซ
ไนโตรเจนในน้าดิบ 30 มก./ล. ภายหลังจากการสัมผัสอากาศเป็นเวลา 1 วินาที ปรากฏว่าความเข้มข้นลดลงไป
ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยค่าสัมประสิทธิการถ่ายเทก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ 290 ซม./ชม. จงหาค่าความ
เข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน
11. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยมประยุกต์ใช้ในการ
เติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตังถาดเติมอากาศชันบนสุด
ห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 3 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบนและล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหา
ระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสม
หรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ
12. จงอธิบายโครงสร้างของระบบทรายกรองช้าอย่างละเอียดในแต่ละขันตอน พร้อมวาดรูปประกอบ และอธิบาย
การท้างานของชันทรายกรองและปรากฏการณ์การเกิดชมุทเดกเก พร้อมวาดรูปประกอบ
13. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการน้าไป
ทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามาทดสอบจ้านวน
ทังหมด 5.00 กิโลกรัม
ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักสะสมที่ผ่านพ้นได้ (กิโลกรัม)
0.3 0.05
0.4 0.30
0.5 0.50
0.7 2.00
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
4
0.75 4.50
1.0 4.90
13.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง
13.2 ทรายกรองที่น้ามาใช้มีความเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด
14. จงอธิบายลักษณะการท้างานของถังตกตะกอน (Sedimentation) ในแต่ละขันตอน ในระบบประปาทราย
กรองเร็ว พร้อมวาดรูประกอบ และจงอธิบายการใช้งานของถังตกตะกอนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พร้อมวาดรูป
ประกอบ
15. การออกแบบระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Buffle Flocculator) ในระบบประปาทรายกรองเร็ว โดยมี
การออกแบบถังตกตะกอนแบบแผ่นกัน ชนิดแนวนอน ก้าหนดให้มีก้าลังการผลิตน้าในแต่ละวันเท่ากับ 15,000
ลูกบาศ์กเมตร ระยะเวลาการท้าตะกอนอย่างน้อย 25 นาที ความเร็วของการไหล 30 ซม./วินาที และ
ก้าหนดให้ระยะห่างระหว่างแผ่นกัน 0.50 เมตร แผ่นกันมีขนาดความหนาแผ่นละ 10 เซนติเมตร และมีความ
กว้าง 2.50 เมตร จงหาค่าความกว้างและยาวของถังตกตะกอน พร้อมวาดรูปประกอบ
เฉลยข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
_________________________________________________________________
สามารถสแกน QR Code เพื่อดูคลิปวิดีโอใน Youtube
SCAN ME
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
วันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 12.00 – 15.00 น.
คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 15 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน
2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต
3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ
5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน
สมุด
6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ
6.1เครื่องคิดเลข
6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน
7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม
ขั้นตอนที่คิดได้
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ
ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต.............................
คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800
ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................
*ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา*
**ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา**
***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
1
1. จงอธิบายหลักการและวาดรูปประกอบของปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่
ใช้เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน (Artesian Well) โดยเปรียบเทียบกับบ่อบาดาลแบบ
ไร้แรงดัน ที่ต้องใช้เครื่องสูบน้าช่วยสูบน้าขึนมา
ตอบ ปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่ใช้เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน
(Artesian Well) มีต้าแหน่งพืนดินที่เจาะบ่อบาดาลอยู่ต่้ากว่าระดับน้า ดังนันน้าจึงจะพุ่งสูงเหนือระดับดิน บริเวณ
ที่ชันน้าโผล่ขึนสู่ผิวดิน มีลักษณะการวางตัวของชันน้าประเภทนีมักเป็นลักษณะลาดเอียง ซึ่งจะพบมากในภูมิ
ประเทศแถบที่เป็นเชิงเขา หรือบริเวณชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Artesian Aquifer) ชันน้าบาดาลชนิดนีจะถูกขนาบอยู่
ระหว่างชันหินปิดกักทังด้านบนและด้านล่าง ดังนัน การไหลของน้าจะคล้ายกับน้าที่อยู่ในท่อ กล่าวคือ ความดันของ
น้าในจุดใดก็ตามจะมีค่าเท่ากับความสูง ณ จุดสูงสุดที่น้าขังอยู่
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
2
2. จงอธิบายกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Wall) อย่างละเอียด โดยเลือก
มาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ การเจาะบ่อบาดาลแบบหมุน (Rotary) เป็นวิธีการเจาะบ่อบาดาลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะสามารถขุดและ
หมุนหัวเจาะพร้อมๆ กับมีแรงกดให้หัวเจาะกัดหินเป็นรูกลม สามารถเจาะได้เร็วกว่าแบบอื่นๆ โดยมีกระบวนการ
การขุดเจาะดังนี
1. การขุดน้าเป็นการขุด โดยใช้หัวเจาะแบบหมุนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชัน
หินดินดานหรือหินแข็ง จะต้องผ่านพ้นช่วงชันดินอ่อน ท้าการเก็บตัวอย่างดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตร
ความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล
2. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันหิน
แข็ง เพื่อป้องกันการถล่มตัวหรือการเคลื่อนตัวของหัวเจาะ
3. น้าหัวเจาะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 5 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชันน้าบาดาล ท้าการเก็บตัวอย่าง
ดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตรความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล
4. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันน้า
บาดาล โดยปลายของท่อจะกรุด้วยท่อกรองที่ท้าจากท่อ PVC หรือท่อโลหะ แซะร่อง
5. น้าปั้มบาดาลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4 นิว ติดตังตรงระดับน้าใต้ดิน และทดสอบการให้น้าของ
ชันน้าบาล โดยการสูบน้าตลอด 24 ชั่วโมงและหาระดับน้าที่ลดลงไป
6. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อบาดาล เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะ และน้าสกปรกไหลลง
สู่บ่อ
*ขนาดรูเจาะขึนอยู่กับลักษณะพืนที่และการให้น้าของชันบาดาล สามารถเปลี่ยนแปลงได้ครับ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
3
3. โครงการก่อสร้างประปาหมู่บ้านของอ้าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ได้น้าน้าบาดาลมาผลิตน้าประปา เมื่อ
ท้าการขุดเจาะบ่อบาดาลแล้วพบว่าเป็นบ่อบาดาลแบบมีแรงดันมีความหนาของชันดินเหนือชันหินปิด
กัน ชันหินปิดกัน และชันหินอุ้มน้า 100, 10 และ 30 เมตร ตามล้าดับ โดยบ่อบาดาลมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ภายหลังการทดสอบการสูบน้าตลอด 7 วัน ด้วยอัตราการสูบออก 30 ลิตร
ต่อวินาที พบว่าระดับน้าลดลงไปจนคงที่ที่ระดับ 75 เมตรและระดับน้าเดิมอยู่ที่ 90 เมตร ก้าหนดให้
รัศมีกรวยยุบมีค่าเท่ากับ 90 เมตร จงหาค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of
Transmissibility)
ตอบ ก้าหนดให้ d1 = 75 เมตร d2 = 90 เมตร
r1 = 7.5 เชนติเมตร = 0.075 เมตร r2 = 90 เมตร
Y = 30 เมตร
หา ค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of Transmissibility)
จากสูตร Q =
อัตราสูบออก 30 ลิตรต่อวินาที = = 2,592 เมตร3 ต่อวัน
2,592 = Q =
K = 6.52 เมตรต่อวัน
จาก T = KY
T = 6.52 x 30 เมตร2 ต่อวัน
= 195.6 เมตร2 ต่อวัน
log (r2/r1)
30 x 60 x 60 x 24
1,000
2.72 K 30 (90 – 75)
log (90/0.075)
2.72 KY (d2 – d1)
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
4
4. จงอธิบายหลักการในการเกิดน้าซับ (Spring) โดยเลือกมาหนึ่งลักษณะของการเกิดน้าซับที่เหมาะสม
ต่อการผลิตน้าประปา พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ น้าซับแบบไหลย้อน (anticlinal spring) เกิดจากชันน้าพุบาดาลซึ่งโผล่ขึนมาบนพืนดินที่มีระดับต่้ากว่า ท้าให้
แทนที่จะเป็นบริเวณรับน้า (recharge area) ก็กลับเป็นที่ไหลชึมออก ซึ่งถ้าหากชันน้าพุบาดาลนีมีขนาดใหญ่ก็จะ
ท้าให้น้าซับมีปริมาณการไหลมากและอัตราไหลคงที่ เหมาะส้าหรับการท้าประปาชุมชน
5. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 5 ปลาตินัม
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ
ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
เหล็ก (Fe) 0.6
มังกานีส (Mn) 0.3
ทองแดง (Cu) 1.0
สังกะสี (Zn) 6.0
คัลเซียม (Ca) 70
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
5
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ)
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
มักเนเซียม (Mg) 45 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ฟลูออไรด์ (F) 1.0
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.01
ตะกั่ว (Pb) 0.06
อาร์เซนิก (As) 0.07
แคดเมียม (Cd) 0.1
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.5 MPM
อี. โคไล (E.coli) มี
5.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 5 ปลาตินัม ผ่าน
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ผ่าน
ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา ไม่ผ่าน
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5 ไม่ผ่าน
ความขุ่น (Turbidity) และความเป็นกรด-ด่าง (pH range) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum
Acceptable Concentration) เนื่องจากมีดิน หิน โคลน ออกไซด์ของโลหะที่อยู่ในดิน เยื่อไม้ แพลงตอนและ
จุลินทรีย์ น้าทิงจากอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมจะมีสารที่ท้าให้เกิดความขุ่นได้มากมายหลายชนิด
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
6
คอลลอยด์ที่คงตัว (stable) มักเกิดจาก สบู่ ผงซักฟอก และ emulsifying agents ก็เป็นตัวท้าให้เกิดความขุ่นด้วย
ส่วนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH range) ปริมาณของกรดที่มีอยู่ในน้าธรรมชาติ เช่น กรดคาร์บอนิค กรดอินทรีย์ที่
เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ กรดแทนนิค กรดแร่ และเกลือของเหล็กกับอลูมิเนียม เป็นส่วนประกอบ
5.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางเคมี
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ผ่าน
เหล็ก (Fe) 0.6 ผ่าน
มังกานีส (Mn) 0.3 ผ่าน
ทองแดง (Cu) 1.0 ไม่ผ่าน
สังกะสี (Zn) 6.0 ไม่ผ่าน
คัลเซียม (Ca) 70 ผ่าน
มักเนเซียม (Mg) 45 ผ่าน
ฟลูออไรด์ (F) 1.0 ไม่ผ่าน
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.01 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ไม่ผ่าน
ตะกั่ว (Pb) 0.06 ไม่ผ่าน
อาร์เซนิก (As) 0.07 ไม่ผ่าน
แคดเมียม (Cd) 0.1 ไม่ผ่าน
ทองแดง (Cu) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก
ทองแดงไม่ค่อยพบในน้าธรรมชาติ แต่อาจเกิดมีขึนได้จากการใช้ท่อทองแดงหรือจากการใช้จุนสี (CuSO4.7H2O)
ก้าจัดสาหร่ายและตะไคร่น้า ทองแดงมีพิษอย่างแรงต่อปลา แต่การทดสอบจากการใช้ท่อน้าทองแดงพบว่ามีผล
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
7
น้อยมากต่อคน น้าซึ่งมีทองแดง 1 มก./ล. อาจท้าให้เกิดคราบสีเขียวเกาะตามข้อต่อท่อ ทองแดงในปริมาณ 0.1
มก./ล. พอเพียงที่จะท้าให้อัตราการกัดกร่อนของท่อเหล็กอาบสังกะสีเพิ่มขึนอย่างมาก ความเข้มข้น 1-5 มก./ล. มี
ผลด้านรสและความกัดกร่อน แต่ไม่เป็นอันตรายแก่มนุษย์ เพราะทองแดงเป็นสารจ้าเป็นต่อเมแทบอลิซึมของ
ร่างกาย
สังกะสี (Zn) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสังกะสี
ไม่ค่อยปรากฏให้เห็นในน้าธรรมชาติ แต่อาจมีในน้าที่ออกจากก๊อกประปาแบบท่อเหล็กอาบสังกะสีหรือน้าฝนที่
ไหลผ่านหลังคาสังกะสี ถ้าใช้ภาชนะสังกะสีมาปรุงอาหาร อาจท้าให้มีสังกะสีเจือปนเข้าไปในอาหาร น้าที่สัมผัสกับ
ท่อเหล็กอาบสังกะสี อาจมีการตกตะกอนของ Zinc carbonate และสารละลายสังกะสีในน้าชนิดนีอาจสูงถึง 3
มก./ล. ตัวอย่างของน้าชนิดนีใช้หาปริมาณแบคทีเรียไม่ได้ เพราะสังกะสีเป็นสารพิษส้าหรับจุลินทรีย์ แต่มีอันตราย
น้อยส้าหรับคน สังกะสีเป็นธาตุที่ร่างกายต้องการส้าหรับเมแทบอลิซึมภายในเซล จึงควรได้รับเป็นประจ้าทุกวันใน
