SlideShare a Scribd company logo
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 6
การไหลในทางน้าเปิด
(Open Channel Flow)
1
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
การไหลในทางน้าเปิด (Open Channel Flow) คือการไหลของของไหลไปตามทางน้าโดยมีผิวอิสระ สัมผัสกับ
อากาศด้านบน การไหลจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของความดันบรรยากาศโดยรอบ (Atmospheric pressure) และแรงโน้มถ่วงของ
โลก (Gravity) ซึ่งการไหลในลักษณะนีสามารถพบเห็นได้ทั่วไปเช่น การไหลในแม่น้าล้าคลอง การไหลในคลองส่งน้า การไหล
ในท่อหรือรางระบายน้า
3
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1 ประเภทของทางน้าเปิด (Type of channel)
ทางน้าเปิดที่พบเห็นโดยทั่วไปนันสามารถจ้าแนกได้ 2 ประเภทคือ
o ทางน้าธรรมชาติ (Natural channel) คือทางน้าที่เกิดขึนเองตามธรรมชาติ รูปร่างของรูปตัดขวางของทางน้าและ
ความลาดเทของท้องทางน้า จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพพืนที่ (Non - Prismatic channel) เช่น ล้าธาร คลอง
หรือแม่น้า เป็นต้น
o ทางน้าที่มนุษย์สร้างขึน (Artificial channel) คือทางน้าที่มนุษย์สร้างขึนเพื่อสนองตอบต่อความต้องการด้านต่าง ๆ
เช่น การส่งน้าเพื่อการชลประทาน การระบายน้า หรือเพื่อการคมนาคมขนส่งเป็นต้นซึ่งโดยทั่วไปลักษณะของทาง
น้าจะมีรูปตัดขวางและความลาดเทของท้องรางคงที่ (Prismatic channel) เช่น คลองส่งน้าดาดคอนกรีต ราง หรือ
ท่อระบายน้า เป็นต้น
4
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2 การจ้าแนกประเภทการไหลในทางน้าเปิด (Open channel flow classification)
ในการวิเคราะห์ด้านชลศาสตร์ ประเด็นในการวิเคราะห์เพื่อจ้าแนกประเภทของการไหลในทางน้าเปิดถูกแบ่งออกเป็น
2 ส่วนคือ จ้าแนกโดยพิจารณาจากรูปของการไหล (Type of flow) และจ้าแนกโดยพิจารณาจากสภาวะของการไหล (State of flow)
2.1 การจ้าแนกประเภทการไหลในทางน้าเปิดโดยพิจารณาจากรูปแบบของการไหล (Type of flow) ในการจ้าแนกจะมี
หลักเกณฑ์ 2 ประเภทคือ
1) พิจารณาการเปลี่ยนแปลงกับเวลา
a) การไหลคงที่ (Steady flow) คือการไหลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหล เช่น
ความลึก (y) ความเร็ว (V) อัตราการไหล (Q) พืนที่หน้าตัดการไหล (A) จะคงที่ตลอดช่วงเวลาที่พิจารณา
d
dt
y, A, v, Q = 0
b) การไหลไม่คงที่ (Unsteady flow) คือการไหลที่มีการลี่ยนแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหล เช่น
ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พืนที่หน้าตัดการไหล ไม่คงที่ตลอดช่วงเวลาที่พิจารณา
d
dt
y, A, v, Q ≠ 0
5
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
2. พิจารณาการเปลี่ยนแปลงรูปตัดขวางของการไหลในช่วงใด ๆ
a) การไหลแบบสม่้าเสมอ (Uniform Flow : UF) คือการไหลที่มีความลึก และพืนที่หน้าตัดการไหล (A) คงที่ตลอดช่วงความยาวที่
พิจารณา
b) การไหลแบบแปรเปลี่ยน (Varied flow หรือ Non-Uniform flow) คือการไหลที่มีความลึก และพืนที่หน้าตัดการไหล ไม่คงที่
ตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา
- การไหลแบบแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไป (Gradually Varied Flow : GVF) คือการไหลที่ความลึกและพืนที่หน้าตัด
การไหล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา
6
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
• การไหลแบบสม่้าเสมอไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady uniform flow) คือสภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว อัตราการไหล และ
พืนที่หน้าตัดการไหล คงที่ตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา โดยจะไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา ซึ่งเกือบทังหมดมักจะเกิดในทางน้าที่มนุษย์สร้างขึน
เนื่องจากรูปตัดขวางของทางน้ามักจะสร้างให้มีรูปร่างคงที่ และในการใช้งานเราจะสามารถควบคุมความเร็ว และอัตราการไหลได้
• การไหลแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไปแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Gradually Varied Flow) คือสภาพการไหลที่มีค่าความลึก
ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไปตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา แต่ความลึก ความเร็วและ
พืนที่หน้าตัดการไหลที่จุดใดจุดหนึ่งนันจะคงที่ ไม่แปรเปลี่ยนเปลี่ยนตามเวลา
รูป การไหลแบบ Steady gradually varied flow
รูป การไหลแบบ Steady uniform flow
7
y1(t) = y1(t+dt) y2(t) = y2(t+dt) V1(t) = V1(t+dt) V2(t) = V2(t+dt)
A1(t) = A1(t+dt) A2(t) = A2(t+dt) Q(t) = Q(t+dt)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
• การไหลแปรเปลี่ยนฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Rapidly Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว
และพืนที่หน้าตัดการไหลเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา แต่ความลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลที่จุดใด
จุดหนึ่งนันจะคงที่ ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา
• การไหลแบบสม่้าเสมอแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Uniform flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว อัตราการไหล
พืนที่หน้าตัดการไหล เท่ากันตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา แต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
รูป การไหลแบบ Unsteady uniform flow
รูป การไหลแบบ Steady rapidly varied flow
8
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
• การไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันและแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Rapidly Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว
และพืนที่หน้าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา และแปรเปลี่ยนตามเวลาไปพร้อม ๆ กัน
• การไหลแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไปและแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Gradually Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความ
ลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไปตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา และ
เปลี่ยนแปลงตามเวลาไปพร้อม ๆ กัน
รูป การไหลแบบ Unsteady rapidly varied flow
รูป การไหลแบบ Unsteady gradually varied flow
9
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2.2 การจ้าแนกประเภทตามสภาวะของการไหล (State of flow)
การจ้าแนกประเภทการไหลตามสภาวะของการไหลนัน จะพิจารณาจากพฤติกรรมของการเคลื่อนตัวของไหลในทางน้า รวมถึง
ผลกระทบของแรงที่มีอิทธิพลต่อการไหล
2.2.1 จ้าแนกโดยพิจารณาจาก เรย์โนลด์นัมเบอร์ (Reynold number : Re)
Reynold number คือตัวเลขที่วิเคราะห์โดยค้านึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความหนืด (Vicous force) และแรงอัน
เนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ซึ่งตัวเลขดังกล่าวนันจะสามารถบ่งบอกถึงพฤติกรรมของการเคลื่อนที่ ของอนุภาคของ
ไหลได้ เข่นเดียวกับการไหลในท่อ ส้าหรับการไหลในทางน้าเปิด Re สามารถค้านวณได้จาก
Re =
VR
ν
เมื่อ R = รัศมีชลศาสตร์(Hydraulic radius), V = ความเร็วเฉลี่ย, 𝜈 = ความหนืดคิเนมาติกของของไหล
10
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
การไหลในทางน้าเปิดสามารถแบ่งสภาวะการไหลได้เป็น 3 ประเภทคือ
o การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างเป็นระเบียบ จะเกิดขึนกับ
การไหลที่มีความเร็วต่้า หรือความหนืดของของไหลมาก โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่าต่้ากว่า 500
o การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) อนุภาคของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ จะเกิดขึนกับ
การไหลที่มีความเร็วสูง หรือความหนืดของของไหลต่้า โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่ามากกว่า 2,000
o การไหลแบบแปรเปลี่ยน (Transitional flow) เป็นสภาวะการไหลที่ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นแบบปั่นป่วน
หรือ ราบเรียบ โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่าอยู๋ระหว่าง 500 ถึง 2000
11
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2.2.2 จ้าแนกโดยพิจารณาจาก ฟรุดนัมเบอร์ (Froude number : Fr)
Froude number คือตคัวเลขที่วิเคราะห์โดยค้านึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง (Gravity force) และแรงอัน
เนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ตัวเลขดังกล่าวนันจะสามาถบ่งบอกถึงพฤติกรรมของการไหลได้ (การวิเคราะห์จะ
กล่าวถึงในบทที่ 8) ซึ่งสามารถค้านวณได้จาก
Fr =
V
gD
เมื่อ D = ความลึกชลศาสตร์ (hydraulic depth)
g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
12
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
การไหลในทางน้าเปิดสามารถแบ่งสภาวะได้เป็น 3 ประเภทคือ
o การไหลวิกฤต (Critical flow) จะเกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์เท่ากับ 1 ค่าความลึก และความเร็วที่สภาวะนีจะ เรียกว่า ความลึก
วิกฤต และความเร็ววิกฤต
o การไหลต่้ากว่าวิกฤต (Subcritical flow) จะเกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์ต่้ากว่า 1 ที่สภาวะนี ความลึก จะมากกว่า ความลึก
วิกฤต แต่ความเร็วจะน้อยกว่า ความเร็ววิกฤต เมื่อเปรียบเทียบที่อัตราการไหลเท่ากัน
o การไหลเหนือกว่าวิกฤต (Supercritical flow) เกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์มากกว่า 1 สภาวะนี ความลึกจะน้อยกว่า ความลึก
วิกฤต แต่ความเร็วจะมากกว่า ความเร็ววิกฤต เมื่อเปรียบเทียบที่อัตราการไหลเท่ากัน
13
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3 สมการพืนฐานของการไหลในทางน้าเปิด (Basic equation of open channel flow)
เพื่อความสะดวกในการศึกษา จะขอกล่าวถึงนิยามของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์การไหลในทางน้าเปิดเสียก่อน ซึ่งประกอบด้วยตัว
แปรดังต่อไปนี
o ความลึก (Depth :y) คือระยะในแนวดิ่งที่วัดจากจุดต่้าสุดจนถึงผิวอิสระของหน้าตัดการไหล
o ความกว้างผิว (Top width :B) คือความกว้างของผิวอิสระของพืนที่หน้าตัดการไหล
o ความลึกชลศาสตร์ (Hydraulic :D) คือความลึกเฉลี่ยของพืนที่หน้าตัดการไหลที่มีความกว้าง
เท่ากับความกว้างผิว ซึ่งสามารถค้านวณได้จาก D =
A
B
(ในกรณีที่ทางน้าเป็นรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉาก D = y )
o ความยาวเว้นขอบเปียก (Wetted perimeter :P) คือความยาวเส้นขอบด้านสัมผัสกับทางน้า
ของพืนที่หน้าตัดการไหล
o รัศมีชลศาสตร์ (Hydraulic radius :R) คือตัวแปรที่มีคุณลักษณะคล้ายกับรัศมี ซึ่งค้านวณได้
จาก R=
A
P
รูป ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการ
ไหลในทางน้าเปิด
14
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.1 สมการต่อเนื่อง (Continuity Equation)
รูป การไหลในทางน้าเปิด
15
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.2 สมการพลังงาน (Energy Equation)
สมการพลังงานคือสมการความสัมพันธ์ของเฮด (Energy head) ของอนุภาคของไหลที่เคลื่อนที่ไปตาม streamline ผ่านจุดต่าง ๆ ซึ่ง
เฮดที่ว่านันจะประกอบด้วย เฮดระดับ (Elevation head) เฮดความดัน (Pressure head) และความเร็ว (Velocity head) โดยผลรวมของเฮด
ระดับ กับเฮดความดันจะเรียกว่า เฮดสถิต (Static head) เมื่อพิจารณากับการไหลในทางน้าเปิด ที่หน้าตัดการไหลเดียวกันหากเราพิจารณาค่าเฮด
สถิตของอนุภาคของไหลใด ๆ บนหน้าตัด จะเห็นได้ว่า
รูป เฮดของอนุภาคของไหลบนหน้าตัดใด ๆ ของการไหลในทางน้าเปิด
16
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
รูป เฮดของหน้าตัดการไหลของการไหลในทางน้าเปิด
17
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.3 สมการโมเมนตัม (Momentum Equation)
สมการโมเมนตัมส้าหรับการไหลในทางน้าเปิด จะแตกต่างกับการไหลในท่อเนื่องจากการไหลในทางน้าเปิดนัน ความดันจะแปร
ผันตามความลึกของน้า
รูป การวิเคราะห์แรงที่กระท้ากับ Control volume ของ
การไหลในทางน้าเปิด
