SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น.
คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 13 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน
2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต
3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ
5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน
สมุด
6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ
6.1เครื่องคิดเลข
6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน
7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม
ขั้นตอนที่คิดได้
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ
ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต.............................
คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800
ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................
*ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา*
**ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา**
***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
1
1. จงอธิบายหลักการวัฏจักรของน้า (Water Cycle) พร้อมวาดรูปประกอบ และระบุแหล่งน้าดิบใดบ้างที่
สามารถผลิตเป็นแหล่งน้าประปาได้
2. จงอธิบายความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก (Shallow
and Depth Ground Water Walls) โดยเลือกมาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ
3. จงอธิบายหลักการของชันน้าบาดาล ทังสองประเภท ได้แก่ ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Confining Aquifer)
และชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร พร้อมวาด
รูปประกอบ
4. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 5 ปลาตินัม
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ
ความขุ่น (Turbidity) 6 ซิลิกา
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
เหล็ก (Fe) 0.5
มังกานีส (Mn) 0.5
ทองแดง (Cu) 1.2
สังกะสี (Zn) 5.0
คัลเซียม (Ca) 80
มักเนเซียม (Mg) 55
ฟลูออไรด์ (F) 0.7
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.001
ตะกั่ว (Pb) 0.06
อาร์เซนิก (As) 0.05
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
2
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ)
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
แคดเมียม (Cd) 0.001
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.0 MPM
อี. โคไล (E.coli) มี
4.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
4.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum
Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย
4.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
4.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป
บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด
5. จากการตรวจสอบค่าปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตของแหล่งน้าบาดาลแห่งหนึ่ง เท่ากับ 300 มก./ล.
CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีระดับความกระด้าง (Hardness) เท่าใด พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของ
แต่ละคุณสมบัติ
6. การย่อยสลายของประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรมใน
เขตจังหวัดสมุทรปราการลงสู่คลองแห่งหนึ่ง ได้ตรวจพบว่ามีสารประกอบอนินทรีย์ไนโตรเจน (Inorganic
Nitrogen Compound) ได่แก่ แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไนเตรท ตามล้าดับ จงอธิบายกระบวนการย่อย
สลายสารประกอบข้างต้นอย่างละเอียด พร้อมเขียนสมการทางเคมีประกอบ และบอกผลกระทบของ
สารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
7. ระบบประปาผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา
ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูป
ประกอบ
8. การฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็กมีอะไรบ้าง พร้อมเปรียบเทียบข้อดีและ
ข้อเสียของแต่ละวิธี โดยจัดท้าเป็นแบบตารางเปรียบเทียบ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
3
9. จงอธิบายหลักการของการเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ได้แก่ เครื่องเติมอากาศแบบไหล
หลั่น (Cascade Aerator) แบบพืนลาดเอียง (Inclined Plane) แบบหอ (Tower) และแบบถาดหลายชัน
(Multiple Tray) พร้อมวาดรูปประกอบ
10. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยมประยุกต์ใช้ใน
การเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตังถาดเติมอากาศชัน
บนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 2 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบนและล่าง จ้านวน 6 ถาด
จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของระยะห่างของแต่ละถาดมีความ
เหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ
11. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการ
น้าไปทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามาทดสอบ
จ้านวนทังหมด 10.00 กิโลกรัม
ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักของทรายที่ค้างบนตะแกรง (กิโลกรัม)
1.0 0.5
0.75 0.5
0.7 1.0
0.5 2.0
0.4 3.0
0.3 3.0
11.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง
11.2 ทรายกรองที่น้ามาใช้มีความเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด
12. การออกแบบระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Buffle Flocculator) ในระบบประปาทรายกรองเร็ว
โดยมีการออกแบบถังตกตะกอนแบบแผ่นกัน ชนิดแนวนอน ก้าหนดให้มีก้าลังการผลิตน้าในแต่ละวัน
เท่ากับ 10,000,000 ลิตร ระยะเวลาการท้าตะกอนอย่างน้อย 20 นาที ความเร็วของการไหล 20 ซม./
วินาที และก้าหนดให้ระยะห่างระหว่างแผ่นกัน 0.40 เมตร แผ่นกันมีขนาดความหนาแผ่นละ 8 เซนติเมตร
และมีความกว้าง 3.50 เมตร จงหาค่าความกว้างและยาวของถังตกตะกอน พร้อมวาดรูปประกอบ
13. จงอธิบายหลักการและการท้างานของถังตกตะกอนแบบไหลขึน (Upward Flow Settling Tank) พร้อม
วาดรูปประกอบ
เฉลยข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
_________________________________________________________________
สามารถสแกน QR Code เพื่อดูคลิปวิดีโอใน Youtube
SCAN ME
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น.
คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 13 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน
2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต
3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ
5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน
สมุด
6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ
6.1เครื่องคิดเลข
6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน
7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม
ขั้นตอนที่คิดได้
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ
ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต.............................
คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800
ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................
*ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา*
**ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา**
***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
1
1. จงอธิบายหลักการวัฏจักรของน้า (Water Cycle) พร้อมวาดรูปประกอบ และระบุแหล่งน้าดิบใดบ้าง
ที่สามารถผลิตเป็นแหล่งน้าประปาได้
ตอบ
การหมุนเวียนของน้าในโลก (Water Cycle) เริ่มต้นจากไอน้าในบรรยากาศรวมตัวเป็นหมอก เมฆ กลั่นตัว
เป็นน้า แล้วตกลงสู่พืนโลก (precipitation) บางสภาวะอาจอยู่ในสภาพของแข็ง เช่น ลูกเห็บหรือหิมะ ก่อนจะถึง
พืนดินน้าบางส่วนได้รับความร้อนจากผิวโลกจะระเหยเป็นไอ (evaporation) กลับคืนสู่บรรยากาศ เมื่อแรกที่ผิวดิน
ยังแห้ง น้าฝนจะถูกดินดูดไว้ เมื่อดินอิ่มตัว น้าก็จะเอ่อล้นและไหลหลั่งเป็น น้าท่า (runoff) ไปตามผิวดิน จนกระทั่ง
ลงสู่แม่น้าล้าคลอง ตลอดจน หนอง บึงต่าง ๆ น้าฝนส่วนหนึ่งจะระเหยจากพืนดินหรือผิวน้ากลับขึนสู่บรรยากาศ อีก
ส่วนหนึ่งจะถูกพืชดูดไว้และระเหยออกทางใบ (transpiration) กลับคืนสู่บรรยากาศเช่นกัน น้าฝนส่วนที่เหลือจะ
ซึมลงดิน (infiltration) จนถึงชันน้าอิ่มตัว ซึ่งเรียกว่า ชันน้าใต้ดินหรือน้าบาดาล (ground water) เมื่อรวมกับน้า
บาดาลเดิมแล้วก็อาจมีการไหลตามแนวราบ (percolation) ไปตามความลาดเอียงของระดับน้าใต้ดิน (ground
water table) ถ้าระดับน้าใต้ดิน ณ จุดใดอยู่สูงกว่าระดับพืนดินก็จะไหลซึมออกมาท้าให้เกิดเป็น น้าซับ (spring)
ทะเลสาป (lake) หรือบึง (swamp) แม้กระทั่งแม่น้าบางสายก็อาจมีส่วนได้รับน้าใต้ดินเช่นกัน ซึ่งแม่น้าลักษณะนี
เรียกกันว่า ล้าน้าไหลออก (effluent stream) ท้านองเดียวกัน หากว่าระดับน้าในแม่น้าอยู่สูงกว่าระดับน้าใต้ดินก็
จะมีการไหลของน้าในแม่น้าลงสู่ชันน้าบาดาล ซึ่งเรียกแม่น้าประเภทนีว่า ล้าน้าไหลเข้า (influent stream) อย่างไร
ก็ตาม น้าในชันบาตาลก็ยังอาจระเหยเป็นไอกลับขึนสู่บรรยากาศได้อีก ไอทุกประเภทรวมทังจากแหล่งใหญ่คือ
ทะเลและมหาสมุทร เมื่อขึนสู่บรรยากาศแล้วก็จะกลั่นตัวกลับเป็นน้าฝนตกสู่พืนโลก และเริ่มวัฏจักรใหม่ ไม่มีสินสุด
ในการผลิตน้าสะอาดเพื่อบริการแก่ชุมชนนัน ต้องค้านึงถึงปริมาณของแหล่งน้าที่จะให้น้าได้พอเพียงตลอดทุก
ฤดูกาล ซึ่งอาจแยกประเภทตามลักษณะน้าได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. น้าผิวดิน (Surface Water) ได้แก่ น้าท่าซึ่งเกิดจากการไหลล้นบนผิวดินลงมารวมกัน แหล่งน้านีคือ แม่น้า
ล้าคลอง น้าตก อ่างเก็บน้า ทะเลสาป หนอง บึง
2. น้าบาดาล (Ground Water) คือ น้าซึ่งไหลซึมลึกลงใต้ดินจนสุดท้ายถูกเก็บกักไว้ในช่องว่างของชันหิน
จนกระทั่งชันหินนันอิ่มตัวด้วยน้า แหล่งน้าบาดาล ได้แก่ บ่อบาดาล บ่อน้าซับ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
2
รูป การหมุนเวียนของน้าในโลก
2. จงอธิบายความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก
(Shallow and Depth Ground Water Walls) โดยเลือกมาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาด
รูปประกอบ
ตอบ ความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก (Shallow and Depth
Ground Water Walls) ดังตารางที่แนบมา
กระบวนการขุดบ่อบาดาล ความเหมือน ความแตกต่าง
กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืน
(Shallow Walls)
- ใช้แหล่งน้าใต้ดิน - ค่าใช้จ่ายต่้ากว่า
- ใช้เครื่องมือหรือคนขุด
- น้าที่ได้จะขึนลงตามฤดูการณ์
- คุณภาพของน้าต่้ากว่า
กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก
(Depth Ground Water Walls)
- ค่าใช้จ่ายสูง
- คุณภาพของน้าที่ได้ดีกว่า
- ใช้เทคโนโลยีขันสูงในการขุด
- น้าที่ได้จะมีความสม่้าเสมอ
ตลอดอายุการใช้งาน
- คุณภาพของน้าดีกว่า
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
3
น้าบ่อตืน (shallow well) ลักษณะของบ่อจะเป็นขอบคอนกรีตกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
หนึ่งเมตร ฝังลึกจากพืนดินลงไปตังแต่สามเมตรจนถึงสิบกว่าเมตร ขึนอยู่กับระดับน้าใต้ดินในท้องที่นัน น้าในบ่อมา
จากการไหลซึมของน้าใต้ดิน เข้ามาตามรูพรุนของขอบบ่อหรือซึมขึนมาจากก้นบ่อ ซึ่งอาจกรุไว้ด้วยชันกรวด
ปริมาณน้าที่ไหลเข้าสู่บ่อพอเพียงส้าหรับใช้ในครัวเรือน แต่ไม่มากพอส้าหรับใช้เป็นแหล่งน้าบริการชุมชน คุณภาพ
ของน้าอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ไม่ดีเท่าน้าบาดาลเพราะผ่านการกรองทางธรรมชาติเป็นระยะน้อยกว่า ดังนัน บางคนจึง
จ้าแนกน้าชนิดนีว่าเป็นน้าใต้ดินหรือกึ่งผิวดิน (subsurface water) การสร้างบ่อตืนที่ถูกหลักสุขาภิบาล จะต้อง
เลือกที่ตังบ่อห่างจากแหล่งโสโครก เช่น ส้วม หรือที่ทิงขยะไม่น้อยกว่า 30 เมตร โดยมีกระบวนการการขุดเจาะดังนี
1. เมื่อเริ่มขุดแล้วถ้าหากพบว่าเป็นชันดินเหนียวก็สามารถขุดลงไปได้เรื่อยๆ เพราะดินจะคงตัวอยู่
จนกระทั่งได้ความลึกที่ต้องการ นั่นคือมีน้าไหลเข้าบ่อในปริมาณที่มากพอ
2. จากนันก็เอาขอบบ่อคอนกรีตใส่ลงไปและซ้อนกันขึนมาจนสูงจากพืนดิน 50-80 ซม.
3. อัดกรวดโดยรอบขอบนอกและก้นบ่อ เพื่อให้การไหลของน้าเข้าสู่บ่อดีขึนและลดการอุดตัน
4. เอาซีเมนต์ยารอยต่อและรูรั่วต่างๆ ของขอบคอนกรีตในระยะ 3 เมตร จากพืนดิน เนื่องจากในระยะนี
เชือโรคในดินยังอาศัยอยู่ได้
5. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อ เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะและน้าสกปรกไหลลงสู่บ่อ
กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Walls) คือ การเจาะบ่อบาดาลแบบหมุน
(Rotary) เป็นวิธีการเจาะบ่อบาดาลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะสามารถขุดและหมุนหัวเจาะพร้อมๆ กับมีแรงกดให้
หัวเจาะกัดหินเป็นรูกลม สามารถเจาะได้เร็วกว่าแบบอื่นๆ โดยมีกระบวนการการขุดเจาะดังนี
1. การขุดน้าเป็นการขุด โดยใช้หัวเจาะแบบหมุนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชัน
หินดินดานหรือหินแข็ง จะต้องผ่านพ้นช่วงชันดินอ่อน ท้าการเก็บตัวอย่างดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตร
ความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล
2. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันหิน
แข็ง เพื่อป้องกันการถล่มตัวหรือการเคลื่อนตัวของหัวเจาะ
3. น้าหัวเจาะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 5 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชันน้าบาดาล ท้าการเก็บตัวอย่าง
ดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตรความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล
4. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันน้า
บาดาล โดยปลายของท่อจะกรุด้วยท่อกรองที่ท้าจากท่อ PVC หรือท่อโลหะ แซะร่อง
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
4
5. น้าปั้มบาดาลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4 นิว ติดตังตรงระดับน้าใต้ดิน และทดสอบการให้น้าของ
ชันน้าบาล โดยการสูบน้าตลอด 24 ชั่วโมงและหาระดับน้าที่ลดลงไป
6. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อบาดาล เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะ และน้าสกปรกไหลลง
สู่บ่อ
*ขนาดรูเจาะขึนอยู่กับลักษณะพืนที่และการให้น้าของชันบาดาล สามารถเปลี่ยนแปลงได้ครับ
3. จงอธิบายหลักการของชันน้าบาดาล ทังสองประเภท ได้แก่ ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Confining
Aquifer) และชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกัน
อย่างไร พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ ชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) เกิดจากน้าฝนที่ตกลงสู่โลกจะไหลซึมลงดิน บางส่วนจะถูก