อัตรา 10-15 มก. แต่ถ้าได้รับสังกะสีในความเข้มข้น 675-2,280 มก./ล. จะท้าให้เกิดอาการคลื่นเหียนอาเจียน
เกลือของสังกะสีที่ 30 มก./ล. จะท้าให้น้ามีลักษณะคล้ายน้านมและจะมีรสของโลหะที่ 40 มก./ล. จึงก้าหนด
มาตรฐานของน้าดื่มไว้ไม่เกิน 5 มก./ล.
ฟลูออไรด์ (F) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก
ฟลูออไรด์ในธรรมชาติจะพบในชันหินบางชนิด ปริมาณของฟลูออไรด์ในน้าผิวดินมีค่าต่้ากว่าความต้องการของ
ร่างกาย แต่น้าบาดาลบางแห่งจะมีฟลูออไรด์ในปริมาณสูง ถ้าเป็นชันของหินชนวนหรือหินปูน ฟลูออไรด์จะท้า
ปฏิกิริยาทางเคมีกับเคลือบฟัน (tooth enamel) ท้าให้เคลือบฟันแข็งขึน ช่วยลดการผุของฟัน ในทางกลับกันหาก
ดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์ในช่วง 3-8 มก./ล. จะท้าให้ฟันเป็นจุด (mottling) หรือฟันมีสีซีดลง (discoloration) หรือโรค
ฟันอื่นๆ (dental fluorosis) และถ้าดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์ 8-20 มก./ล. เป็นประจ้า จะท้าให้เกิดความผิดปกติใน
กระดูก (bone fluorosis) การดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์สูงกว่า 20 มก./ล. ติดต่อกัน 20 ปีจะท้าให้พิการหรือเป็นง่อย
(crippling fluorosis) ส้าหรับคนที่ได้รับฟลูออไรด์ในปริมาณ 2,250-4,500 มก. เพียงครังเดียว ซึ่งเท่ากับการกิน
โซเดียมฟลูออไรด์ 5-10 ก. นันจะท้าให้ถึงแก่ความตายได้
ปรอท (Hg) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากปรอทจาก
ธรรมชาติเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ส่วนใหญ่อยู่ในรูป HgS(s) ในแร่ซินนาบาร์ (cinnabar) มีสีแดงและไม่ละลาย
น้า มักจะฝังตัวอยู่ในที่ที่ห่างไกลจากผู้คน การเผาถ่านหินก็เป็นการกระจายปรอทเข้าสู่สิ่งแวดล้อมทางหนึ่ง เพราะ
ถ่านหินทั่วไปจะมีปรอทอยู่ประมาณ 1 ppm อุตสาหกรรมก็ถือเป็นแหล่งปลดปล่อยปรอทขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ
โรงงานผลิตโซดาไฟและคลอรีน การผลิตสี การถลุงแร่ การผลิตพลาสติกพีวีซี และกิจกรรมทางด้านการเกษตรซึ่งใช้
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
8
สารประกอบปรอทเป็นยาปราบศัตรูพืชและฆ่าเชือรา สารประกอบอินทรีย์ของปรอทไม่มีในธรรมชาติ แต่เกิดขึน
จากการเปลี่ยนรูปในอุตสาหกรรมต่างๆ หรือโดยกระบวนการทางชีวภาพที่มีจุลินทรีย์ (methanogenic bacteria)
ที่อยู่ใต้น้าเป็นตัวการส้าคัญ ส้าหรับความเป็นพิษ ไอของปรอทจัดว่ามีพิษร้ายแรงที่สุด แต่เนื่องจากปรอทมีความดัน
ไอต่้ามาก ดังนันโอกาสจะได้รับไอปรอทเข้าสู่ร่างกายจึงน้อย ส่วนมากปรอทจะเข้าสู่ร่างกายได้โดยทางน้าและ
อาหาร แหล่งน้าธรรมชาติทั่วไปจะมีปรอทน้อยกว่า 1 ไมโครกรัม/ล. ในขณะที่อาหารบางชนิดจะมีปรอทเจือปนอยู่
ในช่วง 10-70 ไมโครกรัม/ มก. อัตราการรับปรอทเข้าสู่ร่างกายคือไม่เกิน 0.3 มก./วัน ส้าหรับคนที่มีน้าหนัก 70
กก. Hg2CI2 และ HgCI2 เป็นสารประกอบอนินทรีย์ของปรอทที่ละลายน้าได้ เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปกัดทางเดิน
อาหารและไตได้ อย่างไรก็ตาม ความเป็นพิษยังไม่ร้ายแรงนักเมื่อเทียบกับสารประกอบอินทรีย์ของปรอท เช่น
dimethylmercury และ methylethylmercury ซึ่งละลายได้ดีมากในไขมัน ดังนัน เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปสะสม
ตามเนือเยื่อที่มีไขมันสูง เช่น มันสมอง และจะไปขัดขวางการท้างานของระบบประสาท ท้าให้ระบบประสาท
ผิดปกติเกิดอาการของโรค มินามาตะ ซึ่งเป็นโรคหนึ่งที่เกิดจากการสะสมโลหะพิษเพิ่มขึนในห่วงโซ่อาหารหรือมี
การเพิ่ม ความเข้มข้นทางชีวภาพ (Biological magnification)
ตะกั่ว (Pb) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากไม่ค่อยพบ
ในแหล่งน้าธรรมชาติ ยกเว้นน้าในแม่น้าล้าคลองที่อยู่ในเขตชุมชน ซึ่งอาจมีการปนเปื้อนของตะกั่วจากไอเสีย
รถยนต์ ตะกั่วในน้าประปาอาจมาจากท่อประปาโลหะที่มีตะกั่วผสมอยู่หรือท่อพลาสติกบางชนิด การละลายของ
ตะกั่วจะขึนกับคุณสมบัติของน้า เช่น น้าอ่อนหรือน้าที่มีกรดเล็กน้อย รวมทังน้าฝนที่มักจะมีคาร์บอนไดออกไซด์
ละลายอยู่สูง และน้าในพรุ (swamp waters) ซึ่งมีกรดฮิวมิกและคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ จะละลายตะกั่วได้ดี โลหะ
ที่ใช้ส้าหรับเก็บน้าไม่ควรทาภายในด้วยสีที่มีตะกั่วเจือปนอยู่ พิษของตะกั่วอาจเกิดจากการกินอาหารหรือน้าที่มี
ตะกั่วเจือปน รวมทังการหายใจเอาอากาศที่มีตะกั่ว เช่น ควันบุหรี่ ร่างกายคนเราสามารถขับตะกั่วออกไปได้ หาก
ได้รับตะกั่วทังหมดไม่เกิน 0.3-0.4 มก./วัน มีรายงานว่าพบพิษของตะกั่วจากการดื่มน้าที่มีความเข้มข้นของตะกั่วใน
น้าช่วง 0.04 - 1 มก./ล. หรือมากกว่า ในขณะที่ความเข้มข้นประมาณ 0.1 มก./ล. ก็มีพิษต่อปลาแล้ว พิษของตะกั่ว
แบบเฉียบพลันมีอยู่หลายอาการ เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ วิงเวียน การกระตุกของกล้ามเนือ ฯลฯ ส้าหรับพิษเรือรัง
ที่ส้าคัญ ได้แก่ โรคโลหิตจาง เนื่องจากตะกั่วไปขัดขวางการสร้างฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี ยังอาจมี
ผลต่อระบบประสาทด้วย
อาร์เซนิก (As) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสารหนู
เป็นสารพิษที่รู้จักกันดี การปะปนในน้าแม้เพียงเล็กน้อยก็ต้องหาแหล่งที่มา ซึ่งอาจจะมาจากท่อระบายน้าเสีย
แหล่งบริเวณแร่เหล็ก หรือแหล่งเหมืองเก่า เหมืองร้าง เช่นกรณีที่อ้าเภอร่อนพิบูลย์ จ. นครศรีธรรมราช ซึ่งวัด
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
9
ปริมาณสารหนูในบ่อน้าตืนที่เคยเป็นเหมืองเก่าได้สูงถึง 2.47 มก./ล. และในน้าประปา 0.07 มก./ล. จนเป็นสาเหตุ
ท้าให้เกิดอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ขับถ่ายผิดปกติ ชาบริเวณปลายมือ ปลายเท้า อาการเท้าตก นิวเน่า ผิวหนัง
ด้า แห้งกร้าน ซึ่งต่อไปจะเป็นมะเร็วผิวหนัง อาการเช่นนีชาวบ้านเรียกว่า ไข้ด้า
แคดเมียม (Cd) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก
แคดเมียมในธรรมชาติส่วนใหญ่พบปะปนอยู่กับแร่สังกะสีทุกชนิด มีส่วนน้อยที่อยู่ในรูปแคดเมียมซัลไฟด์ (CdS)
แคดเมียมถูกน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคลือบผิวและซุนโลหะ ใช้ผสมในสีบาง
ชนิด ผสมในน้ามันเครื่อง ยางและพลาสติกแหล่งน้าคุณภาพดีควรมีแคดเมียมต่้ากว่า 1 ppb แต่น้าธรรมชาติทั่วไป
อาจมีอยู่สูงถึง 10 ppb ในน้าที่มีแต่แคดเมียมอย่างเดียวที่ความเข้มข้นเฉลี่ย 0.047 มก./ล.จะไม่มีผลต่อสุขภาพ
หากใช้ดื่มกิน แต่การทดลองในต่างประเทศพบว่าแคดเมียมจะสะสมเพิ่มขึนในไตและตับของหนูที่เลียงด้วยน้าที่มี
แคดเมียม 0.1 - 10 มก./ล. แคดเมียมเข้าสู่ร่างกายได้ทังทางน้าและอาหาร ควันบุหรี่ก็เป็นอีกแห่งหนึ่งที่มีแคดเมียม
เพราะบุหรี่ 1 มวนมีแคดเมียมประมาณ 1.3 ไมโครกรัม เช่นเดียวกับปรอท ตะกั่วและสารหนู เมื่อแคดเมียมเข้าสู่
ร่างกายจะเริ่มสะสมและเพิ่มปริมาณขึนตามอายุ แคดเมียมในร่างกายในปริมาณสูงท้าให้คนและสัตว์เป็นหมัน เป็น
มะเร็ง และโรคความดันโลหิตสูง ก่อความเสียหายต่อตับและไต พิษเรือรังจากแคดเมียมที่รู้จักกันดีคือโรค อิไต-อิไต
(Itai - Itai) ซึ่งมีอาการสายตาผิดปกติและปวดกระดูกตามน่อง ซี่โครง และสันหลัง
5.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ
100 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.5 MPM ไม่ผ่าน
อี. โคไล (E.coli) มี ไม่ผ่าน
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
10
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum
Acceptable Concentration) เนื่องจาก Escherichia coli (E.coli) และ Aerobacter aerogenes
(A.aerogenes) โดยที่ E.coli เป็นแบกทีเรียที่อาศัยอยู่ในล้าไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น ส่วน A.aerogenes นัน
มักจะอาศัยอยู่ในดินและพืช ดังนัน การตรวจพบโคลิฟอร์มแบกทีเรียในน้า จึงไม่ได้เป็นการยืนยันว่าน้านันได้รับการ
ปนเปื้อนจากของเสียของคนหรือสัตว์
อี. โคไล (E.coli) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก
E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน
ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
5.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป
บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ไม่เหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ในการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา โดยเฉพาะมีเชื่อ E.coli เจือปนอยู่
ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
6. การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 และมีปริมาณของ
แคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีความเป็นกรด-ด่าง
(Acidity-Alkalinity) และความกระด้าง (Hardness) หรือไม่ พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของแต่ละ
คุณสมบัติ
ตอบ การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 ซึ่งมีความเป็นด่างสูง ความเป็น
ด่างของน้าตามธรรมชาติมักเกิดจากคาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต ไฮดรอกซิล บอเรต (H2BO3
-) ฟอสเฟต (HP4
-2, H2,
PO4
-, ) ซิลิเกต (SiO3
-2) ซัลไฟด์ (HS-) และแอมโมเนีย (NH3) โดยละลายออกมาจากชันดิน หินและบรรยากาศลงสู่
แหล่งน้า เกลือฟอสเฟตจะมาจากผงซักฟอกหรือปุ๋ย หรือแม้แต่สารเคมีปราบศัตรูพืชที่ใช้ในการเกษตร ส้าหรับ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์และแอมโมเนียอาจมาจากการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ
การตรวจสอบปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 มีความกระด้าง (Hardness)
อยู่ระดับน้ากระด้างเล็กน้อยและน้ากระด้างปานกลาง เกิดจากความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ
+2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2) แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทัง
เหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3) โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
11
กระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2 และ Mg+2 ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมี
หน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียมคาร์บอเนต
น้าที่มีความกระด้างมากจะมีผลเสีย คือ
ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้าปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือ
ตกตะกอนดังสมการ จึงต้องใช้สบู่เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง
ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรัน
พวกนีจะท้าตัวเป็นฉนวนท้าให้สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้ เพราะการ
ขยายตัวของตะกรันกับแผ่นเหล็กของหม้อน้าไม่เท่ากัน เกิดรอยกระเทาะ น้าเย็นในหม้อน้าที่มาถูกกับรอย
แตกจะกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว จึงเกิดความดันขึน นอกจากนีน้ากระด้างชั่วคราวยังมีผลท้าให้เกิดการกัด
กร่อนในหม้อน้าได้เนื่องจาก CO2 ที่แตกตัวออกมาเมื่อได้รับความร้อน
ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็นประจ้า
อย่างไรก็ตาม น้ากระด้างปานกลางยังมีประโยชน์ คือ
ก. น้ากระด้างจะมีรสชาติน่าดื่มมากกว่าน้าอ่อน
ข. น้าอ่อนไม่เหมาะที่จะใช้เป็นน้าประปา เพราะจะมีฤทธิ์กัดกร่อนตะกั่วที่ใช้ท้าท่อน้า การใช้น้า
กระด้างในน้าประปาจะท้าให้เกิด PbCO2 หุ้มผิวท่อภายใน ตะกั่วจึงไม่ละลายออกมา
ค. จากสถิติทางแพทย์พบว่า ผู้บริโภคน้าอ่อนจะมีโอกาสป่วยด้วยโรคหัวใจ (Cardio-Vascular
disease) สูงกว่าผู้บริโภคน้ากระด้าง
7. การปล่อยสารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรม
ในเขตจังหวัดปทุมธานีสู่คลองรังสิต ได้ตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และ
มากกว่าไนเตรทตามล้าดับ จงอธิบายปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณกี่วัน
พร้อมวาดรูปประกอบ และบอกผลกระทบของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
ตอบ จากการตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และมากกว่าไนเตรทตามล้าดับ แสดง
ปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณ 20-30 วัน
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
12
Protein saprophytic NH3 nitrosomonas NO2 nitrobacter NO3
NO3
- NO2
- NH3/N2
โดยปกติปริมาณสารประกอบไนโตรเจนทัง 2 ประเภท จะละลายเจือปนอยู่น้อยในแหล่งน้าผิวดินธรรมชาติที่
ยังไม่เน่าเสีย เช่น แอมโมเนียจะละลายอยู่น้อยกว่า 1 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย (mg/l as N-NH3)
ส่วนไนเตรทมีอยู่ประมาณ 0.3 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปไนเตรท (mg/1 as N-NO3
-) น้าบาดาลหรือน้าใต้ดิน
มักจะมีไนเตรทอยู่สูงกว่าน้าผิวดิน ส้าหรับไนไตรท์มักจะหาค่าไม่ได้เพราะไม่คงตัว
เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบ
อินทรีย์ไนโตรเจนจะถูกย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึนตามเวลาและ
ระยะทางที่น้าไหลล่อง (รูปที่ 2.5) ในสมัยก่อนเคยใช้ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้า
ปรากฏว่ามีแอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของเสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่า
ตัวอื่นหรือมากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านันเคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะสารอินทรีย์
ถูกย่อยสลายไปหมดแล้ว
รูปที่ ไนโตรเจนรูปต่างๆ ที่ปรากฏในแหล่งน้าเสียที่ยังพอมีออกซิเจนเจือปนอยู่
ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
bacteria
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
13
ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อย
สลายอย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจน
ละลายน้าลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1 มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า
ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา
และก่อปัญหาถ้าส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไน
ไตรท์และไนเตรทได้ แอมโมเนียจะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง นอกจากนี
ยังเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าถ้ามีมากกว่า 2.5 มก./ล. ในกรณีที่ล้าน้ามี pH ต่้ากว่า 7 แอมโมเนียมักจะ
ละลายน้าอยู่ในรูป NH4
+ และจะถูกยึดด้วยสารประกอบที่มีประจุลบในตะกอนดิน เช่น (NH4)2CO3 แต่จะ
มีพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าน้อยกว่าแอมโมเนีย นอกจากนี ยังถูกยึดไว้จึงถูกชะล้างออกมาได้ยากกว่า
ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน เพราะล้าไส้เล็กของเด็กในวัยนีจะมี
ความเป็นกรดพอดีกับความต้องการของ nitratereducing bacteria ซึ่งจะเปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท์
เมื่อไนไตรท์ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้
สารประกอบสีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและเสียชีวิต อาการเช่นนี
เรียกว่า Blue baby syndrome หรือ Methemoglobinemia และเคยเกิดขึนในประเทศสหรัฐอเมริกา
ในอดีตมาก่อน นอกจากนี ยังมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือระบุว่า ไนเตรทเองเป็นสารก่อมะเร็งได้ด้วย
8. ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มี
กรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มีกรรมวิธีการ
ผลิตแตกต่างกันไป ดังตารางแนบ
ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50
มก./ล. และความขุ่นสูง
ระบบประปา ความเหมือน ความแตกต่าง
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก
แหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน
50 มก./ล.
-ประกอบด้วยถังเก็บน้าใสและหอ
สูง
-ระบบประปาความขุ่นน้อยกว่า 50
มก/ล เป็นระบบทรายกรองช้า
(Slow Sand Filter)
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
14
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก
แหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นเกินกว่า
50 มก./ล.
-มีการกรองผ่านชันทราย แต่คนละ
ระบบ
-เติมคลอรีนก่อนส่งสูงระบบ
แจกจ่าย
-ระบบประปาความขุ่นมากกว่า 50
มก/ล เป็นระบบทรายกรองเร็ว
(Rapid Sand Filter)
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล.
อ่างเก็บน้าหรือทะเลสาปถ้าอยู่ห่างจากถิ่นที่อยู่อาศัยจะมีน้าใสและสะอาดพอควร ในกรณีนีอาจใช้ระบบ
ทรายกรองช้า ซึ่งไม่ต้องอาศัยสารส้มช่วยตกตะกอนก่อน การประปาบางแห่ง เช่น ที่อ้าเภอกระนวน จังหวัด
ขอนแก่น จะมีสระตกตะกอน (pre-sedimentation pond) เพื่อท้าให้น้าใสก่อนเข้าระบบทรายกรอง เพราะในฤดู
ฝนน้าอาจมีความขุ่นเพิ่มขึนและไม่เหมาะสมที่จะผ่านเข้าสู่ถังกรองโดยตรง เนื่องจากจะท้าให้ทรายกรองอุดตันเร็ว
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นเกินกว่า 50 มก./ล.
การประปาชุมชนขนาดใหญ่ส่วนมากจะอาศัยแหล่งน้าจากแม่น้า เนื่องจากมีปริมาณมากพอเพียง น้าผิว
ดินประเภทนีมีความขุ่นสูง ดังนัน กรรมวิธีการผลิตจึงต้องอาศัยสารช่วยท้าให้ตกตะกอนเร็วขึน เช่น สารส้ม
กรรมวิธีตังแต่การผสมสารส้ม เกิดตะกอน ตกตะกอนจนกระทั่งกรองมักนิยมเรียกรวมว่าระบบทรายกรองเร็ว
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
15
9. การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก จ้าเป็นต้องเติมคลอรีนก่อน
เข้าสู่ระบบแจกจ่าย จงอธิบายปฏิกริยาของคลอรีนในน้าในแต่ละช่วงอย่างละเอียด พร้อมวาดรูป
ประกอบและเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตราย
ต่อบริโภคจะต้องท้าอย่างไร พร้อมเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว
ตอบ
รูป ปฏิกิริยาของคลอรีนในน้า
ช่วงที่ 1 คลอรีนจะท้าปฎิกริยากับสารอนินทรีย์และสิ่งปะปนอื่นๆ ในน้าจนหมดไม่มี residual chlorine
เหลืออยู่ จะไม่มีการฆ่าเชือโรคเกิดขึนในช่วงนี
ช่วงที่ 2 คลอรีนท้าปฎิกริยากับสารอินทรีย์ในน้าเกิดมีสารประกอบ Chloroorganic จะมีการฆ่าเชือโรค
บ้างเล็กน้อย
ช่วงที่ 3 เป็นระยะการท้าปฎิกริยาระหว่างคลอรีนกับแอมโมเนียดังสมการ
NH3 + HOCI H2O + NH2CI (monochloramine) คลอรีนคงค้างที่มีเหลืออยู่ในน้าเกือบทังหมดจะ
เป็นโมโนคลอรามีน (monochloramine) ทดลองหาได้โดยวิธีออร์โธโทลิดิน ซึ่งจะพบคลอรีนรวมคงค้าง
ช่วงที่ 4 เป็นระยะที่ปฎิกริยา Oxidize ของ NH3 กับ CI2 ด้าเนินต่อไปจนสมบูรณ์ โดยคลอรีนที่เพิ่มลงไป
จะ Oxidize หรือเปลี่ยนรูปคลอรามีน และสารประกอบคลอรีนอินทรีย์ (chloro-organic compound)
ดังปฎิกริยา
NH2CI + HOCI H2O + NHCI2 (dichloramine)
NHCI2 + HOCI H2O + NcI3 (nitrogen trichloride)
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
16
ช่วงที่ 5 คลอรีนที่เพิ่มลงไปจะเป็นคลอรีนอิสระคงค้างกับสารประกอบคลอรีนอินทรีย์ เชือโรคที่ยัง
หลงเหลืออยู่ในน้าจะถูกท้าลายโดย free residual จ้านวนนี
จากช่วงที่ 1 - 4 (breakpoint) ปริมาณคลอรีนเรียกว่าความต้องการคลอรีน (chlorine demand)
จากช่วงที่ 1 - 5 ปริมาณคลอรีนเรียกว่าปริมาณป้อนคลอรีน (chlorine dosage)
นอกจากคลอรีนจะรวมตัวกับ NH3 ให้คลอรามีนที่ฆ่าเชือโรคได้บ้างแล้ว คลอรีนยังรวมตัวกับ
สารประกอบอินทรีย์ของไนโตรเจน (organic nitrogen) เช่น amino acid ซึ่งเกิดจากการย่อยสลาย
(decomposition) ของโปรตีนและยูเรีย และได้คลอรามีนอินทรีย์ (organic chloramine) ซึ่งมี
ประสิทธิภาพในการฆ่าเชือโรคน้อยกว่า ammonia chloramine มาก
อัตราเร็วของปฎิกริยาเบรคพอยท์ (breakpoint reaction) ขึนอยู่กับ pH ของน้า อัตราสูงสุดจะอยู่
ระหว่าง pH 6.5 - 8.5 จากการทดลองพบว่าระยะเวลา 30 นาทีหรือนานกว่านีเป็นเวลาที่เหมาะสม ดังนัน
ในการเติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชือโรคในน้าจึงต้องใช้เวลาสัมผัส (contact time) ไม่น้อยกว่า 30 นาที เพื่อให้
เกิดมี free residual chlorine ขึนก่อนจะจ่ายน้าประปาสู่ระบบท่อจ่ายน้า
ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตรายต่อบริโภค จะต้องท้าการลดคลอรีน
(Dechlorination) บางครังเมื่อน้าดิบมีคุณภาพต่้า คลอรีนจ้านวนมากจะถูกเติมลงในน้าประปาเพื่อให้
แน่ใจในการฆ่าเชือโรคหรือลดกลิ่นรส ซึ่งจะมีคลอรีนคงค้างจ้านวนมากหลงเหลืออยู่ และจะต้องก้าจัด
ออกบ้างก่อนจะจ่ายสู่ระบบจ่ายน้า โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น เติม สารทอน (reducing chemical) ได้แก่
SO2 (sulfur dioxide), NaHSO3 (Sodium bisulphite) และ Na2SO3 (sodium sulphite) ซึ่งปฎิกริยา
จะเป็นดังนี
SO2 + CI2 + 2H2O H2SO4 + 2HCI
NaHSO3 + CI2 + H2O NaHSO4 + 2HCI
การลดปริมาณคลอรีนโดยใช้เม็ดถ่านกัมมันต์ จะดูดซับ CI2 และถูก oxidize เป็น CO2
C + 2CI2 + 2H2O CO2 + 4 HCI
นอกจากนี การเติมอากาศ (Aeration) ยังช่วยลด HOCI, NH3, CI2 และ NCI3
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
17
10. การก้าจัดปริมาณของก๊าซไนโตรเจนออกจากน้าดิบที่มาจากบ่อบาดาล สามารถก้าจัดโดยวิธีการฉีด
พ่นน้าไปในอากาศ น้าดิบจะแตกตัวเป็นหยดน้าขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร
ความเข้นข้นของก๊าซไนโตรเจนในน้าดิบ 30 มก./ล. ภายหลังจากการสัมผัสอากาศเป็นเวลา 1 วินาที
ปรากฏว่าความเข้มข้นลดลงไปประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยค่าสัมประสิทธิการถ่ายเทก๊าซไนโตรเจน
มีค่าเท่ากับ 290 ซม./ชม. จงหาค่าความเข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน
ตอบ ก้าหนดให้ CO = 30 มก./ล., Ct = 15 มก./ล., kg = 290 ซม./ชม. และ CS = ? มก./ล.
ปริมาตร V = 𝜋D3 /6
พืนที่ผิว A = 𝜋D2
จะได้ V/A = D/6
และ Kg = 290 ซม./ชม.
Kg = 290/(60x60) = 0.0805 ซม./วินาที
จาก Kg = kg . A/V
= 0.0805. 6/0.5
= 0.966 วินาที-1
การถ่ายเทของก๊าซจะเป็นไปในลักษณะการเกินอิ่มตัว จาก
Ct - CO = (CS - CO) [1 - exp ( -Kg.t)]
15 - 30 = (Cs- 30) [1 - exp (- 0.966 X 1)]
- 15 = (Cs- 30) (1 – 2.718-0.966)
Cs = 5.78 มก./ล.
ค่าความเข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน 5.78 มก./ล.
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
18
11. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยม
ประยุกต์ใช้ในการเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตัง
ถาดเติมอากาศชันบนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 3 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบน
และล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของ
ระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ ก้าหนดให้ เมื่อ n = 7 และ h = 3 เมตร
t = √2𝑛ℎ/𝑔 = √2 𝑥 7 𝑥 3/9.81
ระยะเวลาสัมผัสส้าหรับการตก 7 ระยะ = 2.07 วินาที
ระยะห่างระหว่างตะแกรงในการตก 7 ระยะ = 3/7 = 0.43 เมตร ซึ่งมีความเหมาะสม เพราะมีระยะห่าง
ระหว่างถาดประมาณ 30-50 ซม. ตามมาตราฐาน
h = 3 เมตร
12. จงอธิบายโครงสร้างของระบบทรายกรองช้าอย่างละเอียดในแต่ละขันตอน พร้อมวาดรูปประกอบ และ
อธิบายการท้างานของชันทรายกรองและปรากฏการณ์การเกิดชมุทเดกเก พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ โครงสร้างของระบบทรายกรองช้าแสดงไว้ในรูป ประกอบด้วย
1. ส่วนเก็บกัก (supernatant water reservoir) น้าดิบจะถูกสูบเข้ามาเก็บกักไว้เหนือชันทราย ความสูงของ
ชันน้านีจะท้าให้มีความดันไหลผ่านขันทรายได้ เมื่อระดับน้าชันนีคงที่ ค่าความดันก็จะคงที่ตลอดเวลาการ
กรอง โดยปกติความสูงของน้าอยู่ระหว่าง 1.0 - 1.5 เมตร
2. ขันทรายกรอง สิ่งสกปรกทังหลายจะถูกก้าจัดในชันนี ซึ่งเป็นชันทรายที่มีความหนาระหว่าง 0.6 - 1.2 เมตร
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
19
3. ระบบท่อรับน้ากรอง (under-drainage System) ส้าหรับรวบรวมน้าสะอาดและน้าไปสู่ถังเก็บ ปกติเหนือ
ชันนีจะมีชันกรวด (gravel bed) ทับอยู่ เพื่อท้าหน้าที่กันมิให้ทรายไหลลงมาและอุดตันระบบรับน้ากรองนี
4. ระบบประตูน้าควบคุมการไหล (control valves) ต่อไว้กับท่อรับน้ากรองภายนอกถังและอยู่ก่อนถังเก็บ
น้าสะอาด ประตูน้าจะเป็นตัวควบคุมความเร็วของการไหล นอกจากนัน ยังใช้ส้าหรับปรับระดับความสูง
ของน้าในส่วนเก็บกักด้วย
รูป โครงสร้างของระบบทรายกรองช้า
ความลึกของถังกรองอยู่ระหว่าง 2-3 เมตร บางแห่งอาจจะลึกกว่านีแต่จะท้าให้สินเปลืองค่าก่อสร้าง โดยที่
ขนาดพืนที่ของถังกรองใหญ่มากจึงนิยมใช้สร้างแบบขุดเป็นบ่อแล้วดาดคอนกรีตที่ก้นและรอบข้าง ขอบบ่ออาจเป็น
แนวตังหรือเอียงลาดก็ได้ เช่นระบบทรายกรองชาของอ้าเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น (รูปที่ 5.2) ซึ่งมีถังกรอง 2
ถัง ขนาดพืนที่ถึง 40 x 25 เมตร จะเป็นแบบขุดดินลงไปแล้วดาดคอนกรีตขอบบ่อแบบลาดเอียง นอกจากคอนกรีต
แล้วอาจใช้วัสดุอื่น เช่น อิฐ หิน ดาดแทนก็ได้ ทังนีขึนอยู่กับความประหยัดและวัสดุหาง่ายในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม
ต้องระวังการรั่วซึมสูญหายของน้าซึ่งอาจเกิดขึนได้
การท้างานของชันทรายกรอง
การก้าจัดสิ่งปะปนในน้าดิบโดยชันทรายกรองทังในด้านกายภาพ เคมี และแบกทีเรียเป็นไปดังนี แรกเริ่ม
น้าดิบจะพักอยู่เหนือชันทรายรอเวลาไหลซึมผ่านในชันทรายกรอง ระยะเวลาพักโดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3 - 12 ชม.
ขึนอยู่กับอัตราการกรอง สิ่งปะปนที่หนักกว่าจะค่อยๆ จมลงก่อนส่วนที่เบานันอาจลอยค้างอยู่ ในเวลากลางวันที่มี
แสงแดด แอลจี (สาหร่ายเซลล์เดียว) จะเจริญเติบโตและดูดซึมเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนเตรท ฟอสเฟต และ
สิ่งที่เป็นอาหารอื่นๆ เพื่อใช้ในการสร้างเซลล์ ออกซิเจนจะถูกคายออกมาและท้าปฏิกิริยาเคมีกับสารอินทรีย์ในน้า
ซึ่งจะช่วยให้การดูดซับของแอลจีเป็นไปโดยง่ายขึน ที่ผิวหน้าของชันทรายจะมีสิ่งสกปรกสะสมอยู่เป็นชันฟิล์มบางๆ
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)