18
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4 การวิเคราะห์การไหลแบบสม่้าเสมอไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Uniform Flow)
เมื่อการไหลนันเกิดขึนในทางน้าที่มีหน้าตัดสม่้าเสมอเป็นระยะทางยาวมาก ๆ ในช่วงเริ่มต้นของทางน้าการไหลจะมีการปรับตัว
เพื่อให้แรงกระท้าต่าง ๆ ในระบบเช้าสู่สภาวะที่สมดุล ไม่มีความเร่ง ซึ่งเมื่อเข้าสู่สภาวะที่สมดุลแล้วพืนที่หน้าตัดตามขวางของการไหล จะมี
รูปร่างคงที่ต่อเนื่องตามความยาวของทางน้าไปจนกว่าทางน้านันเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิม ดังรูปที่ ด้วยเหตุนีความลาดชันของผิวน้า
(SW) ตลอดช่วงของการไหลแบบสม่้าเสมอ จะเท่ากับความลาดชันของท้องรางน้า (So) และเท่ากับความลาดชันของเส้นระดับพลังงาน (Sf)
รูป การเกิดการไหลแบบ Uniform flow
19
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
สมการนันเรียกว่า สมการ Chesy หรือ สูตร Chezy (Chezy’s Fomula) โดยที่ C =
γ
K
คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของ Chezy (Chezy
coefficient) ซึ่งมีลักษณะเป็นสัมประสิทธิ์การไหลชนิดหนึ่ง โดยจะขึนอยู่กับ ลักษณะทางกายภายของทางน้า และความหยาบของพืนผิวทางน้า
20
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ต่อมาในปี ค.ศ. 1890 Robert Manning ได้พัฒนาสมการของ Chezy โดยน้าผลที่ได้จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ และข้อมูลในภาคสนามมา
วิเคราะห์พบว่า สัมประสิทธิ์ของ Chezy จะมีความสัมพันธ์กับค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient)
สมการนันเรียกว่า สมการ Manning หรือสูตร Manning (Manning’s Formula)
21
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตาราง ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient)
22
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่างที่ 1 ทางน้าดาดคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมคางหมูดังรูป น้ามีความลึก 2 m. ค่าสัมประสิทธิ์
ความขรุขระของแมนนิ่ง เท่ากับ 0.015 และความลาดเทของพืนทางน้าเท่ากับ 0.001 จงหา
อัตราการไหล และความเร็วของน้า
23
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
24
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่างที่ 2 ทางน้าลักษณะดังรูป น้าไหลด้วยความลึกปกติเท่ากับ 4 m. ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งบริเวณร่องน้าหลัก (Main
channel) และบริเวณพืนที่น้าท่วม (Floodplain) เท่ากับ 0.015 และ 0.035 ตามล้าดับ ความลาดเทของพืนทางน้าเท่ากับ 0.001 จงหาอัตรา
การไหลในทางน้า
25
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
26
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
27
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
5. พลังงานจ้าเพาะกับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา
(Specific energy and steady rapidly varied flow)
รูป พลังงานงานจ้าเพาะของการไหลในทางน้าเปิด
28
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จากความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจ้าเพาะ กับความลึกของการไหล จะ
เห็นได้ว่า ที่ระดับพลังงานจ้าเพาะหนึ่ง ๆ ค่าความลึกของการไหล
สามารถเป็นไปได้สองค่า (alternate depth) ดังรูปที่ 7.19 แต่จะมี
เพียงจุดเดียวเท่านันที่ค่าพลังงานจ้าเพาะสัมพันธ์กับค่าความลึกเพียง
หนึ่งค่า เราจะเรียกจุดนีว่า การไหลวิกฤต (critical flow) ซึ่งเราจะ
เรียกค่าความลึก และพลังงานจ้าเพาะที่จุดนีว่า ความลึกวิกฤต
(critical depth : yc) และพลังงงานจ้าเพาะที่จุดวิกฤต (critical
specific energy : Ec) ตามล้าดับ
รูป ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจ้าเพาะกับความลึกของการไหล
ในทางน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
29
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่างที่ 3 ทางน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 m ความลึก y1 เท่ากับ 1.55 m และ
ความเร็ว V1 เท่ากับ 1.83 m/s หากทางด้านท้ายน้ามีการยกพืนขึน ลักษณะดังรูป
- ถ้า ∆z = 0.2 m. จงหาความลึก และความเร็วด้านท้ายน้า
- จงหาว่าสามารถยกพืนสูงสุดได้เท่าไหร่ โดยไม่ท้าให้ความลึกด้านเหนือน้าเกิดการ
เปลี่ยนแปลง(ก้าหนดให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก)
30
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
31
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
32
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
33
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
6. โมเมนตัมฟังก์ชันกับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา
(Momentum function and steady rapidly varied flow)
รูป ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมฟังก์ชันกับความลึกของการ
ไหลในทางน้าเปิดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
34
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่างที่ 4 การไหลในทางน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 m เกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า
Hydraulic jump ลักษณะดังรูป ด้านเหนือน้าความลึก y1 เท่ากับ 0.4 m และความเร็ว
V1 เท่ากับ 7 m/s หากไม่พิจารณาผลจากแรงเสียดทาน จงหาความลึก และความเร็วด้าน
ท้ายน้าพลังงานที่สูญเสียไประหว่างการเกิด Hydraulic jump มีค่าเท่าไร
35
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
36
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
37
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
38
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
SunanthaIamprasert
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
Preeyapat Lengrabam
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
Thepsatri Rajabhat University
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Similar to บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)

บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Chapter four fluid mechanics
Chapter four fluid mechanicsChapter four fluid mechanics
Chapter four fluid mechanics
abrish shewa
 
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
bgjeenet
 
10.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 310.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 3
mohdamirkhan7
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Fluid Kinematics
Fluid KinematicsFluid Kinematics
Fluid Kinematics
Malla Reddy University
 
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volumeFluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
Addisu Dagne Zegeye
 
Fluid kinematics
Fluid kinematics Fluid kinematics
Fluid kinematics
Shabin George
 
Fluid kinematics
Fluid kinematicsFluid kinematics
Fluid kinematics
Mohsin Siddique
 
flow_through_linear_weir in analysis of the
flow_through_linear_weir in analysis of the flow_through_linear_weir in analysis of the
flow_through_linear_weir in analysis of the
huamrajak
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Fluid kinematics
Fluid kinematics Fluid kinematics
Fluid kinematics
Shabin George
 
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...IJERD Editor
 
www.ijerd.com
www.ijerd.comwww.ijerd.com
www.ijerd.com
IJERD Editor
 
FluidKinematics.ppt
FluidKinematics.pptFluidKinematics.ppt
FluidKinematics.ppt
DrAnkitaUpadhya
 
FE CP PPT-2.pptx
FE CP PPT-2.pptxFE CP PPT-2.pptx
FE CP PPT-2.pptx
mavkwgfte
 
Chapter 2S2.pptx
Chapter 2S2.pptxChapter 2S2.pptx
Chapter 2S2.pptx
Tirusew1
 

Similar to บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics) (20)

บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
Chapter four fluid mechanics
Chapter four fluid mechanicsChapter four fluid mechanics
Chapter four fluid mechanics
 
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
2 Pergerakan fluida fisika aplikasi yagesyaaaa
 
10.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 310.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 3
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
Fluid Kinematics
Fluid KinematicsFluid Kinematics
Fluid Kinematics
 
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volumeFluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
Fluid Mechanics Chapter 3. Integral relations for a control volume
 
Fluid kinematics
Fluid kinematics Fluid kinematics
Fluid kinematics
 
Fluid kinematics
Fluid kinematicsFluid kinematics
Fluid kinematics
 
flow_through_linear_weir in analysis of the
flow_through_linear_weir in analysis of the flow_through_linear_weir in analysis of the
flow_through_linear_weir in analysis of the
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
Fluid kinematics
Fluid kinematics Fluid kinematics
Fluid kinematics
 
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...
IJERD(www.ijerd.com)International Journal of Engineering Research and Develop...
 
www.ijerd.com
www.ijerd.comwww.ijerd.com
www.ijerd.com
 
FluidKinematics.ppt
FluidKinematics.pptFluidKinematics.ppt
FluidKinematics.ppt
 
FE CP PPT-2.pptx
FE CP PPT-2.pptxFE CP PPT-2.pptx
FE CP PPT-2.pptx
 
Chapter 2S2.pptx
Chapter 2S2.pptxChapter 2S2.pptx
Chapter 2S2.pptx
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
Nguyen Thanh Tu Collection
 
Synthetic Fiber Construction in lab .pptx
Synthetic Fiber Construction in lab .pptxSynthetic Fiber Construction in lab .pptx
Synthetic Fiber Construction in lab .pptx
Pavel ( NSTU)
 
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptxInstructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Jheel Barad
 
The Challenger.pdf DNHS Official Publication
The Challenger.pdf DNHS Official PublicationThe Challenger.pdf DNHS Official Publication
The Challenger.pdf DNHS Official Publication
Delapenabediema
 