ดินดูดซับไว้ ส่วนที่เหลือจะไหลซึมต่อไปจนกระทั่งถึงชันดินหรือหิน ชันหินซึ่งมีน้าเก็บกักเต็มช่องว่างนีเรียกว่า เขต
อิ่มตัว (zone of saturation) น้าในชันหินส่วนนีเรียกว่าน้าบาดาล มีระดับผิวน้าเรียกว่า ระดับน้าใต้ดิน (water
table) ชันดินที่อยู่เหนือระดับนีจะมีน้าอยู่บ้างแต่ไม่มากพอที่จะน้ามาใช้เรียกว่า เขตอากาศแฝง (zone of
aeration) การที่น้าบาดาลไม่ไหลซึมลงต่อไปอีก เนื่องจากชันน้าอิ่มตัวนีถูกรองรับไว้ด้วยชันหินเนือแน่นที่น้าไม่
สามารถซึมได้เรียกว่า ชันหินปิดกัก (confining bed) ชันหินนีอาจมีอยู่ในที่ระดับความลึกต่างๆ กัน และระหว่าง
ชันหินปิดกักก็อาจมีชันน้าอิ่มตัวกันเป็นแหล่งน้าบาดาลเช่นกันวางแทรกอยู่ ดังนัน จึงเห็นได้ว่าบ่อบาตาลแต่ละบ่อ
นันมีความลึกไม่เท่ากัน ขึนอยู่ว่าชันน้าบาดาลเหล่านีอยู่ในระดับความลึกเท่าใด จะเห็นแหล่งน้าบาดาล 2 ลักษณะ
อย่างแรกเรียกว่า ชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (water table aquifer) ซึ่งมีระดับผิวน้าเท่ากับ ระดับน้าใต้ดิน (water
table) พืนผิวความดัน (piezometric surface) ของน้าบาดาลในแหล่งนีจะมีค่าเท่ากับความสูงของระดับน้าใต้ดิน
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
5
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าถ้าเจาะบ่อบาดาลในแหล่งน้านี ระดับสถิต (static level) ของน้าในบ่อบาดาลจะเท่ากับ
ระดับน้าใต้ดิน
ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (confining Aquifer or artesian aquifer) ชันน้าบาดาลชนิดนีจะถูกขนาบอยู่
ระหว่างชันหินปิดกักทังด้านบนและด้านล่าง ดังนัน การไหลของน้าจะคล้ายกับน้าที่อยู่ในท่อ กล่าวคือ ความดันของ
น้าในจุดใดก็ตามจะมีค่าเท่ากับความสูง ณ จุดสูงสุดที่น้าขังอยู่ ถ้าต้าแหน่งพืนดินที่เจาะบ่อบาดาลอยู่ต่้ากว่าระดับนี
น้าที่ได้ก็จะพุ่งสูงเหนือระดับดิน บ่อบาดาลนีเรียกว่า บ่อบาดาลมีแรงดัน (artesian well) การวางตัวของชันน้า
ประเภทนีมักเป็นลักษณะลาดเอียง ซึ่งจะพบมากในภูมิประเทศแถบที่เป็นเชิงเขา บริเวณที่ชันน้าโผล่ขึนสู่ผิวดิน
เรียกว่า พืนที่เติมน้า (recharge area) เพราะเป็นที่รองรับให้น้าจากภายนอก เช่น น้าฝน หรือน้าจากแม่น้าล้าธาร
ไหลเข้าสู่ชันน้านี
รูป ชันน้าบาดาล
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
6
4. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 10 ปลาตินัม
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ
ความขุ่น (Turbidity) 5 ซิลิกา
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
เหล็ก (Fe) 0.5
มังกานีส (Mn) 0.5
ทองแดง (Cu) 1.2
สังกะสี (Zn) 5.0
คัลเซียม (Ca) 80
มักเนเซียม (Mg) 55
ฟลูออไรด์ (F) 0.7
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.001
ตะกั่ว (Pb) 0.06
อาร์เซนิก (As) 0.05
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ)
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย
แคดเมียม (Cd) 0.001
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.0 MPM
อี. โคไล (E.coli) มี
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
7
4.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางกายภาพ
สี (Color) 10 ปลาตินัม ไม่ผ่าน
รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ผ่าน
ความขุ่น (Turbidity) 5 ซิลิกา ผ่าน
ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7 ผ่าน
ความขุ่นในน้าผิวดินเกิดจากการสลายตัวของ ดิน หิน โคลน ออกไซด์ของโลหะที่อยู่ในดิน เยื่อไม้ แพลง
ตอนและจุลินทรีย์ น้าทิงจากอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมจะมีสารที่ท้าให้เกิดความขุ่นได้มากมาย
หลายชนิด คอลลอยด์ที่คงตัว (stable) มักเกิดจาก สบู่ ผงซักฟอก และ emulsifying agents ก็เป็นตัวท้าให้เกิด
ความขุ่นด้วย
ความขุ่นท้าให้น้าไม่เป็นที่ยอมรับ เพราะจะสังเกตเห็นได้ทันทีถ้าบรรจุในภาชนะใส สารคอลลอยด์ที่ให้
ความขุ่นจะเป็นตัวดูดซับสารเคมี อาจก่อให้เกิดสารอันตรายหรือท้าให้เกิดกลิ่นและรสที่ไม่ต้องการ การฆ่าเชือในน้า
ขุ่นจะกระท้าได้ยากขึน เพราะความขุ่นจะท้าตัวเป็นเกราะก้าบังเชือโรคไว้ ความขุ่นในน้าธรรมชาติมีสีน้าตาล แต่
อาจมีสีอื่นขึนอยู่กับคุณสมบัติการดูดกลืนแสงของสารที่ก่อให้เกิดความขุ่น ความขุ่นจะบดบังการส่องผ่านของแสง
ลงสู่น้า มีผลให้การสังเคราะห์แสงของพืชในล้าน้าและทะเลสาปลดลง นอกจากนี ความขุ่นที่ทับถมจมลงสู่กันล้าน้า
หรือทะเลสาปจะจับตัวเป็นโคลนเลน และเปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตใต้น้าต่างๆ
4.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
8
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางเคมี
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางเคมี
ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ผ่าน
เหล็ก (Fe) 0.5 ผ่าน
มังกานีส (Mn) 0.5 ไม่ผ่าน
ทองแดง (Cu) 1.2 ไม่ผ่าน
สังกะสี (Zn) 5.0 ไม่ผ่าน
คัลเซียม (Ca) 80 ไม่ผ่าน
มักเนเซียม (Mg) 55 ไม่ผ่าน
ฟลูออไรด์ (F) 0.7 ผ่าน
สารเป็นพิษ
ปรอท (Hg) 0.001 มิลลิกรัม/
ลูกบาศก์
เดซิเมตร
ผ่าน
ตะกั่ว (Pb) 0.06 ไม่ผ่าน
อาร์เซนิก (As) 0.05 ผ่าน
แคดเมียม (Cd) 0.001 ผ่าน
แมงกานีส (Manganese-Mn) โดยทั่วไปแมงกานีสมีคู่กับเหล็กในน้า แต่จะมีอยู่ในปริมาณที่น้อยกว่า น้าผิว
ดินที่ไม่มี การไหลถ่ายเทจะมีแมงกานีสสูง โดยเฉพาะบริเวณก้นอ่างเก็บน้า เนื่องจากแมงกานีสเป็นโลหะจ้าเป็น
ส้าหรับการท้างานของเอ็นไซม์บางตัว ดังนัน การรับแมงกานีสจากอาหารในระดับ 10 มก./วัน จึงไม่ถือว่าเป็น
อันตราย ในขณะที่แมงกานีสปริมาณมากๆ เป็นพิษ แต่กว่าจะถึงระดับนันมันจะก่อความร้าคาญอย่างหนักขึนก่อน
แมงกานีสความเข้มข้นเกินกว่า 0.05 มก./ล. หรือความเข้มข้นรวมกับเหล็กที่มากกว่า 0.3-0.5 มก./ล. จะเริ่มสร้าง
ปัญหา โดยที่แมงกานีสจะตกตะกอนแยกตัวจากน้าถ้าสัมผัสกับออกซิเจนหรือคลอรีน เกิดเป็นคราบจับติดอยู่
ภายในท่อ ซึ่งบางครังก็หลุดติดไปกับน้าประปาด้วย คราบที่เกิดจากแมงกานีสไดออกไซด์จะมีสีด้า แต่ถ้ามีเหล็กอยู่
ด้วยจะเป็นคราบสีน้าตาลเข้ม ถ้าใช้น้าประปาที่มีแมงกานีสเจือปนอยู่ซักผ้าสีอ่อนๆจะมีรอยด่าง หรือถ้าใช้กับ
สุขภัณฑ์สีขาวจะมีคราบน้าที่มีแมงกานีสอยู่ จะเปลี่ยนรสของเครื่องดื่ม ด้วยเหตุนี EPA จึงก้าหนดมาตรฐานน้าดื่ม
ไว้ไม่เกิน 0.05 มก./ล.
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
9
ทองแดง (Cu) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากทองแดงไม่
ค่อยพบในน้าธรรมชาติ แต่อาจเกิดมีขึนได้จากการใช้ท่อทองแดงหรือจากการใช้จุนสี (CuSO4.7H2O) ก้าจัด
สาหร่ายและตะไคร่น้า ทองแดงมีพิษอย่างแรงต่อปลา แต่การทดสอบจากการใช้ท่อน้าทองแดงพบว่ามีผลน้อยมาก
ต่อคน น้าซึ่งมีทองแดง 1 มก./ล. อาจท้าให้เกิดคราบสีเขียวเกาะตามข้อต่อท่อ ทองแดงในปริมาณ 0.1 มก./ล.
พอเพียงที่จะท้าให้อัตราการกัดกร่อนของท่อเหล็กอาบสังกะสีเพิ่มขึนอย่างมาก ความเข้มข้น 1-5 มก./ล. มีผลด้าน
รสและความกัดกร่อน แต่ไม่เป็นอันตรายแก่มนุษย์ เพราะทองแดงเป็นสารจ้าเป็นต่อเมแทบอลิซึมของร่างกาย
สังกะสี (Zn) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสังกะสีไม่ค่อย
ปรากฏให้เห็นในน้าธรรมชาติ แต่อาจมีในน้าที่ออกจากก๊อกประปาแบบท่อเหล็กอาบสังกะสีหรือน้าฝนที่ไหลผ่าน
หลังคาสังกะสี ถ้าใช้ภาชนะสังกะสีมาปรุงอาหาร อาจท้าให้มีสังกะสีเจือปนเข้าไปในอาหาร น้าที่สัมผัสกับท่อเหล็ก
อาบสังกะสี อาจมีการตกตะกอนของ Zinc carbonate และสารละลายสังกะสีในน้าชนิดนีอาจสูงถึง 3 มก./ล.
ตัวอย่างของน้าชนิดนีใช้หาปริมาณแบคทีเรียไม่ได้ เพราะสังกะสีเป็นสารพิษส้าหรับจุลินทรีย์ แต่มีอันตรายน้อย
ส้าหรับคน สังกะสีเป็นธาตุที่ร่างกายต้องการส้าหรับเมแทบอลิซึมภายในเซล จึงควรได้รับเป็นประจ้าทุกวันในอัตรา
10-15 มก. แต่ถ้าได้รับสังกะสีในความเข้มข้น 675-2,280 มก./ล. จะท้าให้เกิดอาการคลื่นเหียนอาเจียน เกลือของ
สังกะสีที่ 30 มก./ล. จะท้าให้น้ามีลักษณะคล้ายน้านมและจะมีรสของโลหะที่ 40 มก./ล. จึงก้าหนดมาตรฐานของ
น้าดื่มไว้ไม่เกิน 5 มก./ล.
แคลเซียมและแมกนีเซียม (Calcium-Ca and Magnesium - Mg) โลหะทังสองชนิดนีเป็น alkaline earth
metals ที่เจือปนอยู่ในน้าจืดในปริมาณมากกว่าชนิดอื่นๆ นอกจากนี โลหะทังสองยังมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายคลึง
กัน โดยมากมักปรากฏในรูปของไบคาร์บอเนต คลอไรด์ ซัลเฟต และไนเตรท ซึ่งเป็นเกลือที่ละลายน้าและเป็น
ต้นเหตุของความกระด้าง โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะพบแคลเซียมมีอยู่ในปริมาณมากกว่าแมกนีเซียมเสมอ โดยที่
ในน้าอ่อน (ปริมาณของแข็งทังหมดต่้ากว่า 50 มก./ล.) จะมีสัดส่วนของแคลเซียมและแมกนีเซียมประมาณ 48%
และ 14% ของธาตุประจุบวกทังหมด ส่วนในน้ากระด้างจะมีสัดส่วนประมาณ 53% และ 35% ตามล้าดับ
แมกนีเซียมมีความส้าคัญต่อการเพาะปลูกเพราะเป็นส่วนส้าคัญของโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ แมกนีเซียมที่เจือปน
อยู่ในน้าดื่มร่วมกับซัลเฟตจะมีอันตรายต่อสุขภาพเพราะจะมีฤทธิ์ท้าให้ถ่ายท้อง จึงมีการก้าหนดปริมาณ
แมกนีเซียมในน้าดื่มให้มีค่าไม่เกิน 150 มก./ล.
ตะกั่ว (Pb) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากไม่ค่อยพบใน
แหล่งน้าธรรมชาติ ยกเว้นน้าในแม่น้าล้าคลองที่อยู่ในเขตชุมชน ซึ่งอาจมีการปนเปื้อนของตะกั่วจากไอเสียรถยนต์
ตะกั่วในน้าประปาอาจมาจากท่อประปาโลหะที่มีตะกั่วผสมอยู่หรือท่อพลาสติกบางชนิด การละลายของตะกั่วจะ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
10
ขึนกับคุณสมบัติของน้า เช่น น้าอ่อนหรือน้าที่มีกรดเล็กน้อย รวมทังน้าฝนที่มักจะมีคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่
สูง และน้าในพรุ (swamp waters) ซึ่งมีกรดฮิวมิกและคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ จะละลายตะกั่วได้ดี โลหะที่ใช้
ส้าหรับเก็บน้าไม่ควรทาภายในด้วยสีที่มีตะกั่วเจือปนอยู่ พิษของตะกั่วอาจเกิดจากการกินอาหารหรือน้าที่มีตะกั่ว
เจือปน รวมทังการหายใจเอาอากาศที่มีตะกั่ว เช่น ควันบุหรี่ ร่างกายคนเราสามารถขับตะกั่วออกไปได้ หากได้รับ
ตะกั่วทังหมดไม่เกิน 0.3-0.4 มก./วัน มีรายงานว่าพบพิษของตะกั่วจากการดื่มน้าที่มีความเข้มข้นของตะกั่วในน้า
ช่วง 0.04 - 1 มก./ล. หรือมากกว่า ในขณะที่ความเข้มข้นประมาณ 0.1 มก./ล. ก็มีพิษต่อปลาแล้ว พิษของตะกั่ว
แบบเฉียบพลันมีอยู่หลายอาการ เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ วิงเวียน การกระตุกของกล้ามเนือ ฯลฯ ส้าหรับพิษเรือรัง
ที่ส้าคัญ ได้แก่ โรคโลหิตจาง เนื่องจากตะกั่วไปขัดขวางการสร้างฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี ยังอาจมี
ผลต่อระบบประสาทด้วย
4.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ
ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ดังตารางแนบ
ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางจุลชีววิทยา
รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา
เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ
100 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2.0 MPM ผ่าน
อี. โคไล (E.coli) มี ไม่ผ่าน
อี. โคไล (E.coli) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก
E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน
ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
11
4.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป
บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ไม่เหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable
Concentration) ในการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา โดยเฉพาะมีเชื่อ E.coli เจือปนอยู่
ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
5. จากการตรวจสอบค่าปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตของแหล่งน้าบาดาลแห่งหนึ่ง เท่ากับ 300 มก./
ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีระดับความกระด้าง (Hardness) เท่าใด พร้อมบอกสาเหตุและ
ผลเสียของแต่ละคุณสมบัติ
ตอบ การตรวจสอบปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 300 มก./ล. CaCO3 มีความกระด้าง (Hardness) อยู่
ระดับน้ากระด้าง เกิดจากความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ +2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2)
แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทังเหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3)
โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความกระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2
และ Mg+2 ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมีหน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียม
คาร์บอเนต
น้าที่มีความกระด้างมากจะมีผลเสีย คือ
ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้าปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือตกตะกอนดัง
สมการ จึงต้องใช้สบู่เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะ
ไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง
ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรันพวกนีจะท้าตัว
เป็นฉนวนท้าให้สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้ เพราะการขยายตัวของตะกรันกับแผ่น
เหล็กของหม้อน้าไม่เท่ากัน เกิดรอยกระเทาะ น้าเย็นในหม้อน้าที่มาถูกกับรอยแตกจะกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว จึง
เกิดความดันขึน นอกจากนีน้ากระด้างชั่วคราวยังมีผลท้าให้เกิดการกัดกร่อนในหม้อน้าได้เนื่องจาก CO2 ที่แตกตัว
ออกมาเมื่อได้รับความร้อน
ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็นประจ้า
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
12
6. การย่อยสลายของประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและ
อุตสาหกรรมในเขตจังหวัดสมุทรปราการลงสู่คลองแห่งหนึ่ง ได้ตรวจพบว่ามีสารประกอบอนินทรีย์
ไนโตรเจน (Inorganic Nitrogen Compound) ได่แก่ แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไนเตรท ตามล้าดับ
จงอธิบายกระบวนการย่อยสลายสารประกอบข้างต้นอย่างละเอียด พร้อมเขียนสมการทางเคมี
ประกอบ
ตอบ จากการตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนีย ไนไตรท์และไนเตรทตามล้าดับ
Protein saprophytic NH3 nitrosomonas NO2 nitrobacter NO3
NO3
- NO2
- NH3/N2
โดยปกติปริมาณสารประกอบไนโตรเจนทัง 2 ประเภท จะละลายเจือปนอยู่น้อยในแหล่งน้าผิวดินธรรมชาติที่
ยังไม่เน่าเสีย เช่น แอมโมเนียจะละลายอยู่น้อยกว่า 1 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย (mg/l as N-NH3)
ส่วนไนเตรทมีอยู่ประมาณ 0.3 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปไนเตรท (mg/1 as N-NO3
-) น้าบาดาลหรือน้าใต้ดิน
มักจะมีไนเตรทอยู่สูงกว่าน้าผิวดิน ส้าหรับไนไตรท์มักจะหาค่าไม่ได้เพราะไม่คงตัว
เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบ
อินทรีย์ไนโตรเจนจะถูกย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึนตามเวลาและ
ระยะทางที่น้าไหลล่อง ในสมัยก่อนเคยใช้ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้าปรากฏว่ามี
แอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของเสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่าตัวอื่นหรือ
มากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านันเคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะสารอินทรีย์ถูกย่อย
สลายไปหมดแล้ว
รูปที่ ไนโตรเจนรูปต่างๆ ที่ปรากฏในแหล่งน้าเสียที่ยังพอมีออกซิเจนเจือปนอยู่
bacteria
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
13
ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อยสลาย
อย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจนละลายน้า
ลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1 มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า
ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา และก่อ
ปัญหาถ้าส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไนไตรท์
และไนเตรทได้ แอมโมเนียจะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง นอกจากนี ยัง
เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าถ้ามีมากกว่า 2.5 มก./ล. ในกรณีที่ล้าน้ามี pH ต่้ากว่า 7 แอมโมเนียมักจะละลาย
น้าอยู่ในรูป NH4
+ และจะถูกยึดด้วยสารประกอบที่มีประจุลบในตะกอนดิน เช่น (NH4)2CO3 แต่จะมีพิษต่อ
สิ่งมีชีวิตในน้าน้อยกว่าแอมโมเนีย นอกจากนี ยังถูกยึดไว้จึงถูกชะล้างออกมาได้ยากกว่า
ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน เพราะล้าไส้เล็กของเด็กในวัยนีจะมีความ
เป็นกรดพอดีกับความต้องการของ nitratereducing bacteria ซึ่งจะเปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท์ เมื่อไน
ไตรท์ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้สารประกอบ
สีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและเสียชีวิต อาการเช่นนีเรียกว่า Blue
baby syndrome หรือ Methemoglobinemia และเคยเกิดขึนในประเทศสหรัฐอเมริกาในอดีตมาก่อน
นอกจากนี ยังมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือระบุว่า ไนเตรทเองเป็นสารก่อมะเร็งได้ด้วย
7. ระบบประปาผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา
ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูป
ประกอบ
ตอบ ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา
ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตแตกต่างกันไป ดังตารางแนบ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
14
ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับ
อุตสาหกรรมและการประปาชุมชน
ระบบประปา ความเหมือน ความแตกต่าง
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก
แหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูง
ส้าหรับอุตสาหกรรม
- แหล่งน้าบาดาลจะมีระดับ
ความกระด้างอยู่สูง
- สารซึ่งสามารถจับประจุที่เป็น
ความกระด้างไว้ สารนีมีชื่อ
เรียกหลายอย่าง เช่น Zeolite,
ion-exchanger, resin
- จ้าเป็นต้องก้าจัดความกระด้าง
จนหมด
ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก
แหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูง
ส้าหรับชุมชน
- กระบวนการใช้ปูนขาวและ
โซดาแอชแก้ความกระด้าง
(lime - soda ash process)
- ขบวนการจะมีความกระด้าง
เหลืออยู่บ้าง
รูป ระบบประปาแก้น้ากระด้างส้าหรับน้าใช้ในอุตสาหกรรม
ส้าหรับน้าใช้ในอุตสาหกรรมที่มีหม้อต้มน้าและจ้าเป็นต้องก้าจัดความกระด้างจนหมด กระบวนการนีใช้วิธี
แลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้า โดยใช้สารซึ่งสามารถจับประจุที่เป็นความกระด้างไว้ สารนีมีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น
Zeolite, ion-exchanger, resin
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
15
รูป ระบบประปาแก้น้ากระด้างส้าหรับผลิตน้าประปาแก่ชุมชน
ส้าหรับผลิตน้าประปาแก่ชุมชน โดยกระบวนการใช้ปูนขาวและโซดาแอชแก้ความกระด้าง (lime - soda
ash process) น้าที่ผ่านขบวนการจะมีความกระด้างเหลืออยู่บ้าง
8. การฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็กมีอะไรบ้าง พร้อมเปรียบเทียบข้อดีและ
ข้อเสียของแต่ละวิธี โดยจัดท้าเป็นแบบตารางเปรียบเทียบ
ตอบ การฆ่าเชือโรคได้แก่การท้าลายจุลินทรีย์ซึ่งไม่ประสงค์ให้มีอยู่ในน้าประปา ทังประเภทที่ไม่เป็นอันตราย (non
- pathogenic organism) และประเภทเชือโรค (pathogenic organism) จุลินทรีย์ดังกล่าวเมื่อปรากฏมีในน้า
อาจด้ารงชีวิตอยู่ได้นานเป็นสัปดาห์ภายใต้ภาวะอุณหภูมิปกติหรือหลายเดือนที่อุณหภูมิต่้าๆ สิ่งอื่นที่มีผลต่อการ
ด้ารงชีวิตนอกเหนือจากอุณหภูมิแล้วยังได้แก่สภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น พีเอช อาหาร สิ่งปะปนอื่นๆ ในน้า การ
แข่งขันในการด้ารงชีพกับจุลินทรีย์อื่น ภูมิต้านทานต่อสารพิษ (toxic material) ความสามารถในการสืบพันธุ์
จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ในน้า ได้แก่ บักเตรี นอกจากนัน ก็มี ไวรัส โปรโตซัวในล้าไส้ และจุลินทรีย์อื่นๆ ซึ่งมีไม่มากนัก
การฆ่าเชือโรคกระท้าได้หลายวิธี เช่น การใช้ความร้อน การใช้รังสี การใช้ประจุโลหะ การใช้คลอรีนหรือโอโซน ฯลฯ
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
16
ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างข้อดีและข้อเสียของแต่ละการฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาด
ใหญ่และขนาดเล็ก
การฆ่าเชือโรค ข้อดี ข้อเสีย
การใช้ความร้อน (Heating) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้า - ท้าให้แร่ธาตุในน้าลดลง
การผ่านรังสี (Irradiation) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้าและ
ไม่มีอันตรายถ้าใช้รังสีใน
ปริมาณมาก
- ฆ่าบักเตรีชนิด อี-โคไล ได้
การใช้ประจุโลหะ (Metal Ions) - ควบคุมความเจริญเติบโตของ
สาหร่ายและตะไคร่น้าในแหล่ง
น้าหรือถังน้าในระบบผลิต
ประปา
- มีราคาสูง
โอโซน (Ozone) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้า - สนามไฟฟ้าแรงสูงจะแตกตัว
จึงมีค่าใช้จ่ายที่แพง
การใช้คลอรีน (Chlorination) - ราคาถูก ประสิทธิภาพดี การ
ควบคุมกระท้าได้ง่าย และ
คงทนอยู่ในน้าได้นาน
- ท้าปฏิกิริยาท้าลายเอนไซม์ซึ่ง
เป็นองค์ประกอบส้าคัญส้าหรับ
การเจริญเติบโตของเซลล์ขอ
สิ่งมีชีวิต
- หายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นเกิน
กว่า 30 ppm จะเป็นอันตราย
แก่ ตา จมูก ผิวหนังและเยื่อ
หุ้มระบบหายใจ หรือถ้าหายใจ
เอาคลอรีนที่เข้มข้นมากกว่า
5,000 ppm ก็อาจถึงตายได้
1. การใช้ความร้อน (Heating) การต้มน้าให้เดือดเป็นวิธีการฆ่าเชือโรคที่ใช้กันมาแต่โบราณกาล และมีความ
ปลอดภัยเพียงพอส้าหรับการบริโภค ระดับการฆ่าเชือโรคอาจจ้าแนกเป็น
- พาสเจอไรเซชัน(Pasteurization) เป็นการฆ่าบักเตรีในของเหลว เช่น นม โดยใช้อุณหภูมิไม่สูงนักเพื่อ
รักษาคุณค่าอาหาร เช่น วิธี LTH (Low Temperature Holding) จะใช้ความร้อน 62.8 °C นาน 30
นาที หรือวิธี HTST (High Temperature Short Time) ใช้ความร้อน 71.7 °C นาน 15 วินาที
- การท้าไร้เชือ (Sterilization) เป็นการท้าลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในน้าโดยการใช้อุณหภูมิสูงหรือภายใต้
ความดัน เช่น การใช้ไอน้า 121 °C ภายใต้ความดัน 1.2 kg/cm2 เป็นเวลา 15-20 นาที
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
17
- การกลั่น (Distillation) เป็นการให้ความร้อนจนน้าระเหยกลายเป็นไอแล้วควบแน่นกลับเป็นหยดน้า
น้ากลั่นเป็นน้าอ่อนและไม่เหมาะสมส้าหรับใช้บริโภค
2. การผ่านรังสี (Irradiation) รังสีที่ใช้คืออุลตราไวโอเล็ต (Ultraviolet) ซึ่งเป็นรังสีที่มองไม่เห็นถัดจากแสงสี
ม่วงในสเปคตรัม มีประสิทธิภาพสูงในการท้าลายและยับยังการเติบโตของบักเตรีและไวรัส รังสีนีสร้างขึน
ได้โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าในหลอดไอปรอท (mercury vapor lamp) ซึ่งท้าจากควอทซ์หรือแก้วชนิด
พิเศษ ความยาวคลื่นแสงที่มีประสิทธิภาพฆ่าเชือโรคได้ดีอยู่ระหว่าง 2000-3000 A° องศา (Angstrom)
น้าจะไหลผ่านโดยรอบหลอดแก้วนีในระยะไม่เกิน 10 ซม. และควรเป็นน้าสะอาด ปราศจากความขุ่นและ
สี รวมทังหลอดแก้วก็ควรใสไม่มีคราบเกาะติด วิธีการนีมีผลดีในข้อที่ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้าและไม่มี
อันตรายถ้าใช้รังสีในปริมาณมาก เหมาะส้าหรับใช้กับระบบน้าดื่มขนาดเล็ก แต่ไม่เหมาะสมกับสระว่ายน้า
เนื่องจากไม่มีฤทธิ์เหลืออยู่ (residual) ส้าหรับฆ่าเชือโรคที่เกิดขึนภายหลัง ความเข้มของรังสีที่ 3000,
1500 และ 750 มิลลิวัตต์-วินาทีต่อตารางเซนติเมตร จะฆ่าบักเตรีชนิด อี-โคไล ได้ 99.90, 90 และ 90
เปอร์เซนต์ ตามล้าดับ
3. การใช้ประจุโลหะ (Metal Ions) ประจุโลหะที่ใช้ฆ่าจุลินทรีย์ในน้าได้แก่ ประจุของเงิน (Au) และ ทองแดง
(Cu) แต่ไม่สู้แพร่หลายในการใช้กับระบบประปาเพราะมีราคาสูง และการท้าลายเป็นไปอย่างช้าที่ความ
เข้มข้นต่้า ประจุทองแดงในรูปของจุนสี (CuSO4) นิยมใช้ควบคุมความเจริญเติบโตของสาหร่ายและตะไคร่
น้าในแหล่งน้าหรือถังน้าในระบบผลิตประปา
4. โอโซน (Ozone) โดยปกติออกซิเจนในบรรยากาศจะอยู่ในรูปของโมเลกุล ซึ่งประกอบด้วย 2 อะตอม (O2)
เมื่อโมเลกุลนีถูกจุดระเบิด (spark) ในสนามไฟฟ้าแรงสูงจะแตกตัว ดังนัน เมื่อผ่านก๊าซโอโซนลงสู่น้าจะท้า
ให้สารอินทรีย์ถูกท้าลายและลดจ้านวนลงอย่างรวดเร็ว ผลของปฏิกิริยาจะไม่เพิ่มสี กลิ่นและรส ให้กับน้า
และโอโซนที่เหลืออยู่จะจางหายไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากโอโซนมีคุณสมบัติทางเคมีไม่คงตัว ดังนัน จึงต้อง
ผลิตและใช้ทันที อัตราการใช้อยู่ระหว่าง 1.0 ถึง 5.3 กก. ต่อ 1000 ม.3 ของน้า อัตราที่ใช้สูงนันส้าหรับ
ก้าจัดกลิ่นและสีด้วยพลังงานที่ใช้ผลิตโอโซนประมาณ 10 ถึง 20 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อหนึ่งกิโลกรัมโอโซน
ค่าใช้จ่ายในการใช้โอโซนฆ่าเชือโรคจะสูงกว่าคลอรีนสองถึงสามเท่า แต่เนื่องจากโอโซนจะไม่มีฤทธิ์ตกค้าง
ดังนัน จึงจ้าเป็นต้องใช้คลอรีนความเข้มข้นต่้าใส่ลงในน้าประปาภายหลังจากใช้โอโซนแล้ว เพื่อป้องกันการ
เติบโตของจุลินทรีย์ในเส้นท่อ โอโซนละลายน้าได้น้อย จึงต้องมีการผสมอย่างทั่วถึงเพื่อให้ได้ผลเต็มที่ ซึ่ง
ถ้าหากผลิตโอโซนจากอากาศธรรมดาอาจมีปัญหาอันเนื่องจากมีก๊าซไนโตรเจนจ้านวนมากปะปนมาด้วย
5. การใช้คลอรีน (Chlorination) การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคเป็นวิธีการที่แพร่หลายมากกว่าวิธีอื่นๆ เพราะมี
ราคาถูก ประสิทธิภาพดี การควบคุมกระท้าได้ง่าย และคงทนอยู่ในน้าได้นาน คลอรีนในสภาวะปกติเป็น
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
18
ก๊าซพิษ ถ้าหายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นเกินกว่า 30 ppm จะเป็นอันตรายแก่ ตา จมูก ผิวหนังและเยื่อหุ้ม
ระบบหายใจ หรือถ้าหายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นมากกว่า 5,000 ppm ก็อาจถึงตายได้ คลอรีนเป็นที่นิยมใช้
ในระบบประปาเพื่อท้าลายเชือโรคและจุลินทรีย์ รวมทังสารอื่นๆ เช่น บักเตรี โปรโตซัว ไวรัส โดยคลอรีน
จะไปท้าปฏิกิริยาท้าลายเอนไซม์ซึ่งเป็นองค์ประกอบส้าคัญส้าหรับการเจริญเติบโตของเซลล์ขอสิ่งมีชีวิต
นอกจากนี คลอรีนยังช่วยในการก้าจัดสาหร่าย ตะไคร่น้า ตลอดจนรส กลิ่นและสีของน้าด้วย
9. จงอธิบายหลักการของการเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ได้แก่ เครื่องเติมอากาศแบบไหล
หลั่น (Cascade Aerator) แบบพืนลาดเอียง (Inclined Plane) แบบหอ (Tower) และแบบถาด
หลายชัน (Multiple Tray) พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ เครื่องเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก น้าดิบจะถูกสูบขึนไปยังที่สูงแล้วปล่อยให้ตกลงมาอย่าง
อิสระเบืองล่าง ระหว่างที่ตกลงมานันจะสัมผัสกับอากาศ ระยะเวลาของการสัมผัสอาจท้าให้เพิ่มขึนได้ โดยการ
ออกแบบให้เส้นทางการไหลยาวขึน หรือสร้างสิ่งกีดขวางปะทะการตกลงมาของน้า
รูป a เป็นเครื่องเติมอากาศแบบไหลหลั่น (cascade aerator) น้าดิบจะไหลลดหลั่นลงมาตามขัน ระหว่าง
ตกกระทบจะมีการผสมทั่วถึงยิ่งขึน บางครังอาจสร้างแผ่นกัน (baffle) ขวางการไหลของน้าเพื่อเพิ่ม A/V
รูป b เป็นแบบพืนลาดเอียง (inclined plane) น้าจะไหลบนแผ่นพืนราบ การสัมผัสอากาศเกิดขึนเฉพาะ
ผิวบนของน้า ดังนัน ประสิทธิภาพของการเติมจะสูงถ้าออกแบบให้น้าไหลเป็นแผ่นบางได้มากที่สุด
รูป c แบบหอ (tower) น้าดิบจะไหลตกลงมาจากท่อเจาะรูเบืองบนของหอ มีการพ่นอากาศจากที่เจาะรู
เบืองล่างให้พุ่งขึนสวนทางกับน้า เพื่อเพิ่มปริมาณอากาศให้พอเพียงกับการสัมผัส การเติมอากาศลักษณะนี
เสียค่าใช้จ่ายสูงแต่ประสิทธิภาพดี ระบบก้าจัดน้าเสียบางแห่งก็ใช้วิธีการแบบนี
รูป d แบบถาดหลายชัน (multiple tray) น้าดิบจะตกลงบนถาดซึ่งเจาะรูพรุน วางซ้อนกันอยู่เป็นชันๆ
จ้านวนถาดมากเท่าใดระยะเวลาการสัมผัสอากาศก็เพิ่มขึนตามนัน การเติมอากาศลักษณะนีประหยัดและ
ง่ายในการก่อสร้าง ระบบก้าจัดเหล็กของการประปาขนาดเล็กในชนบทของไทย นิยมใช้เครื่องเติมอากาศ
ชนิดนีเป็นส่วนใหญ่
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
19
รูป เครื่องเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก
10. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยม
ประยุกต์ใช้ในการเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตัง
ถาดเติมอากาศชันบนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 2 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบน
และล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของ
ระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ
ตอบ ก้าหนดให้ เมื่อ n = 7 และ h = 2 เมตร
t = √2𝑛ℎ/𝑔 = √2 𝑥 7 𝑥 2/9.81
ระยะเวลาสัมผัสส้าหรับการตก 7 ระยะ = 1.69 วินาที
ระยะห่างระหว่างตะแกรงในการตก 7 ระยะ = 2/7 = 0.29 เมตร ซึ่งมีความไม่เหมาะสม เพราะมี
ระยะห่างระหว่างถาดประมาณ 30-50 ซม. ตามมาตรฐาน
ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________
20
h = 2 เมตร
11. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการ
น้าไปทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามา
ทดสอบจ้านวนทังหมด 10.00 กิโลกรัม
ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักของทรายที่ค้างบนตะแกรง (กิโลกรัม)
1.0 0.5
0.75 0.5
0.7 1.0
0.5 2.0
0.4 3.0
0.3 3.0
11.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง
ขนาดช่องเปิด
ของตะแกรง
(มม.)
น้าหนักของทรายที่
ค้างบนตะแกรง
(กิโลกรัม)
น้าหนักสะสมที่
ผ่านพ้นได้
(กิโลกรัม)
น้าหนักสะสมเป็น
เปอร์เซ็นต์ที่ผ่านพ้น
ได้
1.0 0.5 9.5 95
0.75 0.5 9.0 90
0.7 1.0 8.0 80
0.5 2.0 6.0 60
0.4 3.0 3.0 30
0.3 3.0 0.0 0
KSU Sanitary Engineering Exam
KSU Sanitary Engineering Exam
KSU Sanitary Engineering Exam
KSU Sanitary Engineering Exam