More Related Content

What's hot

แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
รายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการรายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการnatcha khongmanacharn
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

What's hot (20)

แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
รายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการรายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการ
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...EduSkills OECD
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application ) Sakshi Ghasle
 
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdfActivity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdfciinovamais
 
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptx
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptxPOINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptx
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptxSayali Powar
 
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphZ Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphThiyagu K
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docxPoojaSen20
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxpboyjonauth
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxNirmalaLoungPoorunde1
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactPECB
 
Student login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinStudent login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinRaunakKeshri1
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxVS Mahajan Coaching Centre
 
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionSafetyChain Software
 
URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppURLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppCeline George
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Celine George
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...Marc Dusseiller Dusjagr
 
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdfssuser54595a
 

Recently uploaded (20)

Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
 
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  ) Hybridoma Technology  ( Production , Purification , and Application  )
Hybridoma Technology ( Production , Purification , and Application )
 
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
Código Creativo y Arte de Software | Unidad 1
 
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdfTataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
 
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdfActivity 01 - Artificial Culture (1).pdf
Activity 01 - Artificial Culture (1).pdf
 
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptx
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptxPOINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptx
POINT- BIOCHEMISTRY SEM 2 ENZYMES UNIT 5.pptx
 
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphZ Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
 
mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docx
 
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptxIntroduction to AI in Higher Education_draft.pptx
Introduction to AI in Higher Education_draft.pptx
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptx
 
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
Mattingly "AI & Prompt Design: The Basics of Prompt Design"
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
 
Student login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinStudent login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpin
 
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptxOrganic Name Reactions  for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
Organic Name Reactions for the students and aspirants of Chemistry12th.pptx
 
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptxINDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
 
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory InspectionMastering the Unannounced Regulatory Inspection
Mastering the Unannounced Regulatory Inspection
 
URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website AppURLs and Routing in the Odoo 17 Website App
URLs and Routing in the Odoo 17 Website App
 
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
Advanced Views - Calendar View in Odoo 17
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
 
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf
18-04-UA_REPORT_MEDIALITERAСY_INDEX-DM_23-1-final-eng.pdf
 

ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply)