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
Sandy Millin
 
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th SemesterGuidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
Atul Kumar Singh
 
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
JosvitaDsouza2
 
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdfAdversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
Po-Chuan Chen
 
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdfUnit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Thiyagu K
 
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.pptThesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
EverAndrsGuerraGuerr
 
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
MysoreMuleSoftMeetup
 
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptxPalestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
RaedMohamed3
 
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptxFrancesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
EduSkills OECD
 
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with MechanismOverview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
DeeptiGupta154
 
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
beazzy04
 
Language Across the Curriculm LAC B.Ed.
Language Across the  Curriculm LAC B.Ed.Language Across the  Curriculm LAC B.Ed.
Language Across the Curriculm LAC B.Ed.
Atul Kumar Singh
 
How to Make a Field invisible in Odoo 17
How to Make a Field invisible in Odoo 17How to Make a Field invisible in Odoo 17
How to Make a Field invisible in Odoo 17
Celine George
 
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
CarlosHernanMontoyab2
 
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
siemaillard
 
Operation Blue Star - Saka Neela Tara
Operation Blue Star   -  Saka Neela TaraOperation Blue Star   -  Saka Neela Tara
Operation Blue Star - Saka Neela Tara
Balvir Singh
 

Recently uploaded (20)

BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
BÀI TẬP BỔ TRỢ TIẾNG ANH GLOBAL SUCCESS LỚP 3 - CẢ NĂM (CÓ FILE NGHE VÀ ĐÁP Á...
 
Synthetic Fiber Construction in lab .pptx
Synthetic Fiber Construction in lab .pptxSynthetic Fiber Construction in lab .pptx
Synthetic Fiber Construction in lab .pptx
 
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptxInstructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
 
The Challenger.pdf DNHS Official Publication
The Challenger.pdf DNHS Official PublicationThe Challenger.pdf DNHS Official Publication
The Challenger.pdf DNHS Official Publication
 
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
2024.06.01 Introducing a competency framework for languag learning materials ...
 
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th SemesterGuidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
Guidance_and_Counselling.pdf B.Ed. 4th Semester
 
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
1.4 modern child centered education - mahatma gandhi-2.pptx
 
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdfAdversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
Adversarial Attention Modeling for Multi-dimensional Emotion Regression.pdf
 
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdfUnit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
 
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.pptThesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
Thesis Statement for students diagnonsed withADHD.ppt
 
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
Mule 4.6 & Java 17 Upgrade | MuleSoft Mysore Meetup #46
 
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptxPalestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
 
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptxFrancesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
 
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with MechanismOverview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
Overview on Edible Vaccine: Pros & Cons with Mechanism
 
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
 
Language Across the Curriculm LAC B.Ed.
Language Across the  Curriculm LAC B.Ed.Language Across the  Curriculm LAC B.Ed.
Language Across the Curriculm LAC B.Ed.
 
How to Make a Field invisible in Odoo 17
How to Make a Field invisible in Odoo 17How to Make a Field invisible in Odoo 17
How to Make a Field invisible in Odoo 17
 
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
678020731-Sumas-y-Restas-Para-Colorear.pdf
 
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
aaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaaa
 
Operation Blue Star - Saka Neela Tara
Operation Blue Star   -  Saka Neela TaraOperation Blue Star   -  Saka Neela Tara
Operation Blue Star - Saka Neela Tara
 

บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 6 การไหลในทางน้าเปิด (Open Channel Flow) 1
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา การไหลในทางน้าเปิด (Open Channel Flow) คือการไหลของของไหลไปตามทางน้าโดยมีผิวอิสระ สัมผัสกับ อากาศด้านบน การไหลจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของความดันบรรยากาศโดยรอบ (Atmospheric pressure) และแรงโน้มถ่วงของ โลก (Gravity) ซึ่งการไหลในลักษณะนีสามารถพบเห็นได้ทั่วไปเช่น การไหลในแม่น้าล้าคลอง การไหลในคลองส่งน้า การไหล ในท่อหรือรางระบายน้า 3
  • 4. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1 ประเภทของทางน้าเปิด (Type of channel) ทางน้าเปิดที่พบเห็นโดยทั่วไปนันสามารถจ้าแนกได้ 2 ประเภทคือ o ทางน้าธรรมชาติ (Natural channel) คือทางน้าที่เกิดขึนเองตามธรรมชาติ รูปร่างของรูปตัดขวางของทางน้าและ ความลาดเทของท้องทางน้า จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพพืนที่ (Non - Prismatic channel) เช่น ล้าธาร คลอง หรือแม่น้า เป็นต้น o ทางน้าที่มนุษย์สร้างขึน (Artificial channel) คือทางน้าที่มนุษย์สร้างขึนเพื่อสนองตอบต่อความต้องการด้านต่าง ๆ เช่น การส่งน้าเพื่อการชลประทาน การระบายน้า หรือเพื่อการคมนาคมขนส่งเป็นต้นซึ่งโดยทั่วไปลักษณะของทาง น้าจะมีรูปตัดขวางและความลาดเทของท้องรางคงที่ (Prismatic channel) เช่น คลองส่งน้าดาดคอนกรีต ราง หรือ ท่อระบายน้า เป็นต้น 4
  • 5. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2 การจ้าแนกประเภทการไหลในทางน้าเปิด (Open channel flow classification) ในการวิเคราะห์ด้านชลศาสตร์ ประเด็นในการวิเคราะห์เพื่อจ้าแนกประเภทของการไหลในทางน้าเปิดถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ จ้าแนกโดยพิจารณาจากรูปของการไหล (Type of flow) และจ้าแนกโดยพิจารณาจากสภาวะของการไหล (State of flow) 2.1 การจ้าแนกประเภทการไหลในทางน้าเปิดโดยพิจารณาจากรูปแบบของการไหล (Type of flow) ในการจ้าแนกจะมี หลักเกณฑ์ 2 ประเภทคือ 1) พิจารณาการเปลี่ยนแปลงกับเวลา a) การไหลคงที่ (Steady flow) คือการไหลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหล เช่น ความลึก (y) ความเร็ว (V) อัตราการไหล (Q) พืนที่หน้าตัดการไหล (A) จะคงที่ตลอดช่วงเวลาที่พิจารณา d dt y, A, v, Q = 0 b) การไหลไม่คงที่ (Unsteady flow) คือการไหลที่มีการลี่ยนแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการไหล เช่น ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พืนที่หน้าตัดการไหล ไม่คงที่ตลอดช่วงเวลาที่พิจารณา d dt y, A, v, Q ≠ 0 5
  • 6. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) 2. พิจารณาการเปลี่ยนแปลงรูปตัดขวางของการไหลในช่วงใด ๆ a) การไหลแบบสม่้าเสมอ (Uniform Flow : UF) คือการไหลที่มีความลึก และพืนที่หน้าตัดการไหล (A) คงที่ตลอดช่วงความยาวที่ พิจารณา b) การไหลแบบแปรเปลี่ยน (Varied flow หรือ Non-Uniform flow) คือการไหลที่มีความลึก และพืนที่หน้าตัดการไหล ไม่คงที่ ตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา - การไหลแบบแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไป (Gradually Varied Flow : GVF) คือการไหลที่ความลึกและพืนที่หน้าตัด การไหล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา 6
  • 7. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา • การไหลแบบสม่้าเสมอไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady uniform flow) คือสภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว อัตราการไหล และ พืนที่หน้าตัดการไหล คงที่ตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา โดยจะไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา ซึ่งเกือบทังหมดมักจะเกิดในทางน้าที่มนุษย์สร้างขึน เนื่องจากรูปตัดขวางของทางน้ามักจะสร้างให้มีรูปร่างคงที่ และในการใช้งานเราจะสามารถควบคุมความเร็ว และอัตราการไหลได้ • การไหลแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไปแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Gradually Varied Flow) คือสภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไปตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา แต่ความลึก ความเร็วและ พืนที่หน้าตัดการไหลที่จุดใดจุดหนึ่งนันจะคงที่ ไม่แปรเปลี่ยนเปลี่ยนตามเวลา รูป การไหลแบบ Steady gradually varied flow รูป การไหลแบบ Steady uniform flow 7 y1(t) = y1(t+dt) y2(t) = y2(t+dt) V1(t) = V1(t+dt) V2(t) = V2(t+dt) A1(t) = A1(t+dt) A2(t) = A2(t+dt) Q(t) = Q(t+dt)
  • 8. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา • การไหลแปรเปลี่ยนฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Rapidly Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา แต่ความลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลที่จุดใด จุดหนึ่งนันจะคงที่ ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา • การไหลแบบสม่้าเสมอแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Uniform flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พืนที่หน้าตัดการไหล เท่ากันตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา แต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา รูป การไหลแบบ Unsteady uniform flow รูป การไหลแบบ Steady rapidly varied flow 8
  • 9. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา • การไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันและแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Rapidly Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวที่พิจารณา และแปรเปลี่ยนตามเวลาไปพร้อม ๆ กัน • การไหลแปรเปลี่ยนแบบค่อยเป็นค่อยไปและแปรเปลี่ยนตามเวลา (Unsteady Gradually Varied flow) คือ สภาพการไหลที่มีค่าความ ลึก ความเร็ว และพืนที่หน้าตัดการไหลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไปตลอดช่วงความยาวที่พิจารณา และ เปลี่ยนแปลงตามเวลาไปพร้อม ๆ กัน รูป การไหลแบบ Unsteady rapidly varied flow รูป การไหลแบบ Unsteady gradually varied flow 9