More Related Content

What's hot

อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docxPoojaSen20
 
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationInteractive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationnomboosow
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdfQucHHunhnh
 
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3JemimahLaneBuaron
 
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactAccessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactdawncurless
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactPECB
 
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104misteraugie
 
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdf
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdfDisha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdf
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdfchloefrazer622
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsTechSoup
 
Sports & Fitness Value Added Course FY..
Sports & Fitness Value Added Course FY..Sports & Fitness Value Added Course FY..
Sports & Fitness Value Added Course FY..Disha Kariya
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfJayanti Pande
 
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingGrant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingTechSoup
 
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111Sapana Sha
 
Student login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinStudent login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinRaunakKeshri1
 
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDMeasures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDThiyagu K
 
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajansocial pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajanpragatimahajan3
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformChameera Dedduwage
 

Recently uploaded (20)

mini mental status format.docx
mini    mental       status     format.docxmini    mental       status     format.docx
mini mental status format.docx
 
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communicationInteractive Powerpoint_How to Master effective communication
Interactive Powerpoint_How to Master effective communication
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
 
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
Q4-W6-Restating Informational Text Grade 3
 
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impactAccessible design: Minimum effort, maximum impact
Accessible design: Minimum effort, maximum impact
 
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global ImpactBeyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
Beyond the EU: DORA and NIS 2 Directive's Global Impact
 
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
 
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdf
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdfDisha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdf
Disha NEET Physics Guide for classes 11 and 12.pdf
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
 
Sports & Fitness Value Added Course FY..
Sports & Fitness Value Added Course FY..Sports & Fitness Value Added Course FY..
Sports & Fitness Value Added Course FY..
 