  • 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply วันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 12.00 – 15.00 น. คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 15 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน 2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต 3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด 4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ 5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน สมุด 6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ 6.1เครื่องคิดเลข 6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน 7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม ขั้นตอนที่คิดได้ อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต............................. คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800 ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................ *ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา* **ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา** ***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
  • 2. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 1 1. จงอธิบายหลักการและวาดรูปประกอบของปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่ใช้ เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน (Artesian Well) โดยเปรียบเทียบกับบ่อบาดาลแบบไร้แรงดัน ที่ ต้องใช้เครื่องสูบน้าช่วยสูบน้าขึนมา 2. จงอธิบายกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Wall) อย่างละเอียด โดยเลือกมาเฉพาะ วิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ 3. โครงการก่อสร้างประปาหมู่บ้านของอ้าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ได้น้าน้าบาดาลมาผลิตน้าประปา เมื่อท้าการ ขุดเจาะบ่อบาดาลแล้วพบว่าเป็นบ่อบาดาลแบบมีแรงดันมีความหนาของชันดินเหนือชันหินปิดกัน ชันหินปิด กัน และชันหินอุ้มน้า 100, 10 และ 30 เมตร ตามล้าดับ โดยบ่อบาดาลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ภายหลังการทดสอบการสูบน้าตลอด 7 วัน ด้วยอัตราการสูบออก 30 ลิตรต่อวินาที พบว่าระดับน้า ลดลงไปจนคงที่ที่ระดับ 75 เมตรและระดับน้าเดิมอยู่ที่ 90 เมตร ก้าหนดให้รัศมีกรวยยุบมีค่าเท่ากับ 90 เมตร จงหาค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of Transmissibility) 4. จงอธิบายหลักการในการเกิดน้าซับ (Spring) โดยเลือกมาหนึ่งลักษณะของการเกิดน้าซับที่เหมาะสมต่อการ ผลิตน้าประปา พร้อมวาดรูปประกอบ 5. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยผล การตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 5 ปลาตินัม รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5 คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร เหล็ก (Fe) 0.6 มังกานีส (Mn) 0.3 ทองแดง (Cu) 1.0 สังกะสี (Zn) 6.0
  • 3. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 2 คัลเซียม (Ca) 70 ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ) รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย มักเนเซียม (Mg) 45 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ฟลูออไรด์ (F) 1.0 สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.01 ตะกั่ว (Pb) 0.06 อาร์เซนิก (As) 0.07 แคดเมียม (Cd) 0.1 คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.5 MPM อี. โคไล (E.coli) มี 5.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ 5.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย 5.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ 5.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค หรือไม่ เพราะเหตุใด 6. การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 และมีปริมาณของแคลเซียม คาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีความเป็นกรด-ด่าง (Acidity-Alkalinity) และ ความกระด้าง (Hardness) หรือไม่ พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของแต่ละคุณสมบัติ 7. การปล่อยสารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรมในเขต จังหวัดปทุมธานีสู่คลองรังสิต ได้ตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และมากกว่าไนเตรท
  • 4. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 3 ตามล้าดับ จงอธิบายปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณกี่วัน พร้อมวาดรูปประกอบ และ บอกผลกระทบของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า 8. ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มีกรรมวิธีการ ผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูปประกอบ 9. การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก จ้าเป็นต้องเติมคลอรีนก่อนเข้าสู่ระบบ แจกจ่าย จงอธิบายปฏิกริยาของคลอรีนในน้าในแต่ละช่วงอย่างละเอียด พร้อมวาดรูปประกอบและเขียน ปฏิกริยาเคมีดังกล่าว ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตรายต่อบริโภคจะต้องท้าอย่างไร พร้อมเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว 10. การก้าจัดปริมาณของก๊าซไนโตรเจนออกจากน้าดิบที่มาจากบ่อบาดาล สามารถก้าจัดโดยวิธีการฉีดพ่นน้าไปใน อากาศ น้าดิบจะแตกตัวเป็นหยดน้าขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร ความเข้นข้นของก๊าซ ไนโตรเจนในน้าดิบ 30 มก./ล. ภายหลังจากการสัมผัสอากาศเป็นเวลา 1 วินาที ปรากฏว่าความเข้มข้นลดลงไป ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยค่าสัมประสิทธิการถ่ายเทก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ 290 ซม./ชม. จงหาค่าความ เข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน 11. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยมประยุกต์ใช้ในการ เติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตังถาดเติมอากาศชันบนสุด ห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 3 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบนและล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหา ระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสม หรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ 12. จงอธิบายโครงสร้างของระบบทรายกรองช้าอย่างละเอียดในแต่ละขันตอน พร้อมวาดรูปประกอบ และอธิบาย การท้างานของชันทรายกรองและปรากฏการณ์การเกิดชมุทเดกเก พร้อมวาดรูปประกอบ 13. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการน้าไป ทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามาทดสอบจ้านวน ทังหมด 5.00 กิโลกรัม ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักสะสมที่ผ่านพ้นได้ (กิโลกรัม) 0.3 0.05 0.4 0.30 0.5 0.50 0.7 2.00
  • 5. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 4 0.75 4.50 1.0 4.90 13.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง 13.2 ทรายกรองที่น้ามาใช้มีความเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด 14. จงอธิบายลักษณะการท้างานของถังตกตะกอน (Sedimentation) ในแต่ละขันตอน ในระบบประปาทราย กรองเร็ว พร้อมวาดรูประกอบ และจงอธิบายการใช้งานของถังตกตะกอนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พร้อมวาดรูป ประกอบ 15. การออกแบบระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Buffle Flocculator) ในระบบประปาทรายกรองเร็ว โดยมี การออกแบบถังตกตะกอนแบบแผ่นกัน ชนิดแนวนอน ก้าหนดให้มีก้าลังการผลิตน้าในแต่ละวันเท่ากับ 15,000 ลูกบาศ์กเมตร ระยะเวลาการท้าตะกอนอย่างน้อย 25 นาที ความเร็วของการไหล 30 ซม./วินาที และ ก้าหนดให้ระยะห่างระหว่างแผ่นกัน 0.50 เมตร แผ่นกันมีขนาดความหนาแผ่นละ 10 เซนติเมตร และมีความ กว้าง 2.50 เมตร จงหาค่าความกว้างและยาวของถังตกตะกอน พร้อมวาดรูปประกอบ
  • 6. เฉลยข้อสอบปลายภาค ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply _________________________________________________________________ สามารถสแกน QR Code เพื่อดูคลิปวิดีโอใน Youtube SCAN ME
  • 7. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคต้น ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply วันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 12.00 – 15.00 น. คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 15 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน 2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต 3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด 4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ 5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน สมุด 6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ 6.1เครื่องคิดเลข 6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน 7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม ขั้นตอนที่คิดได้ อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต............................. คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800 ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................ *ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา* **ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา** ***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
  • 8. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 1 1. จงอธิบายหลักการและวาดรูปประกอบของปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่ ใช้เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน (Artesian Well) โดยเปรียบเทียบกับบ่อบาดาลแบบ ไร้แรงดัน ที่ต้องใช้เครื่องสูบน้าช่วยสูบน้าขึนมา ตอบ ปรากฏการณ์การที่น้าไหลออกมาจากบ่อบาดาลเอง โดยไม่ใช้เครื่องสูบน้า หรือเรียกว่าบ่อบาดาลมีแรงดัน (Artesian Well) มีต้าแหน่งพืนดินที่เจาะบ่อบาดาลอยู่ต่้ากว่าระดับน้า ดังนันน้าจึงจะพุ่งสูงเหนือระดับดิน บริเวณ ที่ชันน้าโผล่ขึนสู่ผิวดิน มีลักษณะการวางตัวของชันน้าประเภทนีมักเป็นลักษณะลาดเอียง ซึ่งจะพบมากในภูมิ ประเทศแถบที่เป็นเชิงเขา หรือบริเวณชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Artesian Aquifer) ชันน้าบาดาลชนิดนีจะถูกขนาบอยู่ ระหว่างชันหินปิดกักทังด้านบนและด้านล่าง ดังนัน การไหลของน้าจะคล้ายกับน้าที่อยู่ในท่อ กล่าวคือ ความดันของ น้าในจุดใดก็ตามจะมีค่าเท่ากับความสูง ณ จุดสูงสุดที่น้าขังอยู่
  • 9. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 2 2. จงอธิบายกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Wall) อย่างละเอียด โดยเลือก มาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ การเจาะบ่อบาดาลแบบหมุน (Rotary) เป็นวิธีการเจาะบ่อบาดาลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะสามารถขุดและ หมุนหัวเจาะพร้อมๆ กับมีแรงกดให้หัวเจาะกัดหินเป็นรูกลม สามารถเจาะได้เร็วกว่าแบบอื่นๆ โดยมีกระบวนการ การขุดเจาะดังนี 1. การขุดน้าเป็นการขุด โดยใช้หัวเจาะแบบหมุนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชัน หินดินดานหรือหินแข็ง จะต้องผ่านพ้นช่วงชันดินอ่อน ท้าการเก็บตัวอย่างดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตร ความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล 2. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันหิน แข็ง เพื่อป้องกันการถล่มตัวหรือการเคลื่อนตัวของหัวเจาะ 3. น้าหัวเจาะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 5 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชันน้าบาดาล ท้าการเก็บตัวอย่าง ดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตรความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล 4. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันน้า บาดาล โดยปลายของท่อจะกรุด้วยท่อกรองที่ท้าจากท่อ PVC หรือท่อโลหะ แซะร่อง 5. น้าปั้มบาดาลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4 นิว ติดตังตรงระดับน้าใต้ดิน และทดสอบการให้น้าของ ชันน้าบาล โดยการสูบน้าตลอด 24 ชั่วโมงและหาระดับน้าที่ลดลงไป 6. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อบาดาล เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะ และน้าสกปรกไหลลง สู่บ่อ *ขนาดรูเจาะขึนอยู่กับลักษณะพืนที่และการให้น้าของชันบาดาล สามารถเปลี่ยนแปลงได้ครับ
  • 10. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 3 3. โครงการก่อสร้างประปาหมู่บ้านของอ้าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ได้น้าน้าบาดาลมาผลิตน้าประปา เมื่อ ท้าการขุดเจาะบ่อบาดาลแล้วพบว่าเป็นบ่อบาดาลแบบมีแรงดันมีความหนาของชันดินเหนือชันหินปิด กัน ชันหินปิดกัน และชันหินอุ้มน้า 100, 10 และ 30 เมตร ตามล้าดับ โดยบ่อบาดาลมีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร ภายหลังการทดสอบการสูบน้าตลอด 7 วัน ด้วยอัตราการสูบออก 30 ลิตร ต่อวินาที พบว่าระดับน้าลดลงไปจนคงที่ที่ระดับ 75 เมตรและระดับน้าเดิมอยู่ที่ 90 เมตร ก้าหนดให้ รัศมีกรวยยุบมีค่าเท่ากับ 90 เมตร จงหาค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of Transmissibility) ตอบ ก้าหนดให้ d1 = 75 เมตร d2 = 90 เมตร r1 = 7.5 เชนติเมตร = 0.075 เมตร r2 = 90 เมตร Y = 30 เมตร หา ค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทได้ (Coefficient of Transmissibility) จากสูตร Q = อัตราสูบออก 30 ลิตรต่อวินาที = = 2,592 เมตร3 ต่อวัน 2,592 = Q = K = 6.52 เมตรต่อวัน จาก T = KY T = 6.52 x 30 เมตร2 ต่อวัน = 195.6 เมตร2 ต่อวัน log (r2/r1) 30 x 60 x 60 x 24 1,000 2.72 K 30 (90 – 75) log (90/0.075) 2.72 KY (d2 – d1)
  • 11. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 4 4. จงอธิบายหลักการในการเกิดน้าซับ (Spring) โดยเลือกมาหนึ่งลักษณะของการเกิดน้าซับที่เหมาะสม ต่อการผลิตน้าประปา พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ น้าซับแบบไหลย้อน (anticlinal spring) เกิดจากชันน้าพุบาดาลซึ่งโผล่ขึนมาบนพืนดินที่มีระดับต่้ากว่า ท้าให้ แทนที่จะเป็นบริเวณรับน้า (recharge area) ก็กลับเป็นที่ไหลชึมออก ซึ่งถ้าหากชันน้าพุบาดาลนีมีขนาดใหญ่ก็จะ ท้าให้น้าซับมีปริมาณการไหลมากและอัตราไหลคงที่ เหมาะส้าหรับการท้าประปาชุมชน 5. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 5 ปลาตินัม รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5 คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร เหล็ก (Fe) 0.6 มังกานีส (Mn) 0.3 ทองแดง (Cu) 1.0 สังกะสี (Zn) 6.0 คัลเซียม (Ca) 70
  • 12. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 5 ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ) รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย มักเนเซียม (Mg) 45 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ฟลูออไรด์ (F) 1.0 สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.01 ตะกั่ว (Pb) 0.06 อาร์เซนิก (As) 0.07 แคดเมียม (Cd) 0.1 คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.5 MPM อี. โคไล (E.coli) มี 5.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 5 ปลาตินัม ผ่าน รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ผ่าน ความขุ่น (Turbidity) 10 ซิลิกา ไม่ผ่าน ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 5 ไม่ผ่าน ความขุ่น (Turbidity) และความเป็นกรด-ด่าง (pH range) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากมีดิน หิน โคลน ออกไซด์ของโลหะที่อยู่ในดิน เยื่อไม้ แพลงตอนและ จุลินทรีย์ น้าทิงจากอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมจะมีสารที่ท้าให้เกิดความขุ่นได้มากมายหลายชนิด
  • 13. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 6 คอลลอยด์ที่คงตัว (stable) มักเกิดจาก สบู่ ผงซักฟอก และ emulsifying agents ก็เป็นตัวท้าให้เกิดความขุ่นด้วย ส่วนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH range) ปริมาณของกรดที่มีอยู่ในน้าธรรมชาติ เช่น กรดคาร์บอนิค กรดอินทรีย์ที่ เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ กรดแทนนิค กรดแร่ และเกลือของเหล็กกับอลูมิเนียม เป็นส่วนประกอบ 5.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางเคมี รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 450 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ผ่าน เหล็ก (Fe) 0.6 ผ่าน มังกานีส (Mn) 0.3 ผ่าน ทองแดง (Cu) 1.0 ไม่ผ่าน สังกะสี (Zn) 6.0 ไม่ผ่าน คัลเซียม (Ca) 70 ผ่าน มักเนเซียม (Mg) 45 ผ่าน ฟลูออไรด์ (F) 1.0 ไม่ผ่าน สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.01 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ไม่ผ่าน ตะกั่ว (Pb) 0.06 ไม่ผ่าน อาร์เซนิก (As) 0.07 ไม่ผ่าน แคดเมียม (Cd) 0.1 ไม่ผ่าน ทองแดง (Cu) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก ทองแดงไม่ค่อยพบในน้าธรรมชาติ แต่อาจเกิดมีขึนได้จากการใช้ท่อทองแดงหรือจากการใช้จุนสี (CuSO4.7H2O) ก้าจัดสาหร่ายและตะไคร่น้า ทองแดงมีพิษอย่างแรงต่อปลา แต่การทดสอบจากการใช้ท่อน้าทองแดงพบว่ามีผล
  • 14. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 7 น้อยมากต่อคน น้าซึ่งมีทองแดง 1 มก./ล. อาจท้าให้เกิดคราบสีเขียวเกาะตามข้อต่อท่อ ทองแดงในปริมาณ 0.1 มก./ล. พอเพียงที่จะท้าให้อัตราการกัดกร่อนของท่อเหล็กอาบสังกะสีเพิ่มขึนอย่างมาก ความเข้มข้น 1-5 มก./ล. มี ผลด้านรสและความกัดกร่อน แต่ไม่เป็นอันตรายแก่มนุษย์ เพราะทองแดงเป็นสารจ้าเป็นต่อเมแทบอลิซึมของ ร่างกาย สังกะสี (Zn) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสังกะสี ไม่ค่อยปรากฏให้เห็นในน้าธรรมชาติ แต่อาจมีในน้าที่ออกจากก๊อกประปาแบบท่อเหล็กอาบสังกะสีหรือน้าฝนที่ ไหลผ่านหลังคาสังกะสี ถ้าใช้ภาชนะสังกะสีมาปรุงอาหาร อาจท้าให้มีสังกะสีเจือปนเข้าไปในอาหาร น้าที่สัมผัสกับ ท่อเหล็กอาบสังกะสี อาจมีการตกตะกอนของ Zinc carbonate และสารละลายสังกะสีในน้าชนิดนีอาจสูงถึง 3 มก./ล. ตัวอย่างของน้าชนิดนีใช้หาปริมาณแบคทีเรียไม่ได้ เพราะสังกะสีเป็นสารพิษส้าหรับจุลินทรีย์ แต่มีอันตราย น้อยส้าหรับคน สังกะสีเป็นธาตุที่ร่างกายต้องการส้าหรับเมแทบอลิซึมภายในเซล จึงควรได้รับเป็นประจ้าทุกวันใน อัตรา 10-15 มก. แต่ถ้าได้รับสังกะสีในความเข้มข้น 675-2,280 มก./ล. จะท้าให้เกิดอาการคลื่นเหียนอาเจียน เกลือของสังกะสีที่ 30 มก./ล. จะท้าให้น้ามีลักษณะคล้ายน้านมและจะมีรสของโลหะที่ 40 มก./ล. จึงก้าหนด มาตรฐานของน้าดื่มไว้ไม่เกิน 5 มก./ล. ฟลูออไรด์ (F) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก ฟลูออไรด์ในธรรมชาติจะพบในชันหินบางชนิด ปริมาณของฟลูออไรด์ในน้าผิวดินมีค่าต่้ากว่าความต้องการของ ร่างกาย แต่น้าบาดาลบางแห่งจะมีฟลูออไรด์ในปริมาณสูง ถ้าเป็นชันของหินชนวนหรือหินปูน ฟลูออไรด์จะท้า ปฏิกิริยาทางเคมีกับเคลือบฟัน (tooth enamel) ท้าให้เคลือบฟันแข็งขึน ช่วยลดการผุของฟัน ในทางกลับกันหาก ดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์ในช่วง 3-8 มก./ล. จะท้าให้ฟันเป็นจุด (mottling) หรือฟันมีสีซีดลง (discoloration) หรือโรค ฟันอื่นๆ (dental fluorosis) และถ้าดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์ 8-20 มก./ล. เป็นประจ้า จะท้าให้เกิดความผิดปกติใน กระดูก (bone fluorosis) การดื่มน้าที่มีฟลูออไรด์สูงกว่า 20 มก./ล. ติดต่อกัน 20 ปีจะท้าให้พิการหรือเป็นง่อย (crippling fluorosis) ส้าหรับคนที่ได้รับฟลูออไรด์ในปริมาณ 2,250-4,500 มก. เพียงครังเดียว ซึ่งเท่ากับการกิน โซเดียมฟลูออไรด์ 5-10 ก. นันจะท้าให้ถึงแก่ความตายได้ ปรอท (Hg) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากปรอทจาก ธรรมชาติเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ส่วนใหญ่อยู่ในรูป HgS(s) ในแร่ซินนาบาร์ (cinnabar) มีสีแดงและไม่ละลาย น้า มักจะฝังตัวอยู่ในที่ที่ห่างไกลจากผู้คน การเผาถ่านหินก็เป็นการกระจายปรอทเข้าสู่สิ่งแวดล้อมทางหนึ่ง เพราะ ถ่านหินทั่วไปจะมีปรอทอยู่ประมาณ 1 ppm อุตสาหกรรมก็ถือเป็นแหล่งปลดปล่อยปรอทขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ โรงงานผลิตโซดาไฟและคลอรีน การผลิตสี การถลุงแร่ การผลิตพลาสติกพีวีซี และกิจกรรมทางด้านการเกษตรซึ่งใช้
  • 15. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 8 สารประกอบปรอทเป็นยาปราบศัตรูพืชและฆ่าเชือรา สารประกอบอินทรีย์ของปรอทไม่มีในธรรมชาติ แต่เกิดขึน จากการเปลี่ยนรูปในอุตสาหกรรมต่างๆ หรือโดยกระบวนการทางชีวภาพที่มีจุลินทรีย์ (methanogenic bacteria) ที่อยู่ใต้น้าเป็นตัวการส้าคัญ ส้าหรับความเป็นพิษ ไอของปรอทจัดว่ามีพิษร้ายแรงที่สุด แต่เนื่องจากปรอทมีความดัน ไอต่้ามาก ดังนันโอกาสจะได้รับไอปรอทเข้าสู่ร่างกายจึงน้อย ส่วนมากปรอทจะเข้าสู่ร่างกายได้โดยทางน้าและ อาหาร แหล่งน้าธรรมชาติทั่วไปจะมีปรอทน้อยกว่า 1 ไมโครกรัม/ล. ในขณะที่อาหารบางชนิดจะมีปรอทเจือปนอยู่ ในช่วง 10-70 ไมโครกรัม/ มก. อัตราการรับปรอทเข้าสู่ร่างกายคือไม่เกิน 0.3 มก./วัน ส้าหรับคนที่มีน้าหนัก 70 กก. Hg2CI2 และ HgCI2 เป็นสารประกอบอนินทรีย์ของปรอทที่ละลายน้าได้ เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปกัดทางเดิน อาหารและไตได้ อย่างไรก็ตาม ความเป็นพิษยังไม่ร้ายแรงนักเมื่อเทียบกับสารประกอบอินทรีย์ของปรอท เช่น dimethylmercury และ methylethylmercury ซึ่งละลายได้ดีมากในไขมัน ดังนัน เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปสะสม ตามเนือเยื่อที่มีไขมันสูง เช่น มันสมอง และจะไปขัดขวางการท้างานของระบบประสาท ท้าให้ระบบประสาท ผิดปกติเกิดอาการของโรค มินามาตะ ซึ่งเป็นโรคหนึ่งที่เกิดจากการสะสมโลหะพิษเพิ่มขึนในห่วงโซ่อาหารหรือมี การเพิ่ม ความเข้มข้นทางชีวภาพ (Biological magnification) ตะกั่ว (Pb) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากไม่ค่อยพบ ในแหล่งน้าธรรมชาติ ยกเว้นน้าในแม่น้าล้าคลองที่อยู่ในเขตชุมชน ซึ่งอาจมีการปนเปื้อนของตะกั่วจากไอเสีย รถยนต์ ตะกั่วในน้าประปาอาจมาจากท่อประปาโลหะที่มีตะกั่วผสมอยู่หรือท่อพลาสติกบางชนิด การละลายของ ตะกั่วจะขึนกับคุณสมบัติของน้า เช่น น้าอ่อนหรือน้าที่มีกรดเล็กน้อย รวมทังน้าฝนที่มักจะมีคาร์บอนไดออกไซด์ ละลายอยู่สูง และน้าในพรุ (swamp waters) ซึ่งมีกรดฮิวมิกและคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ จะละลายตะกั่วได้ดี โลหะ ที่ใช้ส้าหรับเก็บน้าไม่ควรทาภายในด้วยสีที่มีตะกั่วเจือปนอยู่ พิษของตะกั่วอาจเกิดจากการกินอาหารหรือน้าที่มี ตะกั่วเจือปน รวมทังการหายใจเอาอากาศที่มีตะกั่ว เช่น ควันบุหรี่ ร่างกายคนเราสามารถขับตะกั่วออกไปได้ หาก ได้รับตะกั่วทังหมดไม่เกิน 0.3-0.4 มก./วัน มีรายงานว่าพบพิษของตะกั่วจากการดื่มน้าที่มีความเข้มข้นของตะกั่วใน น้าช่วง 0.04 - 1 มก./ล. หรือมากกว่า ในขณะที่ความเข้มข้นประมาณ 0.1 มก./ล. ก็มีพิษต่อปลาแล้ว พิษของตะกั่ว แบบเฉียบพลันมีอยู่หลายอาการ เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ วิงเวียน การกระตุกของกล้ามเนือ ฯลฯ ส้าหรับพิษเรือรัง ที่ส้าคัญ ได้แก่ โรคโลหิตจาง เนื่องจากตะกั่วไปขัดขวางการสร้างฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี ยังอาจมี ผลต่อระบบประสาทด้วย อาร์เซนิก (As) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสารหนู เป็นสารพิษที่รู้จักกันดี การปะปนในน้าแม้เพียงเล็กน้อยก็ต้องหาแหล่งที่มา ซึ่งอาจจะมาจากท่อระบายน้าเสีย แหล่งบริเวณแร่เหล็ก หรือแหล่งเหมืองเก่า เหมืองร้าง เช่นกรณีที่อ้าเภอร่อนพิบูลย์ จ. นครศรีธรรมราช ซึ่งวัด
  • 16. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 9 ปริมาณสารหนูในบ่อน้าตืนที่เคยเป็นเหมืองเก่าได้สูงถึง 2.47 มก./ล. และในน้าประปา 0.07 มก./ล. จนเป็นสาเหตุ ท้าให้เกิดอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ขับถ่ายผิดปกติ ชาบริเวณปลายมือ ปลายเท้า อาการเท้าตก นิวเน่า ผิวหนัง ด้า แห้งกร้าน ซึ่งต่อไปจะเป็นมะเร็วผิวหนัง อาการเช่นนีชาวบ้านเรียกว่า ไข้ด้า แคดเมียม (Cd) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก แคดเมียมในธรรมชาติส่วนใหญ่พบปะปนอยู่กับแร่สังกะสีทุกชนิด มีส่วนน้อยที่อยู่ในรูปแคดเมียมซัลไฟด์ (CdS) แคดเมียมถูกน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคลือบผิวและซุนโลหะ ใช้ผสมในสีบาง ชนิด ผสมในน้ามันเครื่อง ยางและพลาสติกแหล่งน้าคุณภาพดีควรมีแคดเมียมต่้ากว่า 1 ppb แต่น้าธรรมชาติทั่วไป อาจมีอยู่สูงถึง 10 ppb ในน้าที่มีแต่แคดเมียมอย่างเดียวที่ความเข้มข้นเฉลี่ย 0.047 มก./ล.จะไม่มีผลต่อสุขภาพ หากใช้ดื่มกิน แต่การทดลองในต่างประเทศพบว่าแคดเมียมจะสะสมเพิ่มขึนในไตและตับของหนูที่เลียงด้วยน้าที่มี แคดเมียม 0.1 - 10 มก./ล. แคดเมียมเข้าสู่ร่างกายได้ทังทางน้าและอาหาร ควันบุหรี่ก็เป็นอีกแห่งหนึ่งที่มีแคดเมียม เพราะบุหรี่ 1 มวนมีแคดเมียมประมาณ 1.3 ไมโครกรัม เช่นเดียวกับปรอท ตะกั่วและสารหนู เมื่อแคดเมียมเข้าสู่ ร่างกายจะเริ่มสะสมและเพิ่มปริมาณขึนตามอายุ แคดเมียมในร่างกายในปริมาณสูงท้าให้คนและสัตว์เป็นหมัน เป็น มะเร็ง และโรคความดันโลหิตสูง ก่อความเสียหายต่อตับและไต พิษเรือรังจากแคดเมียมที่รู้จักกันดีคือโรค อิไต-อิไต (Itai - Itai) ซึ่งมีอาการสายตาผิดปกติและปวดกระดูกตามน่อง ซี่โครง และสันหลัง 5.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.5 MPM ไม่ผ่าน อี. โคไล (E.coli) มี ไม่ผ่าน
  • 17. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 10 เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก Escherichia coli (E.coli) และ Aerobacter aerogenes (A.aerogenes) โดยที่ E.coli เป็นแบกทีเรียที่อาศัยอยู่ในล้าไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น ส่วน A.aerogenes นัน มักจะอาศัยอยู่ในดินและพืช ดังนัน การตรวจพบโคลิฟอร์มแบกทีเรียในน้า จึงไม่ได้เป็นการยืนยันว่าน้านันได้รับการ ปนเปื้อนจากของเสียของคนหรือสัตว์ อี. โคไล (E.coli) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค 5.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไม่เหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ในการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา โดยเฉพาะมีเชื่อ E.coli เจือปนอยู่ ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค 6. การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 และมีปริมาณของ แคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีความเป็นกรด-ด่าง (Acidity-Alkalinity) และความกระด้าง (Hardness) หรือไม่ พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของแต่ละ คุณสมบัติ ตอบ การตรวจสอบค่า pH ของน้าประปาในพืนที่แห่งหนึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 8.5 ซึ่งมีความเป็นด่างสูง ความเป็น ด่างของน้าตามธรรมชาติมักเกิดจากคาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต ไฮดรอกซิล บอเรต (H2BO3 -) ฟอสเฟต (HP4 -2, H2, PO4 -, ) ซิลิเกต (SiO3 -2) ซัลไฟด์ (HS-) และแอมโมเนีย (NH3) โดยละลายออกมาจากชันดิน หินและบรรยากาศลงสู่ แหล่งน้า เกลือฟอสเฟตจะมาจากผงซักฟอกหรือปุ๋ย หรือแม้แต่สารเคมีปราบศัตรูพืชที่ใช้ในการเกษตร ส้าหรับ ไฮโดรเจนซัลไฟด์และแอมโมเนียอาจมาจากการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ การตรวจสอบปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 150 มก./ล. CaCO3 มีความกระด้าง (Hardness) อยู่ระดับน้ากระด้างเล็กน้อยและน้ากระด้างปานกลาง เกิดจากความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ +2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2) แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทัง เหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3) โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความ
  • 18. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 11 กระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2 และ Mg+2 ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมี หน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียมคาร์บอเนต น้าที่มีความกระด้างมากจะมีผลเสีย คือ ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้าปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือ ตกตะกอนดังสมการ จึงต้องใช้สบู่เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรัน พวกนีจะท้าตัวเป็นฉนวนท้าให้สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้ เพราะการ ขยายตัวของตะกรันกับแผ่นเหล็กของหม้อน้าไม่เท่ากัน เกิดรอยกระเทาะ น้าเย็นในหม้อน้าที่มาถูกกับรอย แตกจะกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว จึงเกิดความดันขึน นอกจากนีน้ากระด้างชั่วคราวยังมีผลท้าให้เกิดการกัด กร่อนในหม้อน้าได้เนื่องจาก CO2 ที่แตกตัวออกมาเมื่อได้รับความร้อน ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็นประจ้า อย่างไรก็ตาม น้ากระด้างปานกลางยังมีประโยชน์ คือ ก. น้ากระด้างจะมีรสชาติน่าดื่มมากกว่าน้าอ่อน ข. น้าอ่อนไม่เหมาะที่จะใช้เป็นน้าประปา เพราะจะมีฤทธิ์กัดกร่อนตะกั่วที่ใช้ท้าท่อน้า การใช้น้า กระด้างในน้าประปาจะท้าให้เกิด PbCO2 หุ้มผิวท่อภายใน ตะกั่วจึงไม่ละลายออกมา ค. จากสถิติทางแพทย์พบว่า ผู้บริโภคน้าอ่อนจะมีโอกาสป่วยด้วยโรคหัวใจ (Cardio-Vascular disease) สูงกว่าผู้บริโภคน้ากระด้าง 7. การปล่อยสารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดปทุมธานีสู่คลองรังสิต ได้ตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และ มากกว่าไนเตรทตามล้าดับ จงอธิบายปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณกี่วัน พร้อมวาดรูปประกอบ และบอกผลกระทบของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า ตอบ จากการตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนียมากกว่าไนไตรท์และมากกว่าไนเตรทตามล้าดับ แสดง ปรากฏการณ์นีมีปล่อยน้าเสียลงคลองมาแล้วประมาณ 20-30 วัน
  • 19. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 12 Protein saprophytic NH3 nitrosomonas NO2 nitrobacter NO3 NO3 - NO2 - NH3/N2 โดยปกติปริมาณสารประกอบไนโตรเจนทัง 2 ประเภท จะละลายเจือปนอยู่น้อยในแหล่งน้าผิวดินธรรมชาติที่ ยังไม่เน่าเสีย เช่น แอมโมเนียจะละลายอยู่น้อยกว่า 1 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย (mg/l as N-NH3) ส่วนไนเตรทมีอยู่ประมาณ 0.3 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปไนเตรท (mg/1 as N-NO3 -) น้าบาดาลหรือน้าใต้ดิน มักจะมีไนเตรทอยู่สูงกว่าน้าผิวดิน ส้าหรับไนไตรท์มักจะหาค่าไม่ได้เพราะไม่คงตัว เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบ อินทรีย์ไนโตรเจนจะถูกย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึนตามเวลาและ ระยะทางที่น้าไหลล่อง (รูปที่ 2.5) ในสมัยก่อนเคยใช้ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้า ปรากฏว่ามีแอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของเสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่า ตัวอื่นหรือมากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านันเคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะสารอินทรีย์ ถูกย่อยสลายไปหมดแล้ว รูปที่ ไนโตรเจนรูปต่างๆ ที่ปรากฏในแหล่งน้าเสียที่ยังพอมีออกซิเจนเจือปนอยู่ ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า bacteria
  • 20. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 13 ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อย สลายอย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจน ละลายน้าลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1 มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา และก่อปัญหาถ้าส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไน ไตรท์และไนเตรทได้ แอมโมเนียจะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง นอกจากนี ยังเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าถ้ามีมากกว่า 2.5 มก./ล. ในกรณีที่ล้าน้ามี pH ต่้ากว่า 7 แอมโมเนียมักจะ ละลายน้าอยู่ในรูป NH4 + และจะถูกยึดด้วยสารประกอบที่มีประจุลบในตะกอนดิน เช่น (NH4)2CO3 แต่จะ มีพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าน้อยกว่าแอมโมเนีย นอกจากนี ยังถูกยึดไว้จึงถูกชะล้างออกมาได้ยากกว่า ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน เพราะล้าไส้เล็กของเด็กในวัยนีจะมี ความเป็นกรดพอดีกับความต้องการของ nitratereducing bacteria ซึ่งจะเปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท์ เมื่อไนไตรท์ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้ สารประกอบสีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและเสียชีวิต อาการเช่นนี เรียกว่า Blue baby syndrome หรือ Methemoglobinemia และเคยเกิดขึนในประเทศสหรัฐอเมริกา ในอดีตมาก่อน นอกจากนี ยังมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือระบุว่า ไนเตรทเองเป็นสารก่อมะเร็งได้ด้วย 8. ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มี กรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง มีกรรมวิธีการ ผลิตแตกต่างกันไป ดังตารางแนบ ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. และความขุ่นสูง ระบบประปา ความเหมือน ความแตกต่าง ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก แหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. -ประกอบด้วยถังเก็บน้าใสและหอ สูง -ระบบประปาความขุ่นน้อยกว่า 50 มก/ล เป็นระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filter)
  • 21. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 14 ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก แหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นเกินกว่า 50 มก./ล. -มีการกรองผ่านชันทราย แต่คนละ ระบบ -เติมคลอรีนก่อนส่งสูงระบบ แจกจ่าย -ระบบประปาความขุ่นมากกว่า 50 มก/ล เป็นระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filter) ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นไม่เกิน 50 มก./ล. อ่างเก็บน้าหรือทะเลสาปถ้าอยู่ห่างจากถิ่นที่อยู่อาศัยจะมีน้าใสและสะอาดพอควร ในกรณีนีอาจใช้ระบบ ทรายกรองช้า ซึ่งไม่ต้องอาศัยสารส้มช่วยตกตะกอนก่อน การประปาบางแห่ง เช่น ที่อ้าเภอกระนวน จังหวัด ขอนแก่น จะมีสระตกตะกอน (pre-sedimentation pond) เพื่อท้าให้น้าใสก่อนเข้าระบบทรายกรอง เพราะในฤดู ฝนน้าอาจมีความขุ่นเพิ่มขึนและไม่เหมาะสมที่จะผ่านเข้าสู่ถังกรองโดยตรง เนื่องจากจะท้าให้ทรายกรองอุดตันเร็ว ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าผิวดินที่มีความขุ่นเกินกว่า 50 มก./ล. การประปาชุมชนขนาดใหญ่ส่วนมากจะอาศัยแหล่งน้าจากแม่น้า เนื่องจากมีปริมาณมากพอเพียง น้าผิว ดินประเภทนีมีความขุ่นสูง ดังนัน กรรมวิธีการผลิตจึงต้องอาศัยสารช่วยท้าให้ตกตะกอนเร็วขึน เช่น สารส้ม กรรมวิธีตังแต่การผสมสารส้ม เกิดตะกอน ตกตะกอนจนกระทั่งกรองมักนิยมเรียกรวมว่าระบบทรายกรองเร็ว
  • 22. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 15 9. การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็ก จ้าเป็นต้องเติมคลอรีนก่อน เข้าสู่ระบบแจกจ่าย จงอธิบายปฏิกริยาของคลอรีนในน้าในแต่ละช่วงอย่างละเอียด พร้อมวาดรูป ประกอบและเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตราย ต่อบริโภคจะต้องท้าอย่างไร พร้อมเขียนปฏิกริยาเคมีดังกล่าว ตอบ รูป ปฏิกิริยาของคลอรีนในน้า ช่วงที่ 1 คลอรีนจะท้าปฎิกริยากับสารอนินทรีย์และสิ่งปะปนอื่นๆ ในน้าจนหมดไม่มี residual chlorine เหลืออยู่ จะไม่มีการฆ่าเชือโรคเกิดขึนในช่วงนี ช่วงที่ 2 คลอรีนท้าปฎิกริยากับสารอินทรีย์ในน้าเกิดมีสารประกอบ Chloroorganic จะมีการฆ่าเชือโรค บ้างเล็กน้อย ช่วงที่ 3 เป็นระยะการท้าปฎิกริยาระหว่างคลอรีนกับแอมโมเนียดังสมการ NH3 + HOCI H2O + NH2CI (monochloramine) คลอรีนคงค้างที่มีเหลืออยู่ในน้าเกือบทังหมดจะ เป็นโมโนคลอรามีน (monochloramine) ทดลองหาได้โดยวิธีออร์โธโทลิดิน ซึ่งจะพบคลอรีนรวมคงค้าง ช่วงที่ 4 เป็นระยะที่ปฎิกริยา Oxidize ของ NH3 กับ CI2 ด้าเนินต่อไปจนสมบูรณ์ โดยคลอรีนที่เพิ่มลงไป จะ Oxidize หรือเปลี่ยนรูปคลอรามีน และสารประกอบคลอรีนอินทรีย์ (chloro-organic compound) ดังปฎิกริยา NH2CI + HOCI H2O + NHCI2 (dichloramine) NHCI2 + HOCI H2O + NcI3 (nitrogen trichloride)
  • 23. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 16 ช่วงที่ 5 คลอรีนที่เพิ่มลงไปจะเป็นคลอรีนอิสระคงค้างกับสารประกอบคลอรีนอินทรีย์ เชือโรคที่ยัง หลงเหลืออยู่ในน้าจะถูกท้าลายโดย free residual จ้านวนนี จากช่วงที่ 1 - 4 (breakpoint) ปริมาณคลอรีนเรียกว่าความต้องการคลอรีน (chlorine demand) จากช่วงที่ 1 - 5 ปริมาณคลอรีนเรียกว่าปริมาณป้อนคลอรีน (chlorine dosage) นอกจากคลอรีนจะรวมตัวกับ NH3 ให้คลอรามีนที่ฆ่าเชือโรคได้บ้างแล้ว คลอรีนยังรวมตัวกับ สารประกอบอินทรีย์ของไนโตรเจน (organic nitrogen) เช่น amino acid ซึ่งเกิดจากการย่อยสลาย (decomposition) ของโปรตีนและยูเรีย และได้คลอรามีนอินทรีย์ (organic chloramine) ซึ่งมี ประสิทธิภาพในการฆ่าเชือโรคน้อยกว่า ammonia chloramine มาก อัตราเร็วของปฎิกริยาเบรคพอยท์ (breakpoint reaction) ขึนอยู่กับ pH ของน้า อัตราสูงสุดจะอยู่ ระหว่าง pH 6.5 - 8.5 จากการทดลองพบว่าระยะเวลา 30 นาทีหรือนานกว่านีเป็นเวลาที่เหมาะสม ดังนัน ในการเติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชือโรคในน้าจึงต้องใช้เวลาสัมผัส (contact time) ไม่น้อยกว่า 30 นาที เพื่อให้ เกิดมี free residual chlorine ขึนก่อนจะจ่ายน้าประปาสู่ระบบท่อจ่ายน้า ถ้าหากปริมาณคลอรีนในน้าประปามีค่ามากจนเกิดอันตรายต่อบริโภค จะต้องท้าการลดคลอรีน (Dechlorination) บางครังเมื่อน้าดิบมีคุณภาพต่้า คลอรีนจ้านวนมากจะถูกเติมลงในน้าประปาเพื่อให้ แน่ใจในการฆ่าเชือโรคหรือลดกลิ่นรส ซึ่งจะมีคลอรีนคงค้างจ้านวนมากหลงเหลืออยู่ และจะต้องก้าจัด ออกบ้างก่อนจะจ่ายสู่ระบบจ่ายน้า โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น เติม สารทอน (reducing chemical) ได้แก่ SO2 (sulfur dioxide), NaHSO3 (Sodium bisulphite) และ Na2SO3 (sodium sulphite) ซึ่งปฎิกริยา จะเป็นดังนี SO2 + CI2 + 2H2O H2SO4 + 2HCI NaHSO3 + CI2 + H2O NaHSO4 + 2HCI การลดปริมาณคลอรีนโดยใช้เม็ดถ่านกัมมันต์ จะดูดซับ CI2 และถูก oxidize เป็น CO2 C + 2CI2 + 2H2O CO2 + 4 HCI นอกจากนี การเติมอากาศ (Aeration) ยังช่วยลด HOCI, NH3, CI2 และ NCI3
  • 24. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 17 10. การก้าจัดปริมาณของก๊าซไนโตรเจนออกจากน้าดิบที่มาจากบ่อบาดาล สามารถก้าจัดโดยวิธีการฉีด พ่นน้าไปในอากาศ น้าดิบจะแตกตัวเป็นหยดน้าขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร ความเข้นข้นของก๊าซไนโตรเจนในน้าดิบ 30 มก./ล. ภายหลังจากการสัมผัสอากาศเป็นเวลา 1 วินาที ปรากฏว่าความเข้มข้นลดลงไปประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยค่าสัมประสิทธิการถ่ายเทก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ 290 ซม./ชม. จงหาค่าความเข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน ตอบ ก้าหนดให้ CO = 30 มก./ล., Ct = 15 มก./ล., kg = 290 ซม./ชม. และ CS = ? มก./ล. ปริมาตร V = 𝜋D3 /6 พืนที่ผิว A = 𝜋D2 จะได้ V/A = D/6 และ Kg = 290 ซม./ชม. Kg = 290/(60x60) = 0.0805 ซม./วินาที จาก Kg = kg . A/V = 0.0805. 6/0.5 = 0.966 วินาที-1 การถ่ายเทของก๊าซจะเป็นไปในลักษณะการเกินอิ่มตัว จาก Ct - CO = (CS - CO) [1 - exp ( -Kg.t)] 15 - 30 = (Cs- 30) [1 - exp (- 0.966 X 1)] - 15 = (Cs- 30) (1 – 2.718-0.966) Cs = 5.78 มก./ล. ค่าความเข้มข้นอิ่มตัวของก๊าชไนโตรเจน 5.78 มก./ล.
  • 25. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 18 11. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยม ประยุกต์ใช้ในการเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตัง ถาดเติมอากาศชันบนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 3 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบน และล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของ ระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ ก้าหนดให้ เมื่อ n = 7 และ h = 3 เมตร t = √2𝑛ℎ/𝑔 = √2 𝑥 7 𝑥 3/9.81 ระยะเวลาสัมผัสส้าหรับการตก 7 ระยะ = 2.07 วินาที ระยะห่างระหว่างตะแกรงในการตก 7 ระยะ = 3/7 = 0.43 เมตร ซึ่งมีความเหมาะสม เพราะมีระยะห่าง ระหว่างถาดประมาณ 30-50 ซม. ตามมาตราฐาน h = 3 เมตร 12. จงอธิบายโครงสร้างของระบบทรายกรองช้าอย่างละเอียดในแต่ละขันตอน พร้อมวาดรูปประกอบ และ อธิบายการท้างานของชันทรายกรองและปรากฏการณ์การเกิดชมุทเดกเก พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ โครงสร้างของระบบทรายกรองช้าแสดงไว้ในรูป ประกอบด้วย 1. ส่วนเก็บกัก (supernatant water reservoir) น้าดิบจะถูกสูบเข้ามาเก็บกักไว้เหนือชันทราย ความสูงของ ชันน้านีจะท้าให้มีความดันไหลผ่านขันทรายได้ เมื่อระดับน้าชันนีคงที่ ค่าความดันก็จะคงที่ตลอดเวลาการ กรอง โดยปกติความสูงของน้าอยู่ระหว่าง 1.0 - 1.5 เมตร 2. ขันทรายกรอง สิ่งสกปรกทังหลายจะถูกก้าจัดในชันนี ซึ่งเป็นชันทรายที่มีความหนาระหว่าง 0.6 - 1.2 เมตร
  • 26. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 19 3. ระบบท่อรับน้ากรอง (under-drainage System) ส้าหรับรวบรวมน้าสะอาดและน้าไปสู่ถังเก็บ ปกติเหนือ ชันนีจะมีชันกรวด (gravel bed) ทับอยู่ เพื่อท้าหน้าที่กันมิให้ทรายไหลลงมาและอุดตันระบบรับน้ากรองนี 4. ระบบประตูน้าควบคุมการไหล (control valves) ต่อไว้กับท่อรับน้ากรองภายนอกถังและอยู่ก่อนถังเก็บ น้าสะอาด ประตูน้าจะเป็นตัวควบคุมความเร็วของการไหล นอกจากนัน ยังใช้ส้าหรับปรับระดับความสูง ของน้าในส่วนเก็บกักด้วย รูป โครงสร้างของระบบทรายกรองช้า ความลึกของถังกรองอยู่ระหว่าง 2-3 เมตร บางแห่งอาจจะลึกกว่านีแต่จะท้าให้สินเปลืองค่าก่อสร้าง โดยที่ ขนาดพืนที่ของถังกรองใหญ่มากจึงนิยมใช้สร้างแบบขุดเป็นบ่อแล้วดาดคอนกรีตที่ก้นและรอบข้าง ขอบบ่ออาจเป็น แนวตังหรือเอียงลาดก็ได้ เช่นระบบทรายกรองชาของอ้าเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น (รูปที่ 5.2) ซึ่งมีถังกรอง 2 ถัง ขนาดพืนที่ถึง 40 x 25 เมตร จะเป็นแบบขุดดินลงไปแล้วดาดคอนกรีตขอบบ่อแบบลาดเอียง นอกจากคอนกรีต แล้วอาจใช้วัสดุอื่น เช่น อิฐ หิน ดาดแทนก็ได้ ทังนีขึนอยู่กับความประหยัดและวัสดุหาง่ายในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม ต้องระวังการรั่วซึมสูญหายของน้าซึ่งอาจเกิดขึนได้ การท้างานของชันทรายกรอง การก้าจัดสิ่งปะปนในน้าดิบโดยชันทรายกรองทังในด้านกายภาพ เคมี และแบกทีเรียเป็นไปดังนี แรกเริ่ม น้าดิบจะพักอยู่เหนือชันทรายรอเวลาไหลซึมผ่านในชันทรายกรอง ระยะเวลาพักโดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3 - 12 ชม. ขึนอยู่กับอัตราการกรอง สิ่งปะปนที่หนักกว่าจะค่อยๆ จมลงก่อนส่วนที่เบานันอาจลอยค้างอยู่ ในเวลากลางวันที่มี แสงแดด แอลจี (สาหร่ายเซลล์เดียว) จะเจริญเติบโตและดูดซึมเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนเตรท ฟอสเฟต และ สิ่งที่เป็นอาหารอื่นๆ เพื่อใช้ในการสร้างเซลล์ ออกซิเจนจะถูกคายออกมาและท้าปฏิกิริยาเคมีกับสารอินทรีย์ในน้า ซึ่งจะช่วยให้การดูดซับของแอลจีเป็นไปโดยง่ายขึน ที่ผิวหน้าของชันทรายจะมีสิ่งสกปรกสะสมอยู่เป็นชันฟิล์มบางๆ