  • 10. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2.2 การจ้าแนกประเภทตามสภาวะของการไหล (State of flow) การจ้าแนกประเภทการไหลตามสภาวะของการไหลนัน จะพิจารณาจากพฤติกรรมของการเคลื่อนตัวของไหลในทางน้า รวมถึง ผลกระทบของแรงที่มีอิทธิพลต่อการไหล 2.2.1 จ้าแนกโดยพิจารณาจาก เรย์โนลด์นัมเบอร์ (Reynold number : Re) Reynold number คือตัวเลขที่วิเคราะห์โดยค้านึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความหนืด (Vicous force) และแรงอัน เนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ซึ่งตัวเลขดังกล่าวนันจะสามารถบ่งบอกถึงพฤติกรรมของการเคลื่อนที่ ของอนุภาคของ ไหลได้ เข่นเดียวกับการไหลในท่อ ส้าหรับการไหลในทางน้าเปิด Re สามารถค้านวณได้จาก Re = VR ν เมื่อ R = รัศมีชลศาสตร์(Hydraulic radius), V = ความเร็วเฉลี่ย, 𝜈 = ความหนืดคิเนมาติกของของไหล 10
  • 11. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา การไหลในทางน้าเปิดสามารถแบ่งสภาวะการไหลได้เป็น 3 ประเภทคือ o การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างเป็นระเบียบ จะเกิดขึนกับ การไหลที่มีความเร็วต่้า หรือความหนืดของของไหลมาก โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่าต่้ากว่า 500 o การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) อนุภาคของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ จะเกิดขึนกับ การไหลที่มีความเร็วสูง หรือความหนืดของของไหลต่้า โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่ามากกว่า 2,000 o การไหลแบบแปรเปลี่ยน (Transitional flow) เป็นสภาวะการไหลที่ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นแบบปั่นป่วน หรือ ราบเรียบ โดยเรย์โนลด์นัมเบอร์จะมีค่าอยู๋ระหว่าง 500 ถึง 2000 11
  • 12. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2.2.2 จ้าแนกโดยพิจารณาจาก ฟรุดนัมเบอร์ (Froude number : Fr) Froude number คือตคัวเลขที่วิเคราะห์โดยค้านึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง (Gravity force) และแรงอัน เนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ตัวเลขดังกล่าวนันจะสามาถบ่งบอกถึงพฤติกรรมของการไหลได้ (การวิเคราะห์จะ กล่าวถึงในบทที่ 8) ซึ่งสามารถค้านวณได้จาก Fr = V gD เมื่อ D = ความลึกชลศาสตร์ (hydraulic depth) g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง 12
  • 13. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) การไหลในทางน้าเปิดสามารถแบ่งสภาวะได้เป็น 3 ประเภทคือ o การไหลวิกฤต (Critical flow) จะเกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์เท่ากับ 1 ค่าความลึก และความเร็วที่สภาวะนีจะ เรียกว่า ความลึก วิกฤต และความเร็ววิกฤต o การไหลต่้ากว่าวิกฤต (Subcritical flow) จะเกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์ต่้ากว่า 1 ที่สภาวะนี ความลึก จะมากกว่า ความลึก วิกฤต แต่ความเร็วจะน้อยกว่า ความเร็ววิกฤต เมื่อเปรียบเทียบที่อัตราการไหลเท่ากัน o การไหลเหนือกว่าวิกฤต (Supercritical flow) เกิดขึนเมื่อค่าฟรุดนัมเบอร์มากกว่า 1 สภาวะนี ความลึกจะน้อยกว่า ความลึก วิกฤต แต่ความเร็วจะมากกว่า ความเร็ววิกฤต เมื่อเปรียบเทียบที่อัตราการไหลเท่ากัน 13
  • 14. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3 สมการพืนฐานของการไหลในทางน้าเปิด (Basic equation of open channel flow) เพื่อความสะดวกในการศึกษา จะขอกล่าวถึงนิยามของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์การไหลในทางน้าเปิดเสียก่อน ซึ่งประกอบด้วยตัว แปรดังต่อไปนี o ความลึก (Depth :y) คือระยะในแนวดิ่งที่วัดจากจุดต่้าสุดจนถึงผิวอิสระของหน้าตัดการไหล o ความกว้างผิว (Top width :B) คือความกว้างของผิวอิสระของพืนที่หน้าตัดการไหล o ความลึกชลศาสตร์ (Hydraulic :D) คือความลึกเฉลี่ยของพืนที่หน้าตัดการไหลที่มีความกว้าง เท่ากับความกว้างผิว ซึ่งสามารถค้านวณได้จาก D = A B (ในกรณีที่ทางน้าเป็นรูป สี่เหลี่ยมมุมฉาก D = y ) o ความยาวเว้นขอบเปียก (Wetted perimeter :P) คือความยาวเส้นขอบด้านสัมผัสกับทางน้า ของพืนที่หน้าตัดการไหล o รัศมีชลศาสตร์ (Hydraulic radius :R) คือตัวแปรที่มีคุณลักษณะคล้ายกับรัศมี ซึ่งค้านวณได้ จาก R= A P รูป ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการ ไหลในทางน้าเปิด 14
  • 15. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.1 สมการต่อเนื่อง (Continuity Equation) รูป การไหลในทางน้าเปิด 15
  • 16. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.2 สมการพลังงาน (Energy Equation) สมการพลังงานคือสมการความสัมพันธ์ของเฮด (Energy head) ของอนุภาคของไหลที่เคลื่อนที่ไปตาม streamline ผ่านจุดต่าง ๆ ซึ่ง เฮดที่ว่านันจะประกอบด้วย เฮดระดับ (Elevation head) เฮดความดัน (Pressure head) และความเร็ว (Velocity head) โดยผลรวมของเฮด ระดับ กับเฮดความดันจะเรียกว่า เฮดสถิต (Static head) เมื่อพิจารณากับการไหลในทางน้าเปิด ที่หน้าตัดการไหลเดียวกันหากเราพิจารณาค่าเฮด สถิตของอนุภาคของไหลใด ๆ บนหน้าตัด จะเห็นได้ว่า รูป เฮดของอนุภาคของไหลบนหน้าตัดใด ๆ ของการไหลในทางน้าเปิด 16
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา รูป เฮดของหน้าตัดการไหลของการไหลในทางน้าเปิด 17
  • 18. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.3 สมการโมเมนตัม (Momentum Equation) สมการโมเมนตัมส้าหรับการไหลในทางน้าเปิด จะแตกต่างกับการไหลในท่อเนื่องจากการไหลในทางน้าเปิดนัน ความดันจะแปร ผันตามความลึกของน้า รูป การวิเคราะห์แรงที่กระท้ากับ Control volume ของ การไหลในทางน้าเปิด 18