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
Mattingly "AI & Prompt Design: Structured Data, Assistants, & RAG"
 
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptxINDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
INDIA QUIZ 2024 RLAC DELHI UNIVERSITY.pptx
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
 
Advance Mobile Application Development class 07
Advance Mobile Application Development class 07Advance Mobile Application Development class 07
Advance Mobile Application Development class 07
 
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy ConsultingGrant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
Grant Readiness 101 TechSoup and Remy Consulting
 
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111
Call Girls in Dwarka Mor Delhi Contact Us 9654467111
 
Student login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpinStudent login on Anyboli platform.helpin
Student login on Anyboli platform.helpin
 
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDMeasures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
 
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajansocial pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
social pharmacy d-pharm 1st year by Pragati K. Mahajan
 
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy ReformA Critique of the Proposed National Education Policy Reform
A Critique of the Proposed National Education Policy Reform
 

KSU Sanitary Engineering Exam

  • 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 13 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน 2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต 3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด 4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ 5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน สมุด 6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ 6.1เครื่องคิดเลข 6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน 7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม ขั้นตอนที่คิดได้ อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต............................. คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800 ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................ *ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา* **ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา** ***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
  • 2. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 1 1. จงอธิบายหลักการวัฏจักรของน้า (Water Cycle) พร้อมวาดรูปประกอบ และระบุแหล่งน้าดิบใดบ้างที่ สามารถผลิตเป็นแหล่งน้าประปาได้ 2. จงอธิบายความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก (Shallow and Depth Ground Water Walls) โดยเลือกมาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาดรูปประกอบ 3. จงอธิบายหลักการของชันน้าบาดาล ทังสองประเภท ได้แก่ ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Confining Aquifer) และชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร พร้อมวาด รูปประกอบ 4. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 5 ปลาตินัม รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ความขุ่น (Turbidity) 6 ซิลิกา ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7 คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร เหล็ก (Fe) 0.5 มังกานีส (Mn) 0.5 ทองแดง (Cu) 1.2 สังกะสี (Zn) 5.0 คัลเซียม (Ca) 80 มักเนเซียม (Mg) 55 ฟลูออไรด์ (F) 0.7 สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.001 ตะกั่ว (Pb) 0.06 อาร์เซนิก (As) 0.05
  • 3. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 2 ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ) รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย แคดเมียม (Cd) 0.001 คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.0 MPM อี. โคไล (E.coli) มี 4.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ 4.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย 4.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ 4.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด 5. จากการตรวจสอบค่าปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตของแหล่งน้าบาดาลแห่งหนึ่ง เท่ากับ 300 มก./ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีระดับความกระด้าง (Hardness) เท่าใด พร้อมบอกสาเหตุและผลเสียของ แต่ละคุณสมบัติ 6. การย่อยสลายของประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและอุตสาหกรรมใน เขตจังหวัดสมุทรปราการลงสู่คลองแห่งหนึ่ง ได้ตรวจพบว่ามีสารประกอบอนินทรีย์ไนโตรเจน (Inorganic Nitrogen Compound) ได่แก่ แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไนเตรท ตามล้าดับ จงอธิบายกระบวนการย่อย สลายสารประกอบข้างต้นอย่างละเอียด พร้อมเขียนสมการทางเคมีประกอบ และบอกผลกระทบของ สารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า 7. ระบบประปาผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูป ประกอบ 8. การฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็กมีอะไรบ้าง พร้อมเปรียบเทียบข้อดีและ ข้อเสียของแต่ละวิธี โดยจัดท้าเป็นแบบตารางเปรียบเทียบ
  • 4. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 3 9. จงอธิบายหลักการของการเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ได้แก่ เครื่องเติมอากาศแบบไหล หลั่น (Cascade Aerator) แบบพืนลาดเอียง (Inclined Plane) แบบหอ (Tower) และแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) พร้อมวาดรูปประกอบ 10. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยมประยุกต์ใช้ใน การเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตังถาดเติมอากาศชัน บนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 2 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบนและล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของระยะห่างของแต่ละถาดมีความ เหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ 11. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการ น้าไปทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามาทดสอบ จ้านวนทังหมด 10.00 กิโลกรัม ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักของทรายที่ค้างบนตะแกรง (กิโลกรัม) 1.0 0.5 0.75 0.5 0.7 1.0 0.5 2.0 0.4 3.0 0.3 3.0 11.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง 11.2 ทรายกรองที่น้ามาใช้มีความเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด 12. การออกแบบระบบรวมตะกอนแบบแผ่นกันวกวน (Buffle Flocculator) ในระบบประปาทรายกรองเร็ว โดยมีการออกแบบถังตกตะกอนแบบแผ่นกัน ชนิดแนวนอน ก้าหนดให้มีก้าลังการผลิตน้าในแต่ละวัน เท่ากับ 10,000,000 ลิตร ระยะเวลาการท้าตะกอนอย่างน้อย 20 นาที ความเร็วของการไหล 20 ซม./ วินาที และก้าหนดให้ระยะห่างระหว่างแผ่นกัน 0.40 เมตร แผ่นกันมีขนาดความหนาแผ่นละ 8 เซนติเมตร และมีความกว้าง 3.50 เมตร จงหาค่าความกว้างและยาวของถังตกตะกอน พร้อมวาดรูปประกอบ 13. จงอธิบายหลักการและการท้างานของถังตกตะกอนแบบไหลขึน (Upward Flow Settling Tank) พร้อม วาดรูปประกอบ
  • 5. เฉลยข้อสอบปลายภาค ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply _________________________________________________________________ สามารถสแกน QR Code เพื่อดูคลิปวิดีโอใน Youtube SCAN ME
  • 6. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา ข้อสอบ กลางภาค ประจา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563 รหัสวิชา 01203481 ชื่อวิชา Sanitary Engineering and Water Supply วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. คาสั่ง 1. ข้อสอบมีจานวนทั้งหมด 13 ข้อ 3 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) คะแนนรวม 35 คะแนน 2. ให้นิสิตปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการสอบของนิสิต 3. ห้ามนาชุดข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด 4. ห้ามยืมอุปกรณ์ใดๆ ในขณะทาการสอบ 5. ให้เขียนข้อมูลของนิสิตบนข้อสอบทุกแผ่นและทาทุกข้อสอบให้ครบถ้วนตามที่ข้อสอบกาหนดลงใน สมุด 6. สิ่งที่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ 6.1เครื่องคิดเลข 6.2หนังสือหรือเอกสารอื่นๆไม่จากัดจานวน 7. ในการทาข้อสอบ ให้อธิบายขั้นตอนการคานวณให้ละเอียดชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาตาม ขั้นตอนที่คิดได้ อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ กรรมการออกข้อสอบ ชื่อ-นามสกุล.........................................................................................รหัสประจาตัวนิสิต............................. คณะ.........................................................ภาควิชา..............................................................หมู่เรียน 800 ห้องสอบ............................................. เลขที่นั่งสอบ........................................ *ส่อทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา* **ทุจริตในการสอบ โทษ พักการศึกษา 1 ปีการศึกษา** ***ส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบครั้งที่ 2 มีโทษให้ออก***
  • 7. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 1 1. จงอธิบายหลักการวัฏจักรของน้า (Water Cycle) พร้อมวาดรูปประกอบ และระบุแหล่งน้าดิบใดบ้าง ที่สามารถผลิตเป็นแหล่งน้าประปาได้ ตอบ การหมุนเวียนของน้าในโลก (Water Cycle) เริ่มต้นจากไอน้าในบรรยากาศรวมตัวเป็นหมอก เมฆ กลั่นตัว เป็นน้า แล้วตกลงสู่พืนโลก (precipitation) บางสภาวะอาจอยู่ในสภาพของแข็ง เช่น ลูกเห็บหรือหิมะ ก่อนจะถึง พืนดินน้าบางส่วนได้รับความร้อนจากผิวโลกจะระเหยเป็นไอ (evaporation) กลับคืนสู่บรรยากาศ เมื่อแรกที่ผิวดิน ยังแห้ง น้าฝนจะถูกดินดูดไว้ เมื่อดินอิ่มตัว น้าก็จะเอ่อล้นและไหลหลั่งเป็น น้าท่า (runoff) ไปตามผิวดิน จนกระทั่ง ลงสู่แม่น้าล้าคลอง ตลอดจน หนอง บึงต่าง ๆ น้าฝนส่วนหนึ่งจะระเหยจากพืนดินหรือผิวน้ากลับขึนสู่บรรยากาศ อีก ส่วนหนึ่งจะถูกพืชดูดไว้และระเหยออกทางใบ (transpiration) กลับคืนสู่บรรยากาศเช่นกัน น้าฝนส่วนที่เหลือจะ ซึมลงดิน (infiltration) จนถึงชันน้าอิ่มตัว ซึ่งเรียกว่า ชันน้าใต้ดินหรือน้าบาดาล (ground water) เมื่อรวมกับน้า บาดาลเดิมแล้วก็อาจมีการไหลตามแนวราบ (percolation) ไปตามความลาดเอียงของระดับน้าใต้ดิน (ground water table) ถ้าระดับน้าใต้ดิน ณ จุดใดอยู่สูงกว่าระดับพืนดินก็จะไหลซึมออกมาท้าให้เกิดเป็น น้าซับ (spring) ทะเลสาป (lake) หรือบึง (swamp) แม้กระทั่งแม่น้าบางสายก็อาจมีส่วนได้รับน้าใต้ดินเช่นกัน ซึ่งแม่น้าลักษณะนี เรียกกันว่า ล้าน้าไหลออก (effluent stream) ท้านองเดียวกัน หากว่าระดับน้าในแม่น้าอยู่สูงกว่าระดับน้าใต้ดินก็ จะมีการไหลของน้าในแม่น้าลงสู่ชันน้าบาดาล ซึ่งเรียกแม่น้าประเภทนีว่า ล้าน้าไหลเข้า (influent stream) อย่างไร ก็ตาม น้าในชันบาตาลก็ยังอาจระเหยเป็นไอกลับขึนสู่บรรยากาศได้อีก ไอทุกประเภทรวมทังจากแหล่งใหญ่คือ ทะเลและมหาสมุทร เมื่อขึนสู่บรรยากาศแล้วก็จะกลั่นตัวกลับเป็นน้าฝนตกสู่พืนโลก และเริ่มวัฏจักรใหม่ ไม่มีสินสุด ในการผลิตน้าสะอาดเพื่อบริการแก่ชุมชนนัน ต้องค้านึงถึงปริมาณของแหล่งน้าที่จะให้น้าได้พอเพียงตลอดทุก ฤดูกาล ซึ่งอาจแยกประเภทตามลักษณะน้าได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. น้าผิวดิน (Surface Water) ได้แก่ น้าท่าซึ่งเกิดจากการไหลล้นบนผิวดินลงมารวมกัน แหล่งน้านีคือ แม่น้า ล้าคลอง น้าตก อ่างเก็บน้า ทะเลสาป หนอง บึง 2. น้าบาดาล (Ground Water) คือ น้าซึ่งไหลซึมลึกลงใต้ดินจนสุดท้ายถูกเก็บกักไว้ในช่องว่างของชันหิน จนกระทั่งชันหินนันอิ่มตัวด้วยน้า แหล่งน้าบาดาล ได้แก่ บ่อบาดาล บ่อน้าซับ
  • 8. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 2 รูป การหมุนเวียนของน้าในโลก 2. จงอธิบายความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก (Shallow and Depth Ground Water Walls) โดยเลือกมาเฉพาะวิธีที่นิยมในปัจจุบัน พร้อมวาด รูปประกอบ ตอบ ความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรของกระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืนและลึก (Shallow and Depth Ground Water Walls) ดังตารางที่แนบมา กระบวนการขุดบ่อบาดาล ความเหมือน ความแตกต่าง กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบตืน (Shallow Walls) - ใช้แหล่งน้าใต้ดิน - ค่าใช้จ่ายต่้ากว่า - ใช้เครื่องมือหรือคนขุด - น้าที่ได้จะขึนลงตามฤดูการณ์ - คุณภาพของน้าต่้ากว่า กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Walls) - ค่าใช้จ่ายสูง - คุณภาพของน้าที่ได้ดีกว่า - ใช้เทคโนโลยีขันสูงในการขุด - น้าที่ได้จะมีความสม่้าเสมอ ตลอดอายุการใช้งาน - คุณภาพของน้าดีกว่า
  • 9. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 3 น้าบ่อตืน (shallow well) ลักษณะของบ่อจะเป็นขอบคอนกรีตกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ หนึ่งเมตร ฝังลึกจากพืนดินลงไปตังแต่สามเมตรจนถึงสิบกว่าเมตร ขึนอยู่กับระดับน้าใต้ดินในท้องที่นัน น้าในบ่อมา จากการไหลซึมของน้าใต้ดิน เข้ามาตามรูพรุนของขอบบ่อหรือซึมขึนมาจากก้นบ่อ ซึ่งอาจกรุไว้ด้วยชันกรวด ปริมาณน้าที่ไหลเข้าสู่บ่อพอเพียงส้าหรับใช้ในครัวเรือน แต่ไม่มากพอส้าหรับใช้เป็นแหล่งน้าบริการชุมชน คุณภาพ ของน้าอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ไม่ดีเท่าน้าบาดาลเพราะผ่านการกรองทางธรรมชาติเป็นระยะน้อยกว่า ดังนัน บางคนจึง จ้าแนกน้าชนิดนีว่าเป็นน้าใต้ดินหรือกึ่งผิวดิน (subsurface water) การสร้างบ่อตืนที่ถูกหลักสุขาภิบาล จะต้อง เลือกที่ตังบ่อห่างจากแหล่งโสโครก เช่น ส้วม หรือที่ทิงขยะไม่น้อยกว่า 30 เมตร โดยมีกระบวนการการขุดเจาะดังนี 1. เมื่อเริ่มขุดแล้วถ้าหากพบว่าเป็นชันดินเหนียวก็สามารถขุดลงไปได้เรื่อยๆ เพราะดินจะคงตัวอยู่ จนกระทั่งได้ความลึกที่ต้องการ นั่นคือมีน้าไหลเข้าบ่อในปริมาณที่มากพอ 2. จากนันก็เอาขอบบ่อคอนกรีตใส่ลงไปและซ้อนกันขึนมาจนสูงจากพืนดิน 50-80 ซม. 3. อัดกรวดโดยรอบขอบนอกและก้นบ่อ เพื่อให้การไหลของน้าเข้าสู่บ่อดีขึนและลดการอุดตัน 4. เอาซีเมนต์ยารอยต่อและรูรั่วต่างๆ ของขอบคอนกรีตในระยะ 3 เมตร จากพืนดิน เนื่องจากในระยะนี เชือโรคในดินยังอาศัยอยู่ได้ 5. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อ เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะและน้าสกปรกไหลลงสู่บ่อ กระบวนการขุดบ่อบาดาลแบบลึก (Depth Ground Water Walls) คือ การเจาะบ่อบาดาลแบบหมุน (Rotary) เป็นวิธีการเจาะบ่อบาดาลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะสามารถขุดและหมุนหัวเจาะพร้อมๆ กับมีแรงกดให้ หัวเจาะกัดหินเป็นรูกลม สามารถเจาะได้เร็วกว่าแบบอื่นๆ โดยมีกระบวนการการขุดเจาะดังนี 1. การขุดน้าเป็นการขุด โดยใช้หัวเจาะแบบหมุนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชัน หินดินดานหรือหินแข็ง จะต้องผ่านพ้นช่วงชันดินอ่อน ท้าการเก็บตัวอย่างดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตร ความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล 2. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันหิน แข็ง เพื่อป้องกันการถล่มตัวหรือการเคลื่อนตัวของหัวเจาะ 3. น้าหัวเจาะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 5 นิว จะต้องเจาะไปจนถึงชันน้าบาดาล ท้าการเก็บตัวอย่าง ดิน หิน ที่ได้ในแต่ละเมตรความลึก เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของชันบาดาล 4. น้าท่อ PVC หรือท่อโลหะขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 นิว สวมในรูที่ว่างอยู่ จะต้องยาวไปจนถึงชันน้า บาดาล โดยปลายของท่อจะกรุด้วยท่อกรองที่ท้าจากท่อ PVC หรือท่อโลหะ แซะร่อง
  • 10. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 4 5. น้าปั้มบาดาลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4 นิว ติดตังตรงระดับน้าใต้ดิน และทดสอบการให้น้าของ ชันน้าบาล โดยการสูบน้าตลอด 24 ชั่วโมงและหาระดับน้าที่ลดลงไป 6. เทคอนกรีตบนพืนดินโดยรอบขอบนอกของบ่อบาดาล เพื่อมิให้พืนดินเฉอะแฉะ และน้าสกปรกไหลลง สู่บ่อ *ขนาดรูเจาะขึนอยู่กับลักษณะพืนที่และการให้น้าของชันบาดาล สามารถเปลี่ยนแปลงได้ครับ 3. จงอธิบายหลักการของชันน้าบาดาล ทังสองประเภท ได้แก่ ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (Confining Aquifer) และชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกัน อย่างไร พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ ชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (Unconfining Aquifer) เกิดจากน้าฝนที่ตกลงสู่โลกจะไหลซึมลงดิน บางส่วนจะถูก ดินดูดซับไว้ ส่วนที่เหลือจะไหลซึมต่อไปจนกระทั่งถึงชันดินหรือหิน ชันหินซึ่งมีน้าเก็บกักเต็มช่องว่างนีเรียกว่า เขต อิ่มตัว (zone of saturation) น้าในชันหินส่วนนีเรียกว่าน้าบาดาล มีระดับผิวน้าเรียกว่า ระดับน้าใต้ดิน (water table) ชันดินที่อยู่เหนือระดับนีจะมีน้าอยู่บ้างแต่ไม่มากพอที่จะน้ามาใช้เรียกว่า เขตอากาศแฝง (zone of aeration) การที่น้าบาดาลไม่ไหลซึมลงต่อไปอีก เนื่องจากชันน้าอิ่มตัวนีถูกรองรับไว้ด้วยชันหินเนือแน่นที่น้าไม่ สามารถซึมได้เรียกว่า ชันหินปิดกัก (confining bed) ชันหินนีอาจมีอยู่ในที่ระดับความลึกต่างๆ กัน และระหว่าง ชันหินปิดกักก็อาจมีชันน้าอิ่มตัวกันเป็นแหล่งน้าบาดาลเช่นกันวางแทรกอยู่ ดังนัน จึงเห็นได้ว่าบ่อบาตาลแต่ละบ่อ นันมีความลึกไม่เท่ากัน ขึนอยู่ว่าชันน้าบาดาลเหล่านีอยู่ในระดับความลึกเท่าใด จะเห็นแหล่งน้าบาดาล 2 ลักษณะ อย่างแรกเรียกว่า ชันหินอุ้มน้าไร้แรงดัน (water table aquifer) ซึ่งมีระดับผิวน้าเท่ากับ ระดับน้าใต้ดิน (water table) พืนผิวความดัน (piezometric surface) ของน้าบาดาลในแหล่งนีจะมีค่าเท่ากับความสูงของระดับน้าใต้ดิน
  • 11. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 5 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าถ้าเจาะบ่อบาดาลในแหล่งน้านี ระดับสถิต (static level) ของน้าในบ่อบาดาลจะเท่ากับ ระดับน้าใต้ดิน ชันหินอุ้มน้ามีแรงดัน (confining Aquifer or artesian aquifer) ชันน้าบาดาลชนิดนีจะถูกขนาบอยู่ ระหว่างชันหินปิดกักทังด้านบนและด้านล่าง ดังนัน การไหลของน้าจะคล้ายกับน้าที่อยู่ในท่อ กล่าวคือ ความดันของ น้าในจุดใดก็ตามจะมีค่าเท่ากับความสูง ณ จุดสูงสุดที่น้าขังอยู่ ถ้าต้าแหน่งพืนดินที่เจาะบ่อบาดาลอยู่ต่้ากว่าระดับนี น้าที่ได้ก็จะพุ่งสูงเหนือระดับดิน บ่อบาดาลนีเรียกว่า บ่อบาดาลมีแรงดัน (artesian well) การวางตัวของชันน้า ประเภทนีมักเป็นลักษณะลาดเอียง ซึ่งจะพบมากในภูมิประเทศแถบที่เป็นเชิงเขา บริเวณที่ชันน้าโผล่ขึนสู่ผิวดิน เรียกว่า พืนที่เติมน้า (recharge area) เพราะเป็นที่รองรับให้น้าจากภายนอก เช่น น้าฝน หรือน้าจากแม่น้าล้าธาร ไหลเข้าสู่ชันน้านี รูป ชันน้าบาดาล
  • 12. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 6 4. การตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคของการผลิตน้าประปาแห่งหนึ่งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยผลการตรวจสอบคุณภาพแสดงตามตารางด้านล่างและจงตอบค้าถามต่อไปนีทีละข้อ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 10 ปลาตินัม รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ความขุ่น (Turbidity) 5 ซิลิกา ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7 คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร เหล็ก (Fe) 0.5 มังกานีส (Mn) 0.5 ทองแดง (Cu) 1.2 สังกะสี (Zn) 5.0 คัลเซียม (Ca) 80 มักเนเซียม (Mg) 55 ฟลูออไรด์ (F) 0.7 สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.001 ตะกั่ว (Pb) 0.06 อาร์เซนิก (As) 0.05 ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา (ต่อ) รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย แคดเมียม (Cd) 0.001 คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.0 MPM อี. โคไล (E.coli) มี
  • 13. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 7 4.1 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางกายภาพ สี (Color) 10 ปลาตินัม ไม่ผ่าน รสและกลิ่น (Taste and Odor) ไม่เป็นที่รังเกียจ ผ่าน ความขุ่น (Turbidity) 5 ซิลิกา ผ่าน ความเป็นกรด-ด่าง (pH range) 7 ผ่าน ความขุ่นในน้าผิวดินเกิดจากการสลายตัวของ ดิน หิน โคลน ออกไซด์ของโลหะที่อยู่ในดิน เยื่อไม้ แพลง ตอนและจุลินทรีย์ น้าทิงจากอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมจะมีสารที่ท้าให้เกิดความขุ่นได้มากมาย หลายชนิด คอลลอยด์ที่คงตัว (stable) มักเกิดจาก สบู่ ผงซักฟอก และ emulsifying agents ก็เป็นตัวท้าให้เกิด ความขุ่นด้วย ความขุ่นท้าให้น้าไม่เป็นที่ยอมรับ เพราะจะสังเกตเห็นได้ทันทีถ้าบรรจุในภาชนะใส สารคอลลอยด์ที่ให้ ความขุ่นจะเป็นตัวดูดซับสารเคมี อาจก่อให้เกิดสารอันตรายหรือท้าให้เกิดกลิ่นและรสที่ไม่ต้องการ การฆ่าเชือในน้า ขุ่นจะกระท้าได้ยากขึน เพราะความขุ่นจะท้าตัวเป็นเกราะก้าบังเชือโรคไว้ ความขุ่นในน้าธรรมชาติมีสีน้าตาล แต่ อาจมีสีอื่นขึนอยู่กับคุณสมบัติการดูดกลืนแสงของสารที่ก่อให้เกิดความขุ่น ความขุ่นจะบดบังการส่องผ่านของแสง ลงสู่น้า มีผลให้การสังเคราะห์แสงของพืชในล้าน้าและทะเลสาปลดลง นอกจากนี ความขุ่นที่ทับถมจมลงสู่กันล้าน้า หรือทะเลสาปจะจับตัวเป็นโคลนเลน และเปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตใต้น้าต่างๆ 4.2 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุและผลกระทบต่อร่างกาย ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางเคมีของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ
  • 14. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 8 ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางเคมี รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางเคมี ปริมาณสารทังหมด (Total Solids) 400 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ผ่าน เหล็ก (Fe) 0.5 ผ่าน มังกานีส (Mn) 0.5 ไม่ผ่าน ทองแดง (Cu) 1.2 ไม่ผ่าน สังกะสี (Zn) 5.0 ไม่ผ่าน คัลเซียม (Ca) 80 ไม่ผ่าน มักเนเซียม (Mg) 55 ไม่ผ่าน ฟลูออไรด์ (F) 0.7 ผ่าน สารเป็นพิษ ปรอท (Hg) 0.001 มิลลิกรัม/ ลูกบาศก์ เดซิเมตร ผ่าน ตะกั่ว (Pb) 0.06 ไม่ผ่าน อาร์เซนิก (As) 0.05 ผ่าน แคดเมียม (Cd) 0.001 ผ่าน แมงกานีส (Manganese-Mn) โดยทั่วไปแมงกานีสมีคู่กับเหล็กในน้า แต่จะมีอยู่ในปริมาณที่น้อยกว่า น้าผิว ดินที่ไม่มี การไหลถ่ายเทจะมีแมงกานีสสูง โดยเฉพาะบริเวณก้นอ่างเก็บน้า เนื่องจากแมงกานีสเป็นโลหะจ้าเป็น ส้าหรับการท้างานของเอ็นไซม์บางตัว ดังนัน การรับแมงกานีสจากอาหารในระดับ 10 มก./วัน จึงไม่ถือว่าเป็น อันตราย ในขณะที่แมงกานีสปริมาณมากๆ เป็นพิษ แต่กว่าจะถึงระดับนันมันจะก่อความร้าคาญอย่างหนักขึนก่อน แมงกานีสความเข้มข้นเกินกว่า 0.05 มก./ล. หรือความเข้มข้นรวมกับเหล็กที่มากกว่า 0.3-0.5 มก./ล. จะเริ่มสร้าง ปัญหา โดยที่แมงกานีสจะตกตะกอนแยกตัวจากน้าถ้าสัมผัสกับออกซิเจนหรือคลอรีน เกิดเป็นคราบจับติดอยู่ ภายในท่อ ซึ่งบางครังก็หลุดติดไปกับน้าประปาด้วย คราบที่เกิดจากแมงกานีสไดออกไซด์จะมีสีด้า แต่ถ้ามีเหล็กอยู่ ด้วยจะเป็นคราบสีน้าตาลเข้ม ถ้าใช้น้าประปาที่มีแมงกานีสเจือปนอยู่ซักผ้าสีอ่อนๆจะมีรอยด่าง หรือถ้าใช้กับ สุขภัณฑ์สีขาวจะมีคราบน้าที่มีแมงกานีสอยู่ จะเปลี่ยนรสของเครื่องดื่ม ด้วยเหตุนี EPA จึงก้าหนดมาตรฐานน้าดื่ม ไว้ไม่เกิน 0.05 มก./ล.
  • 15. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 9 ทองแดง (Cu) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากทองแดงไม่ ค่อยพบในน้าธรรมชาติ แต่อาจเกิดมีขึนได้จากการใช้ท่อทองแดงหรือจากการใช้จุนสี (CuSO4.7H2O) ก้าจัด สาหร่ายและตะไคร่น้า ทองแดงมีพิษอย่างแรงต่อปลา แต่การทดสอบจากการใช้ท่อน้าทองแดงพบว่ามีผลน้อยมาก ต่อคน น้าซึ่งมีทองแดง 1 มก./ล. อาจท้าให้เกิดคราบสีเขียวเกาะตามข้อต่อท่อ ทองแดงในปริมาณ 0.1 มก./ล. พอเพียงที่จะท้าให้อัตราการกัดกร่อนของท่อเหล็กอาบสังกะสีเพิ่มขึนอย่างมาก ความเข้มข้น 1-5 มก./ล. มีผลด้าน รสและความกัดกร่อน แต่ไม่เป็นอันตรายแก่มนุษย์ เพราะทองแดงเป็นสารจ้าเป็นต่อเมแทบอลิซึมของร่างกาย สังกะสี (Zn) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากสังกะสีไม่ค่อย ปรากฏให้เห็นในน้าธรรมชาติ แต่อาจมีในน้าที่ออกจากก๊อกประปาแบบท่อเหล็กอาบสังกะสีหรือน้าฝนที่ไหลผ่าน หลังคาสังกะสี ถ้าใช้ภาชนะสังกะสีมาปรุงอาหาร อาจท้าให้มีสังกะสีเจือปนเข้าไปในอาหาร น้าที่สัมผัสกับท่อเหล็ก อาบสังกะสี อาจมีการตกตะกอนของ Zinc carbonate และสารละลายสังกะสีในน้าชนิดนีอาจสูงถึง 3 มก./ล. ตัวอย่างของน้าชนิดนีใช้หาปริมาณแบคทีเรียไม่ได้ เพราะสังกะสีเป็นสารพิษส้าหรับจุลินทรีย์ แต่มีอันตรายน้อย ส้าหรับคน สังกะสีเป็นธาตุที่ร่างกายต้องการส้าหรับเมแทบอลิซึมภายในเซล จึงควรได้รับเป็นประจ้าทุกวันในอัตรา 10-15 มก. แต่ถ้าได้รับสังกะสีในความเข้มข้น 675-2,280 มก./ล. จะท้าให้เกิดอาการคลื่นเหียนอาเจียน เกลือของ สังกะสีที่ 30 มก./ล. จะท้าให้น้ามีลักษณะคล้ายน้านมและจะมีรสของโลหะที่ 40 มก./ล. จึงก้าหนดมาตรฐานของ น้าดื่มไว้ไม่เกิน 5 มก./ล. แคลเซียมและแมกนีเซียม (Calcium-Ca and Magnesium - Mg) โลหะทังสองชนิดนีเป็น alkaline earth metals ที่เจือปนอยู่ในน้าจืดในปริมาณมากกว่าชนิดอื่นๆ นอกจากนี โลหะทังสองยังมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายคลึง กัน โดยมากมักปรากฏในรูปของไบคาร์บอเนต คลอไรด์ ซัลเฟต และไนเตรท ซึ่งเป็นเกลือที่ละลายน้าและเป็น ต้นเหตุของความกระด้าง โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะพบแคลเซียมมีอยู่ในปริมาณมากกว่าแมกนีเซียมเสมอ โดยที่ ในน้าอ่อน (ปริมาณของแข็งทังหมดต่้ากว่า 50 มก./ล.) จะมีสัดส่วนของแคลเซียมและแมกนีเซียมประมาณ 48% และ 14% ของธาตุประจุบวกทังหมด ส่วนในน้ากระด้างจะมีสัดส่วนประมาณ 53% และ 35% ตามล้าดับ แมกนีเซียมมีความส้าคัญต่อการเพาะปลูกเพราะเป็นส่วนส้าคัญของโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ แมกนีเซียมที่เจือปน อยู่ในน้าดื่มร่วมกับซัลเฟตจะมีอันตรายต่อสุขภาพเพราะจะมีฤทธิ์ท้าให้ถ่ายท้อง จึงมีการก้าหนดปริมาณ แมกนีเซียมในน้าดื่มให้มีค่าไม่เกิน 150 มก./ล. ตะกั่ว (Pb) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจากไม่ค่อยพบใน แหล่งน้าธรรมชาติ ยกเว้นน้าในแม่น้าล้าคลองที่อยู่ในเขตชุมชน ซึ่งอาจมีการปนเปื้อนของตะกั่วจากไอเสียรถยนต์ ตะกั่วในน้าประปาอาจมาจากท่อประปาโลหะที่มีตะกั่วผสมอยู่หรือท่อพลาสติกบางชนิด การละลายของตะกั่วจะ
  • 16. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 10 ขึนกับคุณสมบัติของน้า เช่น น้าอ่อนหรือน้าที่มีกรดเล็กน้อย รวมทังน้าฝนที่มักจะมีคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่ สูง และน้าในพรุ (swamp waters) ซึ่งมีกรดฮิวมิกและคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ จะละลายตะกั่วได้ดี โลหะที่ใช้ ส้าหรับเก็บน้าไม่ควรทาภายในด้วยสีที่มีตะกั่วเจือปนอยู่ พิษของตะกั่วอาจเกิดจากการกินอาหารหรือน้าที่มีตะกั่ว เจือปน รวมทังการหายใจเอาอากาศที่มีตะกั่ว เช่น ควันบุหรี่ ร่างกายคนเราสามารถขับตะกั่วออกไปได้ หากได้รับ ตะกั่วทังหมดไม่เกิน 0.3-0.4 มก./วัน มีรายงานว่าพบพิษของตะกั่วจากการดื่มน้าที่มีความเข้มข้นของตะกั่วในน้า ช่วง 0.04 - 1 มก./ล. หรือมากกว่า ในขณะที่ความเข้มข้นประมาณ 0.1 มก./ล. ก็มีพิษต่อปลาแล้ว พิษของตะกั่ว แบบเฉียบพลันมีอยู่หลายอาการ เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ วิงเวียน การกระตุกของกล้ามเนือ ฯลฯ ส้าหรับพิษเรือรัง ที่ส้าคัญ ได้แก่ โรคโลหิตจาง เนื่องจากตะกั่วไปขัดขวางการสร้างฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี ยังอาจมี ผลต่อระบบประสาทด้วย 4.3 จงตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้าที่ผลิตได้ว่าค่าใดบ้างที่เกินเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) และบอกสาเหตุ ตอบ การตรวจสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยาของน้ากับเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ดังตารางแนบ ตาราง ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าบริโภคในลักษณะทางจุลชีววิทยา รายการ ค่าที่ได้จากการตรวจสอบ หน่วย ตรวจสอบ คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา เอ็มพีเอ็น (โคลิฟอร์มออร์แกนิสซึม ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) 2.0 MPM ผ่าน อี. โคไล (E.coli) มี ไม่ผ่าน อี. โคไล (E.coli) ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) เนื่องจาก E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
  • 17. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 11 4.4 จากการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา พบว่าน้านีเหมาะสมต่อการน้าไป บริโภคหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไม่เหมาะสมต่อการน้าไปบริโภค เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก้าหนดสูงสุด (Maximum Acceptable Concentration) ในการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ เคมีและจุลชีววิทยา โดยเฉพาะมีเชื่อ E.coli เจือปนอยู่ ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค 5. จากการตรวจสอบค่าปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตของแหล่งน้าบาดาลแห่งหนึ่ง เท่ากับ 300 มก./ ล. CaCO3 จงตรวจสอบว่าค่าที่ได้มีระดับความกระด้าง (Hardness) เท่าใด พร้อมบอกสาเหตุและ ผลเสียของแต่ละคุณสมบัติ ตอบ การตรวจสอบปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนต เท่ากับ 300 มก./ล. CaCO3 มีความกระด้าง (Hardness) อยู่ ระดับน้ากระด้าง เกิดจากความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ +2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2) แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทังเหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3) โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความกระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2 และ Mg+2 ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมีหน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียม คาร์บอเนต น้าที่มีความกระด้างมากจะมีผลเสีย คือ ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้าปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือตกตะกอนดัง สมการ จึงต้องใช้สบู่เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะ ไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรันพวกนีจะท้าตัว เป็นฉนวนท้าให้สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้ เพราะการขยายตัวของตะกรันกับแผ่น เหล็กของหม้อน้าไม่เท่ากัน เกิดรอยกระเทาะ น้าเย็นในหม้อน้าที่มาถูกกับรอยแตกจะกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว จึง เกิดความดันขึน นอกจากนีน้ากระด้างชั่วคราวยังมีผลท้าให้เกิดการกัดกร่อนในหม้อน้าได้เนื่องจาก CO2 ที่แตกตัว ออกมาเมื่อได้รับความร้อน ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็นประจ้า
  • 18. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 12 6. การย่อยสลายของประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) จากน้าทิงของชุมชนและ อุตสาหกรรมในเขตจังหวัดสมุทรปราการลงสู่คลองแห่งหนึ่ง ได้ตรวจพบว่ามีสารประกอบอนินทรีย์ ไนโตรเจน (Inorganic Nitrogen Compound) ได่แก่ แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไนเตรท ตามล้าดับ จงอธิบายกระบวนการย่อยสลายสารประกอบข้างต้นอย่างละเอียด พร้อมเขียนสมการทางเคมี ประกอบ ตอบ จากการตรวจพบว่ามีปริมาณของแอมโมเนีย ไนไตรท์และไนเตรทตามล้าดับ Protein saprophytic NH3 nitrosomonas NO2 nitrobacter NO3 NO3 - NO2 - NH3/N2 โดยปกติปริมาณสารประกอบไนโตรเจนทัง 2 ประเภท จะละลายเจือปนอยู่น้อยในแหล่งน้าผิวดินธรรมชาติที่ ยังไม่เน่าเสีย เช่น แอมโมเนียจะละลายอยู่น้อยกว่า 1 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย (mg/l as N-NH3) ส่วนไนเตรทมีอยู่ประมาณ 0.3 มก./ล. ของไนโตรเจนในรูปไนเตรท (mg/1 as N-NO3 -) น้าบาดาลหรือน้าใต้ดิน มักจะมีไนเตรทอยู่สูงกว่าน้าผิวดิน ส้าหรับไนไตรท์มักจะหาค่าไม่ได้เพราะไม่คงตัว เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบ อินทรีย์ไนโตรเจนจะถูกย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึนตามเวลาและ ระยะทางที่น้าไหลล่อง ในสมัยก่อนเคยใช้ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้าปรากฏว่ามี แอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของเสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่าตัวอื่นหรือ มากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านันเคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะสารอินทรีย์ถูกย่อย สลายไปหมดแล้ว รูปที่ ไนโตรเจนรูปต่างๆ ที่ปรากฏในแหล่งน้าเสียที่ยังพอมีออกซิเจนเจือปนอยู่ bacteria
  • 19. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 13 ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อยสลาย อย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจนละลายน้า ลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1 มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา และก่อ ปัญหาถ้าส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไนไตรท์ และไนเตรทได้ แอมโมเนียจะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง นอกจากนี ยัง เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้าถ้ามีมากกว่า 2.5 มก./ล. ในกรณีที่ล้าน้ามี pH ต่้ากว่า 7 แอมโมเนียมักจะละลาย น้าอยู่ในรูป NH4 + และจะถูกยึดด้วยสารประกอบที่มีประจุลบในตะกอนดิน เช่น (NH4)2CO3 แต่จะมีพิษต่อ สิ่งมีชีวิตในน้าน้อยกว่าแอมโมเนีย นอกจากนี ยังถูกยึดไว้จึงถูกชะล้างออกมาได้ยากกว่า ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน เพราะล้าไส้เล็กของเด็กในวัยนีจะมีความ เป็นกรดพอดีกับความต้องการของ nitratereducing bacteria ซึ่งจะเปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท์ เมื่อไน ไตรท์ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้สารประกอบ สีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและเสียชีวิต อาการเช่นนีเรียกว่า Blue baby syndrome หรือ Methemoglobinemia และเคยเกิดขึนในประเทศสหรัฐอเมริกาในอดีตมาก่อน นอกจากนี ยังมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือระบุว่า ไนเตรทเองเป็นสารก่อมะเร็งได้ด้วย 7. ระบบประปาผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างหรือไม่ มีขันตอนใดบ้างที่เหมือนกันและแตกต่างกัน พร้อมวาดรูป ประกอบ ตอบ ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับอุตสาหกรรมและการประปา ชุมชน มีกรรมวิธีการผลิตแตกต่างกันไป ดังตารางแนบ
  • 20. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 14 ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจากแหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูงส้าหรับ อุตสาหกรรมและการประปาชุมชน ระบบประปา ความเหมือน ความแตกต่าง ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก แหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูง ส้าหรับอุตสาหกรรม - แหล่งน้าบาดาลจะมีระดับ ความกระด้างอยู่สูง - สารซึ่งสามารถจับประจุที่เป็น ความกระด้างไว้ สารนีมีชื่อ เรียกหลายอย่าง เช่น Zeolite, ion-exchanger, resin - จ้าเป็นต้องก้าจัดความกระด้าง จนหมด ระบบประปาที่ผลิตน้าประปาจาก แหล่งน้าบาดาลมีความกระด้างสูง ส้าหรับชุมชน - กระบวนการใช้ปูนขาวและ โซดาแอชแก้ความกระด้าง (lime - soda ash process) - ขบวนการจะมีความกระด้าง เหลืออยู่บ้าง รูป ระบบประปาแก้น้ากระด้างส้าหรับน้าใช้ในอุตสาหกรรม ส้าหรับน้าใช้ในอุตสาหกรรมที่มีหม้อต้มน้าและจ้าเป็นต้องก้าจัดความกระด้างจนหมด กระบวนการนีใช้วิธี แลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้า โดยใช้สารซึ่งสามารถจับประจุที่เป็นความกระด้างไว้ สารนีมีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น Zeolite, ion-exchanger, resin
  • 21. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 15 รูป ระบบประปาแก้น้ากระด้างส้าหรับผลิตน้าประปาแก่ชุมชน ส้าหรับผลิตน้าประปาแก่ชุมชน โดยกระบวนการใช้ปูนขาวและโซดาแอชแก้ความกระด้าง (lime - soda ash process) น้าที่ผ่านขบวนการจะมีความกระด้างเหลืออยู่บ้าง 8. การฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาดใหญ่และขนาดเล็กมีอะไรบ้าง พร้อมเปรียบเทียบข้อดีและ ข้อเสียของแต่ละวิธี โดยจัดท้าเป็นแบบตารางเปรียบเทียบ ตอบ การฆ่าเชือโรคได้แก่การท้าลายจุลินทรีย์ซึ่งไม่ประสงค์ให้มีอยู่ในน้าประปา ทังประเภทที่ไม่เป็นอันตราย (non - pathogenic organism) และประเภทเชือโรค (pathogenic organism) จุลินทรีย์ดังกล่าวเมื่อปรากฏมีในน้า อาจด้ารงชีวิตอยู่ได้นานเป็นสัปดาห์ภายใต้ภาวะอุณหภูมิปกติหรือหลายเดือนที่อุณหภูมิต่้าๆ สิ่งอื่นที่มีผลต่อการ ด้ารงชีวิตนอกเหนือจากอุณหภูมิแล้วยังได้แก่สภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น พีเอช อาหาร สิ่งปะปนอื่นๆ ในน้า การ แข่งขันในการด้ารงชีพกับจุลินทรีย์อื่น ภูมิต้านทานต่อสารพิษ (toxic material) ความสามารถในการสืบพันธุ์ จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ในน้า ได้แก่ บักเตรี นอกจากนัน ก็มี ไวรัส โปรโตซัวในล้าไส้ และจุลินทรีย์อื่นๆ ซึ่งมีไม่มากนัก การฆ่าเชือโรคกระท้าได้หลายวิธี เช่น การใช้ความร้อน การใช้รังสี การใช้ประจุโลหะ การใช้คลอรีนหรือโอโซน ฯลฯ
  • 22. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 16 ตาราง เปรียบเทียบความแตกต่างข้อดีและข้อเสียของแต่ละการฆ่าเชือโรคในระบบน้าประปาทังขนาด ใหญ่และขนาดเล็ก การฆ่าเชือโรค ข้อดี ข้อเสีย การใช้ความร้อน (Heating) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้า - ท้าให้แร่ธาตุในน้าลดลง การผ่านรังสี (Irradiation) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้าและ ไม่มีอันตรายถ้าใช้รังสีใน ปริมาณมาก - ฆ่าบักเตรีชนิด อี-โคไล ได้ การใช้ประจุโลหะ (Metal Ions) - ควบคุมความเจริญเติบโตของ สาหร่ายและตะไคร่น้าในแหล่ง น้าหรือถังน้าในระบบผลิต ประปา - มีราคาสูง โอโซน (Ozone) - ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้า - สนามไฟฟ้าแรงสูงจะแตกตัว จึงมีค่าใช้จ่ายที่แพง การใช้คลอรีน (Chlorination) - ราคาถูก ประสิทธิภาพดี การ ควบคุมกระท้าได้ง่าย และ คงทนอยู่ในน้าได้นาน - ท้าปฏิกิริยาท้าลายเอนไซม์ซึ่ง เป็นองค์ประกอบส้าคัญส้าหรับ การเจริญเติบโตของเซลล์ขอ สิ่งมีชีวิต - หายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นเกิน กว่า 30 ppm จะเป็นอันตราย แก่ ตา จมูก ผิวหนังและเยื่อ หุ้มระบบหายใจ หรือถ้าหายใจ เอาคลอรีนที่เข้มข้นมากกว่า 5,000 ppm ก็อาจถึงตายได้ 1. การใช้ความร้อน (Heating) การต้มน้าให้เดือดเป็นวิธีการฆ่าเชือโรคที่ใช้กันมาแต่โบราณกาล และมีความ ปลอดภัยเพียงพอส้าหรับการบริโภค ระดับการฆ่าเชือโรคอาจจ้าแนกเป็น - พาสเจอไรเซชัน(Pasteurization) เป็นการฆ่าบักเตรีในของเหลว เช่น นม โดยใช้อุณหภูมิไม่สูงนักเพื่อ รักษาคุณค่าอาหาร เช่น วิธี LTH (Low Temperature Holding) จะใช้ความร้อน 62.8 °C นาน 30 นาที หรือวิธี HTST (High Temperature Short Time) ใช้ความร้อน 71.7 °C นาน 15 วินาที - การท้าไร้เชือ (Sterilization) เป็นการท้าลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในน้าโดยการใช้อุณหภูมิสูงหรือภายใต้ ความดัน เช่น การใช้ไอน้า 121 °C ภายใต้ความดัน 1.2 kg/cm2 เป็นเวลา 15-20 นาที
  • 23. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 17 - การกลั่น (Distillation) เป็นการให้ความร้อนจนน้าระเหยกลายเป็นไอแล้วควบแน่นกลับเป็นหยดน้า น้ากลั่นเป็นน้าอ่อนและไม่เหมาะสมส้าหรับใช้บริโภค 2. การผ่านรังสี (Irradiation) รังสีที่ใช้คืออุลตราไวโอเล็ต (Ultraviolet) ซึ่งเป็นรังสีที่มองไม่เห็นถัดจากแสงสี ม่วงในสเปคตรัม มีประสิทธิภาพสูงในการท้าลายและยับยังการเติบโตของบักเตรีและไวรัส รังสีนีสร้างขึน ได้โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าในหลอดไอปรอท (mercury vapor lamp) ซึ่งท้าจากควอทซ์หรือแก้วชนิด พิเศษ ความยาวคลื่นแสงที่มีประสิทธิภาพฆ่าเชือโรคได้ดีอยู่ระหว่าง 2000-3000 A° องศา (Angstrom) น้าจะไหลผ่านโดยรอบหลอดแก้วนีในระยะไม่เกิน 10 ซม. และควรเป็นน้าสะอาด ปราศจากความขุ่นและ สี รวมทังหลอดแก้วก็ควรใสไม่มีคราบเกาะติด วิธีการนีมีผลดีในข้อที่ไม่เพิ่มรสหรือกลิ่นลงในน้าและไม่มี อันตรายถ้าใช้รังสีในปริมาณมาก เหมาะส้าหรับใช้กับระบบน้าดื่มขนาดเล็ก แต่ไม่เหมาะสมกับสระว่ายน้า เนื่องจากไม่มีฤทธิ์เหลืออยู่ (residual) ส้าหรับฆ่าเชือโรคที่เกิดขึนภายหลัง ความเข้มของรังสีที่ 3000, 1500 และ 750 มิลลิวัตต์-วินาทีต่อตารางเซนติเมตร จะฆ่าบักเตรีชนิด อี-โคไล ได้ 99.90, 90 และ 90 เปอร์เซนต์ ตามล้าดับ 3. การใช้ประจุโลหะ (Metal Ions) ประจุโลหะที่ใช้ฆ่าจุลินทรีย์ในน้าได้แก่ ประจุของเงิน (Au) และ ทองแดง (Cu) แต่ไม่สู้แพร่หลายในการใช้กับระบบประปาเพราะมีราคาสูง และการท้าลายเป็นไปอย่างช้าที่ความ เข้มข้นต่้า ประจุทองแดงในรูปของจุนสี (CuSO4) นิยมใช้ควบคุมความเจริญเติบโตของสาหร่ายและตะไคร่ น้าในแหล่งน้าหรือถังน้าในระบบผลิตประปา 4. โอโซน (Ozone) โดยปกติออกซิเจนในบรรยากาศจะอยู่ในรูปของโมเลกุล ซึ่งประกอบด้วย 2 อะตอม (O2) เมื่อโมเลกุลนีถูกจุดระเบิด (spark) ในสนามไฟฟ้าแรงสูงจะแตกตัว ดังนัน เมื่อผ่านก๊าซโอโซนลงสู่น้าจะท้า ให้สารอินทรีย์ถูกท้าลายและลดจ้านวนลงอย่างรวดเร็ว ผลของปฏิกิริยาจะไม่เพิ่มสี กลิ่นและรส ให้กับน้า และโอโซนที่เหลืออยู่จะจางหายไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากโอโซนมีคุณสมบัติทางเคมีไม่คงตัว ดังนัน จึงต้อง ผลิตและใช้ทันที อัตราการใช้อยู่ระหว่าง 1.0 ถึง 5.3 กก. ต่อ 1000 ม.3 ของน้า อัตราที่ใช้สูงนันส้าหรับ ก้าจัดกลิ่นและสีด้วยพลังงานที่ใช้ผลิตโอโซนประมาณ 10 ถึง 20 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อหนึ่งกิโลกรัมโอโซน ค่าใช้จ่ายในการใช้โอโซนฆ่าเชือโรคจะสูงกว่าคลอรีนสองถึงสามเท่า แต่เนื่องจากโอโซนจะไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ดังนัน จึงจ้าเป็นต้องใช้คลอรีนความเข้มข้นต่้าใส่ลงในน้าประปาภายหลังจากใช้โอโซนแล้ว เพื่อป้องกันการ เติบโตของจุลินทรีย์ในเส้นท่อ โอโซนละลายน้าได้น้อย จึงต้องมีการผสมอย่างทั่วถึงเพื่อให้ได้ผลเต็มที่ ซึ่ง ถ้าหากผลิตโอโซนจากอากาศธรรมดาอาจมีปัญหาอันเนื่องจากมีก๊าซไนโตรเจนจ้านวนมากปะปนมาด้วย 5. การใช้คลอรีน (Chlorination) การใช้คลอรีนฆ่าเชือโรคเป็นวิธีการที่แพร่หลายมากกว่าวิธีอื่นๆ เพราะมี ราคาถูก ประสิทธิภาพดี การควบคุมกระท้าได้ง่าย และคงทนอยู่ในน้าได้นาน คลอรีนในสภาวะปกติเป็น
  • 24. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 18 ก๊าซพิษ ถ้าหายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นเกินกว่า 30 ppm จะเป็นอันตรายแก่ ตา จมูก ผิวหนังและเยื่อหุ้ม ระบบหายใจ หรือถ้าหายใจเอาคลอรีนที่เข้มข้นมากกว่า 5,000 ppm ก็อาจถึงตายได้ คลอรีนเป็นที่นิยมใช้ ในระบบประปาเพื่อท้าลายเชือโรคและจุลินทรีย์ รวมทังสารอื่นๆ เช่น บักเตรี โปรโตซัว ไวรัส โดยคลอรีน จะไปท้าปฏิกิริยาท้าลายเอนไซม์ซึ่งเป็นองค์ประกอบส้าคัญส้าหรับการเจริญเติบโตของเซลล์ขอสิ่งมีชีวิต นอกจากนี คลอรีนยังช่วยในการก้าจัดสาหร่าย ตะไคร่น้า ตลอดจนรส กลิ่นและสีของน้าด้วย 9. จงอธิบายหลักการของการเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ได้แก่ เครื่องเติมอากาศแบบไหล หลั่น (Cascade Aerator) แบบพืนลาดเอียง (Inclined Plane) แบบหอ (Tower) และแบบถาด หลายชัน (Multiple Tray) พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ เครื่องเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก น้าดิบจะถูกสูบขึนไปยังที่สูงแล้วปล่อยให้ตกลงมาอย่าง อิสระเบืองล่าง ระหว่างที่ตกลงมานันจะสัมผัสกับอากาศ ระยะเวลาของการสัมผัสอาจท้าให้เพิ่มขึนได้ โดยการ ออกแบบให้เส้นทางการไหลยาวขึน หรือสร้างสิ่งกีดขวางปะทะการตกลงมาของน้า รูป a เป็นเครื่องเติมอากาศแบบไหลหลั่น (cascade aerator) น้าดิบจะไหลลดหลั่นลงมาตามขัน ระหว่าง ตกกระทบจะมีการผสมทั่วถึงยิ่งขึน บางครังอาจสร้างแผ่นกัน (baffle) ขวางการไหลของน้าเพื่อเพิ่ม A/V รูป b เป็นแบบพืนลาดเอียง (inclined plane) น้าจะไหลบนแผ่นพืนราบ การสัมผัสอากาศเกิดขึนเฉพาะ ผิวบนของน้า ดังนัน ประสิทธิภาพของการเติมจะสูงถ้าออกแบบให้น้าไหลเป็นแผ่นบางได้มากที่สุด รูป c แบบหอ (tower) น้าดิบจะไหลตกลงมาจากท่อเจาะรูเบืองบนของหอ มีการพ่นอากาศจากที่เจาะรู เบืองล่างให้พุ่งขึนสวนทางกับน้า เพื่อเพิ่มปริมาณอากาศให้พอเพียงกับการสัมผัส การเติมอากาศลักษณะนี เสียค่าใช้จ่ายสูงแต่ประสิทธิภาพดี ระบบก้าจัดน้าเสียบางแห่งก็ใช้วิธีการแบบนี รูป d แบบถาดหลายชัน (multiple tray) น้าดิบจะตกลงบนถาดซึ่งเจาะรูพรุน วางซ้อนกันอยู่เป็นชันๆ จ้านวนถาดมากเท่าใดระยะเวลาการสัมผัสอากาศก็เพิ่มขึนตามนัน การเติมอากาศลักษณะนีประหยัดและ ง่ายในการก่อสร้าง ระบบก้าจัดเหล็กของการประปาขนาดเล็กในชนบทของไทย นิยมใช้เครื่องเติมอากาศ ชนิดนีเป็นส่วนใหญ่
  • 25. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 19 รูป เครื่องเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก 10. ระบบเติมอากาศแบบอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกแบบถาดหลายชัน (Multiple Tray) ที่นิยม ประยุกต์ใช้ในการเติมอากาศของประปาขนาดเล็ก ถ้าประปาหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีการออกแบบให้ติดตัง ถาดเติมอากาศชันบนสุดห่างจากถาดชันล่างสุด เป็นระยะ 2 เมตร โดยมีการเสริมถาดระหว่างชันบน และล่าง จ้านวน 6 ถาด จงหาระยะเวลาของน้าสัมผัสกับอากาศและอธิบายความเหมาะสมของ ระยะห่างของแต่ละถาดมีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมวาดรูปประกอบ ตอบ ก้าหนดให้ เมื่อ n = 7 และ h = 2 เมตร t = √2𝑛ℎ/𝑔 = √2 𝑥 7 𝑥 2/9.81 ระยะเวลาสัมผัสส้าหรับการตก 7 ระยะ = 1.69 วินาที ระยะห่างระหว่างตะแกรงในการตก 7 ระยะ = 2/7 = 0.29 เมตร ซึ่งมีความไม่เหมาะสม เพราะมี ระยะห่างระหว่างถาดประมาณ 30-50 ซม. ตามมาตรฐาน
  • 26. ชื่อ_______________________________________ รหัสนิสิต______________________________ 20 h = 2 เมตร 11. การทดสอบหาค่าสม่้าเสมอของเม็ดทรายที่น้าไปใช้เป็นชันทรายกรองของระบบทรายกรองช้า โดยการ น้าไปทดสอบร่อนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) ผลที่ได้จากการทดสอบดังตาราง ทรายที่น้ามา ทดสอบจ้านวนทังหมด 10.00 กิโลกรัม ขนาดช่องเปิดของตะแกรง (มม.) น้าหนักของทรายที่ค้างบนตะแกรง (กิโลกรัม) 1.0 0.5 0.75 0.5 0.7 1.0 0.5 2.0 0.4 3.0 0.3 3.0 11.1 จงหาค่า Effective Size และค่า Uniformity Coefficient ของทรายกรอง ขนาดช่องเปิด ของตะแกรง (มม.) น้าหนักของทรายที่ ค้างบนตะแกรง (กิโลกรัม) น้าหนักสะสมที่ ผ่านพ้นได้ (กิโลกรัม) น้าหนักสะสมเป็น เปอร์เซ็นต์ที่ผ่านพ้น ได้ 1.0 0.5 9.5 95 0.75 0.5 9.0 90 0.7 1.0 8.0 80 0.5 2.0 6.0 60 0.4 3.0 3.0 30 0.3 3.0 0.0 0