  • 19. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4 การวิเคราะห์การไหลแบบสม่้าเสมอไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Uniform Flow) เมื่อการไหลนันเกิดขึนในทางน้าที่มีหน้าตัดสม่้าเสมอเป็นระยะทางยาวมาก ๆ ในช่วงเริ่มต้นของทางน้าการไหลจะมีการปรับตัว เพื่อให้แรงกระท้าต่าง ๆ ในระบบเช้าสู่สภาวะที่สมดุล ไม่มีความเร่ง ซึ่งเมื่อเข้าสู่สภาวะที่สมดุลแล้วพืนที่หน้าตัดตามขวางของการไหล จะมี รูปร่างคงที่ต่อเนื่องตามความยาวของทางน้าไปจนกว่าทางน้านันเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิม ดังรูปที่ ด้วยเหตุนีความลาดชันของผิวน้า (SW) ตลอดช่วงของการไหลแบบสม่้าเสมอ จะเท่ากับความลาดชันของท้องรางน้า (So) และเท่ากับความลาดชันของเส้นระดับพลังงาน (Sf) รูป การเกิดการไหลแบบ Uniform flow 19
  • 20. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สมการนันเรียกว่า สมการ Chesy หรือ สูตร Chezy (Chezy’s Fomula) โดยที่ C = γ K คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของ Chezy (Chezy coefficient) ซึ่งมีลักษณะเป็นสัมประสิทธิ์การไหลชนิดหนึ่ง โดยจะขึนอยู่กับ ลักษณะทางกายภายของทางน้า และความหยาบของพืนผิวทางน้า 20
  • 21. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ต่อมาในปี ค.ศ. 1890 Robert Manning ได้พัฒนาสมการของ Chezy โดยน้าผลที่ได้จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ และข้อมูลในภาคสนามมา วิเคราะห์พบว่า สัมประสิทธิ์ของ Chezy จะมีความสัมพันธ์กับค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient) สมการนันเรียกว่า สมการ Manning หรือสูตร Manning (Manning’s Formula) 21
  • 22. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตาราง ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient) 22
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่างที่ 1 ทางน้าดาดคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมคางหมูดังรูป น้ามีความลึก 2 m. ค่าสัมประสิทธิ์ ความขรุขระของแมนนิ่ง เท่ากับ 0.015 และความลาดเทของพืนทางน้าเท่ากับ 0.001 จงหา อัตราการไหล และความเร็วของน้า 23
  • 24. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 24
  • 25. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่างที่ 2 ทางน้าลักษณะดังรูป น้าไหลด้วยความลึกปกติเท่ากับ 4 m. ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของแมนนิ่งบริเวณร่องน้าหลัก (Main channel) และบริเวณพืนที่น้าท่วม (Floodplain) เท่ากับ 0.015 และ 0.035 ตามล้าดับ ความลาดเทของพืนทางน้าเท่ากับ 0.001 จงหาอัตรา การไหลในทางน้า 25
  • 26. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 26
  • 27. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 27
  • 28. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 5. พลังงานจ้าเพาะกับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Specific energy and steady rapidly varied flow) รูป พลังงานงานจ้าเพาะของการไหลในทางน้าเปิด 28
  • 29. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จากความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจ้าเพาะ กับความลึกของการไหล จะ เห็นได้ว่า ที่ระดับพลังงานจ้าเพาะหนึ่ง ๆ ค่าความลึกของการไหล สามารถเป็นไปได้สองค่า (alternate depth) ดังรูปที่ 7.19 แต่จะมี เพียงจุดเดียวเท่านันที่ค่าพลังงานจ้าเพาะสัมพันธ์กับค่าความลึกเพียง หนึ่งค่า เราจะเรียกจุดนีว่า การไหลวิกฤต (critical flow) ซึ่งเราจะ เรียกค่าความลึก และพลังงานจ้าเพาะที่จุดนีว่า ความลึกวิกฤต (critical depth : yc) และพลังงงานจ้าเพาะที่จุดวิกฤต (critical specific energy : Ec) ตามล้าดับ รูป ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจ้าเพาะกับความลึกของการไหล ในทางน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 29
  • 30. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่างที่ 3 ทางน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 m ความลึก y1 เท่ากับ 1.55 m และ ความเร็ว V1 เท่ากับ 1.83 m/s หากทางด้านท้ายน้ามีการยกพืนขึน ลักษณะดังรูป - ถ้า ∆z = 0.2 m. จงหาความลึก และความเร็วด้านท้ายน้า - จงหาว่าสามารถยกพืนสูงสุดได้เท่าไหร่ โดยไม่ท้าให้ความลึกด้านเหนือน้าเกิดการ เปลี่ยนแปลง(ก้าหนดให้การสูญเสียพลังงานมีค่าน้อยมาก) 30
  • 31. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 31
  • 32. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 32
  • 33. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 33
  • 34. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 6. โมเมนตัมฟังก์ชันกับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Momentum function and steady rapidly varied flow) รูป ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมฟังก์ชันกับความลึกของการ ไหลในทางน้าเปิดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 34
  • 35. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่างที่ 4 การไหลในทางน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 m เกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า Hydraulic jump ลักษณะดังรูป ด้านเหนือน้าความลึก y1 เท่ากับ 0.4 m และความเร็ว V1 เท่ากับ 7 m/s หากไม่พิจารณาผลจากแรงเสียดทาน จงหาความลึก และความเร็วด้าน ท้ายน้าพลังงานที่สูญเสียไประหว่างการเกิด Hydraulic jump มีค่าเท่าไร 35
  • 36. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 36
  • 37. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 37
  • 38. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 38
  • 39. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube