SlideShare a Scribd company logo
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 5
การไหลภายในท่อ
(Flow in Pipe)
1
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
พฤติกรรมของการไหลในรางแบบปิด (ท่อปิด) หรือการไหลภายใต้แรงดัน (Flow in Pressure Conduit)
โดยจะเน้นที่การไหลแบบคงที่ภายในท่อกลมของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Steady Incompressible Flow in Pipe)
และไม่คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยจะถือว่าอุณหภูมิตลอดช่วงเวลาที่พิจารณานั้นคงที่ ทั้งนี้ก็เพื่อตัด
ผลกระทบทางด้านเทอร์โมไดนามิกส์ออก ดังนั้นการไหลภายในรางแบบปิดหรือการไหลภายใต้แรงดัน ในที่นี้คือการ
ไหลของของไหลภายในท่อที่มีผนังปิดล้อมทุกด้าน และมีของไหลไหลอยู่เต็มพื้นที่หน้าตัดของท่อ ไม่มีผิวอิสระอยู่
ด้านบนของหน้าตัดการไหล (ของไหลไม่มีส่วนใดสัมผัสอากาศ) การไหลจะอยู่ภายใต้ความดันตลอดช่วงของการ
พิจารณา โดยบทนี้จะทาการศึกษาถึงพลังงานที่เกิดขึ้นและการสูญเสียพลังงานของผิวท่อและอุปกรณ์ประกอบท่อ
(Energy and Head Loss due to Pipe and Pipe Fitting)
3
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1 พฤติกรรมของการไหลในท่อ (Behavior of flow in pipe)
ในปี ค.ศ. 1883 ออสบอร์น เรย์โนลด์ (Osborne Reynolds) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมของการไหลในท่อ
โดยใช้เครื่องมือที่ประกอบด้วยถังน้าขนาดใหญ่ เชื่อมต่อกับท่อโปร่งใสที่มีวาล์วควบคุมการไหลอยู่ที่ปลายท่อ และถัง
บรรจุสีขนาดเล็กเชื่อมต่อกับท่อขนาดเล็ก ทาหน้าที่ปล่อยอนุภาคสีเข้าไปภายในท่อโปร่งใส ลักษณะดังรูปที่
รูปเครื่องมือทดสอบการไหล และพฤติกรรมการไหลของ เรย์โนลด์
4
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
จากผลการทดลองพบว่า สามารถแบ่งพฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อได้เป็น 3 ลักษณะคือ
1) การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดสูง หรือความเร็วในการไหลต่า อนุภาค
ของของไหลจะเคลื่อนที่เป็นระเบียบขนานกับทิศทางของไหล ซึ่งสังเกตได้จากแนวเส้นที่เกิดขึ้นจากการทดลอง จะมีลักษณะ
เป็นเส้นที่ค่อยข้างตรง และราบเรียบ
2) การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดต่า หรือความเร็วในการไหลมาก
อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไม่เป็นระเบียบ แนวเส้นทางการเคลื่อนที่มีความแปรปรวนมาก โดยสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่
เกิดขึ้นจากการทดลอง จะกวัดแกว่งไปมาไม่เป็นระเบียบและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
3) การไหลในช่วงแปรเปลี่ยน (Transition Flow) เป็ช่วงของการไหลที่กาลังพัฒนาพฤติกรรม จากการไหลแบบราบเรียบ ไม่
เป็นการไหลแบบปั่นป่วน เป็นช่วงที่ไม่สามารถคาดเดาพฤติกรรมของการไหลได้อย่างแน่นอน เพราะในบางตาแหน่งหรือบาง
ช่วงเวลาใด ๆ พฤติกรรมของการไหลอาจเป็นไปได้ทั้งแบบราบเรียบและปั่นป่วน โดยจะสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดขึ้นจาก
การทดลอง ในบางตาแหน่งจะมีลักษณะกวัดแกว่งไปมาในขณะที่ส่วนอื่น ๆ มีลักษณะราบเรียบ หรือตาแหน่งเดียวกัน ในบาง
เวลาอาจมีลักษณะราบเรียบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีลักษณะกวัดแกว่งไปมา ไม่สามารถคาดเดาได้
5
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
นอกจากนี้ การศึกษาของเรย์โนลด์ยังพบว่า พฤติกรรมทั้ง 3 ลักษณะ ยังสอดคล้องกับค่าของกลุ่มตัวแปรไร้มิติกลุ่ม
หนึ่ง ซึ่งภายหลังเรียกว่า เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Reynolds Number ; Re) กล่าวคือ
ถ้า Re < 2000 จะเป็นการไหลแบบราบเรียบ
2000 < Re < 4000 จะเป็นการไหลในช่วงแปรเปลี่ยน
Re > 4000 จะเป็นการไหลแบบปั่นป่วน
6
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
โดย Reynolds Number ของการไหลในท่อกลมคานวณได้จาก
Re =
ρVD
μ
=
VD
ν
เมื่อ V = ความเร็วเฉลี่ยของการไหลในท่อ
D = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ
ρ = ความหนาแน่นของของไหล
𝜇 = ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute Viscosity ; 𝜇𝑊𝑎𝑡𝑒𝑟 𝑎𝑡 22°𝐶 = 1.0 × 10−3
)
𝜈 = ความหนืดคิเนมาติก (Kinematic Viscosity ; 𝜈𝑤𝑎𝑡𝑒𝑟 𝑎𝑡 22°𝐶 = 1.0 × 10−6
)
7
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance Flow Development)
พิจารณาพฤติกรรมของการไหลเมื่อของไหลเดินทางมาถึงบริเวณจุดเชื่อมต่อระหว่างท่อ กับอ่างเก็บน้าขนาด
ใหญ่ ก่อนที่ของไหลจะเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ อนุภาคของไหลบนหน้าตัดใด ๆ จะเคลื่อนตัวด้วยความเร็วเท่า ๆ กัน
เนื่องจากยังไม่ถูกรบกวนจากผนัง แต่เมื่อของไหลเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ อนุภาคของไหลจะถูกรบกวนจากแรงเสียด
ทานจากผนังท่อ จึงทาให้อนุภาคที่ติดกับผนังนั้นมีความเร็วเป็นศูนย์ และเนื่องจากตัวของไหลเองมีความหนืด จึงทา
ให้อนุภาคที่อยู่ถัดไปก็จะมีความเร็วลดลงตามลาดับ ซึ่งในช่วงเริ่มต้นอนุภาคที่อยู่บริเวณกึ่งกลางท่อนั้นยังไม่ได้รับ
ผลกระทบดังกล่าว แต่เมื่อของไหลเดินทางต่อไปผลกระทบจากผนังจะขยายตัวเข้าสู่กึ่งกลางท่อ จนกระทั่ง
ครอบคลุมทั่วทั้งหน้าตัด หลังจากนั้นความเร็วของอนุภาคของของไหลจะมีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง จนท้ายที่สุดเข้า
สู่สภาวะสมดุลโดยระยะทางในช่วงของการปรับตัวนี้จะเรียกว่า ช่วงทางเข้า (Entrance length : LE)
8
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2.1 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ (Entrance condition in laminar flow)
สามารถแบ่งพฤติกรรมได้เป็น 3 ช่วงดังนี้
1) ช่วงการไหลที่บริเวณกึ่งกลางท่อยังไม่ถูกรบกวน (Invicid core length : LI)
2) ช่วงการปรับตัว (Development length : Ld)
3) ช่วงปรับตัวสมบูรณ์ (Development flow)
9
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน (Entrance condition in turbulent flow)
สาหรับพฤติกรรมการไหลในช่วงปากทางเข้าท่อ ในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน จะแตกต่างกับแบบราบเรียบ กล่าวคือ เมื่อการไหลเริ่มถูก
รบกวนจากผนัง ผลกระทบจากแรงเสียดทานจากผนังจะเริ่มขยายตัวไปพร้อม ๆ กับการปรับตัวของความเร็ว (Li และ Ld เริ่มต้นพร้อมกัน) และ
เมื่อการไหลถูกรบกวนทั่วทั้งหน้าตัด การปรับตัวจะยังคงดาเนินต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่เนื่องจากการไหลแบบปั่นป่วนนั้นจะมีความไม่แน่นอน
เกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นหลังจากที่การปรับตัวสิ้นสุดลง (Ld) สภาพการไหลจะยังคงมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องไปอีกช่วงระยะหนึ่ง จึงจะปรับตัวเข้า
สู่สภาวะคงทที่ ลักษณะดังรูป
10
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3 การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss or Major loss : hf)
การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ หรือที่เรียกว่า การสูญเสียพลังงานหลัก คือการสูญเสียเฮดที่เกิดจากผลของแรงเสียดทานอัน
เนื่องมาจากผลของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างของไหลกับผนังท่อโดยการสูญเสียเฮดนั้นจะขึ้นอยู่กับ ขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางท่อ ความยาวของท่อ ความหยาบของวัสดุที่ใช้ทาท่อความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล
รูป ความสัมพันธ์ของพลังงาน และแรงที่กระทากับปริมาตรควบคุม
11
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
12
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
สมการ เป็นสมการที่วิศวกรชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ อองรี ดาร์ซี่ (Henry Darcy) ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1857 จากนั้น
ศาสตราจารย์ชาวเยอรมันชื่อ จูเลียต วิสซ์แบช (Julius Weisbach) ได้นาผลงานของ ดาร์ซี่ ออกนาเสนอในปี ค.ศ. 1850
ดังนั้นสมการดังกล่าวจึงได้ชื่อว่า สมการดาร์ซี่ - วิสซ์แบช (Darcy-Weisbach Equation) โดยที่ f คือค่าสัมประสิทธิ์ความ
เสียดานของดาร์ซี่ (Darcy friction factor) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (friction factor)
13
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.1 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ (Friction factor for larminar flow)
รูป การกระจายตัวของความเร็ว และความเค้นเฉือนของการแบบราบเรียบ
14
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
15
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
เราเรียกสมการว่า Hangen - Poiseuille law เนื่องจากเป็นสมการที่คิดค้นโดยวิศวกรชาวเยอรมันที่ชื่อ Hangen และ
นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ Poiseuille
16
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.2 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วนในท่อผนังเรียบ
(Friction factor for turbulent flow in smooth pipe)
ในปี ค.ศ. 1935 Pradtl ได้ทาการปรังปรุงสมการใหม่ โดยอาศัยข้อมูลจาก
การทดลองของ Nikuradse (ลูกศิษย์ของ Prandtl) กลายเป็น
สมการที่ได้คือสมการที่ใช้หาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ของสภาพการ
ไหลแบบปั่นป่วน ภายในท่อที่มีผิวเรียบมาก (smooth pipe) ซึ่งจะเห็นได้ว่า
สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะสัมพันธ์กับค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์เพียงอย่างเดียว
เท่านั้น (f = ϕ Re )
1
f
= 2.00 log 𝑅𝑒 ∙ 𝑓 − 0.80
รูป เปรียบเทียบการกระจายตัวของความเร็วของ
การไหลแบบต่าง ๆ ในท่อกลม
17
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.3 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วนในท่อผนังหยาบ
(Friction factor for turbulent flow in rough pipe)
Nikuradse ได้ทาการศึกษาผลกระทบของความขรุขระของผนังท่อ หรือความหยาบผิวของผนังท่อ (roughness : ε) ที่มีต่อการไหล
พบว่า ในกรณีที่การไหลมีพฤติกรรมแบบราบเรียบ ความขรุขระของผนังท่อจะไม่มีผลต่อการสูญเสียพลังงาน หรือค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
แต่ในกรณีการไหลมีพฤติกรรมแบบปั่นป่วนผลกระทบของความขรุขระสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้
εu∗
ν
< 5 ถือเป็นกรณีท่อผนังเรียบ เนื่องจากความขรุขระของผนังท่อจะไม่ส่งผลกระทบต่อสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (f = ϕ Re )
5 <
εu∗
ν
< 7 ความขรุขระของผนังท่อจะส่งผลกระทบกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ในระดับปานกลาง (f = ϕ Re )
εu∗
ν
> 7 ท่อขรุขระมาก หรือการไหลแบบปั่นป่วนสมบูรณ์ (Fully rough flow or Complete turbulence flow) ส่วน Re มี
ผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน น้อยมาก f = ϕ
ε
D
18
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ในกรณีการไหลในท่อขรุขระมาก (Fully rough flow)Karman ได้นาเสนอสมการของการหาค่าสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานไว้ดังนี้
1
𝑓
= 2 log
3.7
𝜀/𝐷
และเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน ในปี ค.ศ. 1944 lewis F. Moody ได้รวบรวมสมการของ Hangen-Poiseuille
สมการของ Pradtl สมการของ Colebrook และสมการของ Karman นามาสร้างเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
Re
ε
D
กับ friction factor (f) โดยมีลักษณะดังรูป
19
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
รูป Moody Diagram
20
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4 การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss : hm)
Minor Loss เป็นการสูญเสียเฮดในจุดที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด หรือทิศทางของความเร็วของการไหล
โดยฉับพลัน ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณที่ของไหลไหลผ่านอุปกรณ์ประกอบท่อต่าง ๆ เช่น วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อ
ขยายขนาด ข้องอชนิดต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งการสูญเสียรองนี้จะขึ้นอยู่กับรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการ
ไหลในอุปกรณ์นั้น ๆ และเฮดความเร็ว ดังนั้นการคานวณค่าการสูญเสียพลังงานรอง จึงสามารถกาหนดให้อยู่ในรูป
ของผลคูณระหว่าง ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : k) กับเฮดความเร็ว
(Velocity Head) ดังสมการ
โดยค่า k จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ที่ไหลผ่าน ดังตารางที่
hm = k
V2
2g
21
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ตารางที่ สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : K)
22
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
รูปที่ ข้อต่อ และข้องอชนิดต่าง ๆ
รูปที่ ท่อลด-ขยายขนาด
รูปที่ วาล์วชนิดต่าง ๆ
23
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 1 ระบบท่อลักษณะดังรูป เชื่อมต่อระหว่างถังเก็บน้าใบที่ 1 กับ 2 ระดับน้าในถังทั้งสองแตกต่างกันเท่ากับ ∆𝑧 จง
ตอบคาถามต่อไปนี้
- ถ้าอัตราการไหลเท่ากับ 40 l/s จงหาผลต่างของระดับน้าระหว่างถังทั้งสอง
- ถ้าระดับน้าในถังทั้งสองต่างกัน 35 m จงหาอัตราการไหล
24
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
25
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
26
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
27
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 2 ต้องการออกแบบท่อส่งน้าผ่านพื้นที่ราบระยะทาง 12 กม. โดยใช้ท่อ wrought iron อัตราการส่งน้ามันที่ใช้
ในการออกแบบคือ 300 ลิตรต่อนาที น้ามันมีค่าความถ่วงจาเพาะเท่ากับ 0.7 ความหนืดคิเนมาติกของน้ามันเท่ากับ
5×10-7 m2/s ถ้าข้อกาหนดของการออกแบบคือ ความดันภายในท่อส่งจะลดลงได้ไม่เกิน 10.3 kPa ต่อระยะทาง 1 กม.
จงออกแบบขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ
28
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
29
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
30
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 3 โรงผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้า มีการติดตั้งระบบต่าง ๆ ในลักษณะดังรูป ระดับน้าในอ่างเก็บน้าอยู่ที่ +210.0 ม.
รทก. และระดับน้าด้านท้ายเขื่อนอยู่ที่ +125.5 ม.รทก. ถ้าเดินเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้าโดยการปล่อยน้าผ่านกังหันด้วย
อัตรา 0.5 cms กังหันมีประสิทธิภาพ 55% จงหากาลังงานที่กังหันส่งให้กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
31
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
32
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
33
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
การต่อท่อแบบขนาน (Pipe in parallel)
การต่อท่อแบบขนาน คือการต่อท่อหลาย ๆ เส้น โดยที่แต่ละเส้นทางของการไหลจะเริ่มต้นจากจุดเดียว และ
สิ้นสุดที่จุดเดียวกัน ดังตัวอย่างรูปที่
รูป ตัวอย่างการต่อท่อแบบขนาน
ดังนั้นหากพิจารณาสมการพลังงานของการ
ไหลตามรูปที่ จะได้ว่า
= (∑hf + ∑hm)BCDEF
= (∑hf + ∑hm)BCDHIEF
= (∑hf + ∑hm)BCJKL
zA − zB = ∆z
34
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 4 พิจารณาท่อขนานเชื่อมอ่างเก็บน้าสองแห่งลักษณะดังรูป ถ้าสภาพการไหลในท่อทั้งสาม
เส้นเป็นแบบ Fully rough flow (complete turbulent) จงหาอัตราการไหลในท่อทั้งสามเส้น
35
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
36
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
37
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
38
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
krulef1805
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
Arsenal Thailand
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
Moukung'z Cazino
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (20)

บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม (Fluid Mechanics)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 

Similar to บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)

บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
Ijciet 10 01_165
Ijciet 10 01_165Ijciet 10 01_165
Ijciet 10 01_165
IAEME Publication
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
10.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 310.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 3
mohdamirkhan7
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFSANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
IJCI JOURNAL
 
Transonic flow over 3d wing
Transonic flow over 3d wingTransonic flow over 3d wing
Transonic flow over 3d wing
ckkk26
 
Fluid mechanics
Fluid mechanics Fluid mechanics
Fluid mechanics
rawaabdullah
 

Similar to บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics) (13)

บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
Ijciet 10 01_165
Ijciet 10 01_165Ijciet 10 01_165
Ijciet 10 01_165
 
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
บทที่ 1 หลักการพื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล+คลิปสอน (Fluid Mechanics)
 
10.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 310.1080@09715010.2019.1570359 3
10.1080@09715010.2019.1570359 3
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFSANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
ANALYSIS OF VORTEX INDUCED VIBRATION USING IFS
 
Transonic flow over 3d wing
Transonic flow over 3d wingTransonic flow over 3d wing
Transonic flow over 3d wing
 
Fluid mechanics
Fluid mechanics Fluid mechanics
Fluid mechanics
 
PID3625745
PID3625745PID3625745
PID3625745
 
3051(4)
3051(4)3051(4)
3051(4)
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (17)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) กลางภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

Model Attribute Check Company Auto Property
Model Attribute  Check Company Auto PropertyModel Attribute  Check Company Auto Property
Model Attribute Check Company Auto Property
Celine George
 
Polish students' mobility in the Czech Republic
Polish students' mobility in the Czech RepublicPolish students' mobility in the Czech Republic
Polish students' mobility in the Czech Republic
Anna Sz.
 
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
beazzy04
 
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptxInstructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Jheel Barad
 
Digital Tools and AI for Teaching Learning and Research
Digital Tools and AI for Teaching Learning and ResearchDigital Tools and AI for Teaching Learning and Research
Digital Tools and AI for Teaching Learning and Research
Vikramjit Singh
 
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe..."Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
SACHIN R KONDAGURI
 
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdfLapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
Jean Carlos Nunes Paixão
 
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptxChapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
Mohd Adib Abd Muin, Senior Lecturer at Universiti Utara Malaysia
 
Embracing GenAI - A Strategic Imperative
Embracing GenAI - A Strategic ImperativeEmbracing GenAI - A Strategic Imperative
Embracing GenAI - A Strategic Imperative
Peter Windle
 
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free downloadThe French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
Vivekanand Anglo Vedic Academy
 
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdfUnit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Thiyagu K
 
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptxFrancesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
EduSkills OECD
 
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdfCACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
camakaiclarkmusic
 
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCECLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
BhavyaRajput3
 
Acetabularia Information For Class 9 .docx
Acetabularia Information For Class 9  .docxAcetabularia Information For Class 9  .docx
Acetabularia Information For Class 9 .docx
vaibhavrinwa19
 
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
Levi Shapiro
 
The basics of sentences session 5pptx.pptx
The basics of sentences session 5pptx.pptxThe basics of sentences session 5pptx.pptx
The basics of sentences session 5pptx.pptx
heathfieldcps1
 
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptxPalestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
RaedMohamed3
 
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdfHome assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
Tamralipta Mahavidyalaya
 
The approach at University of Liverpool.pptx
The approach at University of Liverpool.pptxThe approach at University of Liverpool.pptx
The approach at University of Liverpool.pptx
Jisc
 

Recently uploaded (20)

Model Attribute Check Company Auto Property
Model Attribute  Check Company Auto PropertyModel Attribute  Check Company Auto Property
Model Attribute Check Company Auto Property
 
Polish students' mobility in the Czech Republic
Polish students' mobility in the Czech RepublicPolish students' mobility in the Czech Republic
Polish students' mobility in the Czech Republic
 
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345Sha'Carri Richardson Presentation 202345
Sha'Carri Richardson Presentation 202345
 
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptxInstructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
Instructions for Submissions thorugh G- Classroom.pptx
 
Digital Tools and AI for Teaching Learning and Research
Digital Tools and AI for Teaching Learning and ResearchDigital Tools and AI for Teaching Learning and Research
Digital Tools and AI for Teaching Learning and Research
 
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe..."Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
"Protectable subject matters, Protection in biotechnology, Protection of othe...
 
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdfLapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
Lapbook sobre os Regimes Totalitários.pdf
 
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptxChapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
Chapter 3 - Islamic Banking Products and Services.pptx
 
Embracing GenAI - A Strategic Imperative
Embracing GenAI - A Strategic ImperativeEmbracing GenAI - A Strategic Imperative
Embracing GenAI - A Strategic Imperative
 
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free downloadThe French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
The French Revolution Class 9 Study Material pdf free download
 
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdfUnit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
Unit 8 - Information and Communication Technology (Paper I).pdf
 
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptxFrancesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
Francesca Gottschalk - How can education support child empowerment.pptx
 
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdfCACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
CACJapan - GROUP Presentation 1- Wk 4.pdf
 
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCECLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
CLASS 11 CBSE B.St Project AIDS TO TRADE - INSURANCE
 
Acetabularia Information For Class 9 .docx
Acetabularia Information For Class 9  .docxAcetabularia Information For Class 9  .docx
Acetabularia Information For Class 9 .docx
 
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
June 3, 2024 Anti-Semitism Letter Sent to MIT President Kornbluth and MIT Cor...
 
The basics of sentences session 5pptx.pptx
The basics of sentences session 5pptx.pptxThe basics of sentences session 5pptx.pptx
The basics of sentences session 5pptx.pptx
 
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptxPalestine last event orientationfvgnh .pptx
Palestine last event orientationfvgnh .pptx
 
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdfHome assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
Home assignment II on Spectroscopy 2024 Answers.pdf
 
The approach at University of Liverpool.pptx
The approach at University of Liverpool.pptxThe approach at University of Liverpool.pptx
The approach at University of Liverpool.pptx
 

บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Flow in Pipe) 1
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา พฤติกรรมของการไหลในรางแบบปิด (ท่อปิด) หรือการไหลภายใต้แรงดัน (Flow in Pressure Conduit) โดยจะเน้นที่การไหลแบบคงที่ภายในท่อกลมของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Steady Incompressible Flow in Pipe) และไม่คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยจะถือว่าอุณหภูมิตลอดช่วงเวลาที่พิจารณานั้นคงที่ ทั้งนี้ก็เพื่อตัด ผลกระทบทางด้านเทอร์โมไดนามิกส์ออก ดังนั้นการไหลภายในรางแบบปิดหรือการไหลภายใต้แรงดัน ในที่นี้คือการ ไหลของของไหลภายในท่อที่มีผนังปิดล้อมทุกด้าน และมีของไหลไหลอยู่เต็มพื้นที่หน้าตัดของท่อ ไม่มีผิวอิสระอยู่ ด้านบนของหน้าตัดการไหล (ของไหลไม่มีส่วนใดสัมผัสอากาศ) การไหลจะอยู่ภายใต้ความดันตลอดช่วงของการ พิจารณา โดยบทนี้จะทาการศึกษาถึงพลังงานที่เกิดขึ้นและการสูญเสียพลังงานของผิวท่อและอุปกรณ์ประกอบท่อ (Energy and Head Loss due to Pipe and Pipe Fitting) 3
  • 4. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1 พฤติกรรมของการไหลในท่อ (Behavior of flow in pipe) ในปี ค.ศ. 1883 ออสบอร์น เรย์โนลด์ (Osborne Reynolds) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมของการไหลในท่อ โดยใช้เครื่องมือที่ประกอบด้วยถังน้าขนาดใหญ่ เชื่อมต่อกับท่อโปร่งใสที่มีวาล์วควบคุมการไหลอยู่ที่ปลายท่อ และถัง บรรจุสีขนาดเล็กเชื่อมต่อกับท่อขนาดเล็ก ทาหน้าที่ปล่อยอนุภาคสีเข้าไปภายในท่อโปร่งใส ลักษณะดังรูปที่ รูปเครื่องมือทดสอบการไหล และพฤติกรรมการไหลของ เรย์โนลด์ 4
  • 5. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จากผลการทดลองพบว่า สามารถแบ่งพฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อได้เป็น 3 ลักษณะคือ 1) การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดสูง หรือความเร็วในการไหลต่า อนุภาค ของของไหลจะเคลื่อนที่เป็นระเบียบขนานกับทิศทางของไหล ซึ่งสังเกตได้จากแนวเส้นที่เกิดขึ้นจากการทดลอง จะมีลักษณะ เป็นเส้นที่ค่อยข้างตรง และราบเรียบ 2) การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความหนืดต่า หรือความเร็วในการไหลมาก อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไม่เป็นระเบียบ แนวเส้นทางการเคลื่อนที่มีความแปรปรวนมาก โดยสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่ เกิดขึ้นจากการทดลอง จะกวัดแกว่งไปมาไม่เป็นระเบียบและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา 3) การไหลในช่วงแปรเปลี่ยน (Transition Flow) เป็ช่วงของการไหลที่กาลังพัฒนาพฤติกรรม จากการไหลแบบราบเรียบ ไม่ เป็นการไหลแบบปั่นป่วน เป็นช่วงที่ไม่สามารถคาดเดาพฤติกรรมของการไหลได้อย่างแน่นอน เพราะในบางตาแหน่งหรือบาง ช่วงเวลาใด ๆ พฤติกรรมของการไหลอาจเป็นไปได้ทั้งแบบราบเรียบและปั่นป่วน โดยจะสังเกตได้จากแนวเส้นสีที่เกิดขึ้นจาก การทดลอง ในบางตาแหน่งจะมีลักษณะกวัดแกว่งไปมาในขณะที่ส่วนอื่น ๆ มีลักษณะราบเรียบ หรือตาแหน่งเดียวกัน ในบาง เวลาอาจมีลักษณะราบเรียบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีลักษณะกวัดแกว่งไปมา ไม่สามารถคาดเดาได้ 5
  • 6. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา นอกจากนี้ การศึกษาของเรย์โนลด์ยังพบว่า พฤติกรรมทั้ง 3 ลักษณะ ยังสอดคล้องกับค่าของกลุ่มตัวแปรไร้มิติกลุ่ม หนึ่ง ซึ่งภายหลังเรียกว่า เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Reynolds Number ; Re) กล่าวคือ ถ้า Re < 2000 จะเป็นการไหลแบบราบเรียบ 2000 < Re < 4000 จะเป็นการไหลในช่วงแปรเปลี่ยน Re > 4000 จะเป็นการไหลแบบปั่นป่วน 6
  • 7. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา โดย Reynolds Number ของการไหลในท่อกลมคานวณได้จาก Re = ρVD μ = VD ν เมื่อ V = ความเร็วเฉลี่ยของการไหลในท่อ D = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ ρ = ความหนาแน่นของของไหล 𝜇 = ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute Viscosity ; 𝜇𝑊𝑎𝑡𝑒𝑟 𝑎𝑡 22°𝐶 = 1.0 × 10−3 ) 𝜈 = ความหนืดคิเนมาติก (Kinematic Viscosity ; 𝜈𝑤𝑎𝑡𝑒𝑟 𝑎𝑡 22°𝐶 = 1.0 × 10−6 ) 7
  • 8. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance Flow Development) พิจารณาพฤติกรรมของการไหลเมื่อของไหลเดินทางมาถึงบริเวณจุดเชื่อมต่อระหว่างท่อ กับอ่างเก็บน้าขนาด ใหญ่ ก่อนที่ของไหลจะเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ อนุภาคของไหลบนหน้าตัดใด ๆ จะเคลื่อนตัวด้วยความเร็วเท่า ๆ กัน เนื่องจากยังไม่ถูกรบกวนจากผนัง แต่เมื่อของไหลเดินทางเข้าสู่ภายในท่อ อนุภาคของไหลจะถูกรบกวนจากแรงเสียด ทานจากผนังท่อ จึงทาให้อนุภาคที่ติดกับผนังนั้นมีความเร็วเป็นศูนย์ และเนื่องจากตัวของไหลเองมีความหนืด จึงทา ให้อนุภาคที่อยู่ถัดไปก็จะมีความเร็วลดลงตามลาดับ ซึ่งในช่วงเริ่มต้นอนุภาคที่อยู่บริเวณกึ่งกลางท่อนั้นยังไม่ได้รับ ผลกระทบดังกล่าว แต่เมื่อของไหลเดินทางต่อไปผลกระทบจากผนังจะขยายตัวเข้าสู่กึ่งกลางท่อ จนกระทั่ง ครอบคลุมทั่วทั้งหน้าตัด หลังจากนั้นความเร็วของอนุภาคของของไหลจะมีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง จนท้ายที่สุดเข้า สู่สภาวะสมดุลโดยระยะทางในช่วงของการปรับตัวนี้จะเรียกว่า ช่วงทางเข้า (Entrance length : LE) 8
  • 9. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2.1 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ (Entrance condition in laminar flow) สามารถแบ่งพฤติกรรมได้เป็น 3 ช่วงดังนี้ 1) ช่วงการไหลที่บริเวณกึ่งกลางท่อยังไม่ถูกรบกวน (Invicid core length : LI) 2) ช่วงการปรับตัว (Development length : Ld) 3) ช่วงปรับตัวสมบูรณ์ (Development flow) 9
  • 10. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน (Entrance condition in turbulent flow) สาหรับพฤติกรรมการไหลในช่วงปากทางเข้าท่อ ในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน จะแตกต่างกับแบบราบเรียบ กล่าวคือ เมื่อการไหลเริ่มถูก รบกวนจากผนัง ผลกระทบจากแรงเสียดทานจากผนังจะเริ่มขยายตัวไปพร้อม ๆ กับการปรับตัวของความเร็ว (Li และ Ld เริ่มต้นพร้อมกัน) และ เมื่อการไหลถูกรบกวนทั่วทั้งหน้าตัด การปรับตัวจะยังคงดาเนินต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่เนื่องจากการไหลแบบปั่นป่วนนั้นจะมีความไม่แน่นอน เกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นหลังจากที่การปรับตัวสิ้นสุดลง (Ld) สภาพการไหลจะยังคงมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องไปอีกช่วงระยะหนึ่ง จึงจะปรับตัวเข้า สู่สภาวะคงทที่ ลักษณะดังรูป 10
  • 11. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3 การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss or Major loss : hf) การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ หรือที่เรียกว่า การสูญเสียพลังงานหลัก คือการสูญเสียเฮดที่เกิดจากผลของแรงเสียดทานอัน เนื่องมาจากผลของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างของไหลกับผนังท่อโดยการสูญเสียเฮดนั้นจะขึ้นอยู่กับ ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางท่อ ความยาวของท่อ ความหยาบของวัสดุที่ใช้ทาท่อความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล รูป ความสัมพันธ์ของพลังงาน และแรงที่กระทากับปริมาตรควบคุม 11
  • 12. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 12
  • 13. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สมการ เป็นสมการที่วิศวกรชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ อองรี ดาร์ซี่ (Henry Darcy) ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1857 จากนั้น ศาสตราจารย์ชาวเยอรมันชื่อ จูเลียต วิสซ์แบช (Julius Weisbach) ได้นาผลงานของ ดาร์ซี่ ออกนาเสนอในปี ค.ศ. 1850 ดังนั้นสมการดังกล่าวจึงได้ชื่อว่า สมการดาร์ซี่ - วิสซ์แบช (Darcy-Weisbach Equation) โดยที่ f คือค่าสัมประสิทธิ์ความ เสียดานของดาร์ซี่ (Darcy friction factor) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (friction factor) 13
  • 14. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.1 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ (Friction factor for larminar flow) รูป การกระจายตัวของความเร็ว และความเค้นเฉือนของการแบบราบเรียบ 14
  • 15. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 15
  • 16. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เราเรียกสมการว่า Hangen - Poiseuille law เนื่องจากเป็นสมการที่คิดค้นโดยวิศวกรชาวเยอรมันที่ชื่อ Hangen และ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ Poiseuille 16
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.2 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วนในท่อผนังเรียบ (Friction factor for turbulent flow in smooth pipe) ในปี ค.ศ. 1935 Pradtl ได้ทาการปรังปรุงสมการใหม่ โดยอาศัยข้อมูลจาก การทดลองของ Nikuradse (ลูกศิษย์ของ Prandtl) กลายเป็น สมการที่ได้คือสมการที่ใช้หาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ของสภาพการ ไหลแบบปั่นป่วน ภายในท่อที่มีผิวเรียบมาก (smooth pipe) ซึ่งจะเห็นได้ว่า สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจะสัมพันธ์กับค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์เพียงอย่างเดียว เท่านั้น (f = ϕ Re ) 1 f = 2.00 log 𝑅𝑒 ∙ 𝑓 − 0.80 รูป เปรียบเทียบการกระจายตัวของความเร็วของ การไหลแบบต่าง ๆ ในท่อกลม 17
  • 18. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.3 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของการไหลแบบปั่นป่วนในท่อผนังหยาบ (Friction factor for turbulent flow in rough pipe) Nikuradse ได้ทาการศึกษาผลกระทบของความขรุขระของผนังท่อ หรือความหยาบผิวของผนังท่อ (roughness : ε) ที่มีต่อการไหล พบว่า ในกรณีที่การไหลมีพฤติกรรมแบบราบเรียบ ความขรุขระของผนังท่อจะไม่มีผลต่อการสูญเสียพลังงาน หรือค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน แต่ในกรณีการไหลมีพฤติกรรมแบบปั่นป่วนผลกระทบของความขรุขระสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ εu∗ ν < 5 ถือเป็นกรณีท่อผนังเรียบ เนื่องจากความขรุขระของผนังท่อจะไม่ส่งผลกระทบต่อสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (f = ϕ Re ) 5 < εu∗ ν < 7 ความขรุขระของผนังท่อจะส่งผลกระทบกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ในระดับปานกลาง (f = ϕ Re ) εu∗ ν > 7 ท่อขรุขระมาก หรือการไหลแบบปั่นป่วนสมบูรณ์ (Fully rough flow or Complete turbulence flow) ส่วน Re มี ผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน น้อยมาก f = ϕ ε D 18
  • 19. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ในกรณีการไหลในท่อขรุขระมาก (Fully rough flow)Karman ได้นาเสนอสมการของการหาค่าสัมประสิทธิ์ ความเสียดทานไว้ดังนี้ 1 𝑓 = 2 log 3.7 𝜀/𝐷 และเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน ในปี ค.ศ. 1944 lewis F. Moody ได้รวบรวมสมการของ Hangen-Poiseuille สมการของ Pradtl สมการของ Colebrook และสมการของ Karman นามาสร้างเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Re ε D กับ friction factor (f) โดยมีลักษณะดังรูป 19
  • 21. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4 การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss : hm) Minor Loss เป็นการสูญเสียเฮดในจุดที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาด หรือทิศทางของความเร็วของการไหล โดยฉับพลัน ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณที่ของไหลไหลผ่านอุปกรณ์ประกอบท่อต่าง ๆ เช่น วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อ ขยายขนาด ข้องอชนิดต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งการสูญเสียรองนี้จะขึ้นอยู่กับรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความเร็วของการ ไหลในอุปกรณ์นั้น ๆ และเฮดความเร็ว ดังนั้นการคานวณค่าการสูญเสียพลังงานรอง จึงสามารถกาหนดให้อยู่ในรูป ของผลคูณระหว่าง ค่าสัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : k) กับเฮดความเร็ว (Velocity Head) ดังสมการ โดยค่า k จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ที่ไหลผ่าน ดังตารางที่ hm = k V2 2g 21
  • 22. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ตารางที่ สัมประสิทธิ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : K) 22
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา รูปที่ ข้อต่อ และข้องอชนิดต่าง ๆ รูปที่ ท่อลด-ขยายขนาด รูปที่ วาล์วชนิดต่าง ๆ 23
  • 24. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 1 ระบบท่อลักษณะดังรูป เชื่อมต่อระหว่างถังเก็บน้าใบที่ 1 กับ 2 ระดับน้าในถังทั้งสองแตกต่างกันเท่ากับ ∆𝑧 จง ตอบคาถามต่อไปนี้ - ถ้าอัตราการไหลเท่ากับ 40 l/s จงหาผลต่างของระดับน้าระหว่างถังทั้งสอง - ถ้าระดับน้าในถังทั้งสองต่างกัน 35 m จงหาอัตราการไหล 24
  • 25. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 25
  • 26. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 26
  • 27. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 27
  • 28. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 2 ต้องการออกแบบท่อส่งน้าผ่านพื้นที่ราบระยะทาง 12 กม. โดยใช้ท่อ wrought iron อัตราการส่งน้ามันที่ใช้ ในการออกแบบคือ 300 ลิตรต่อนาที น้ามันมีค่าความถ่วงจาเพาะเท่ากับ 0.7 ความหนืดคิเนมาติกของน้ามันเท่ากับ 5×10-7 m2/s ถ้าข้อกาหนดของการออกแบบคือ ความดันภายในท่อส่งจะลดลงได้ไม่เกิน 10.3 kPa ต่อระยะทาง 1 กม. จงออกแบบขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ 28
  • 29. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 29
  • 30. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 30
  • 31. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 3 โรงผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้า มีการติดตั้งระบบต่าง ๆ ในลักษณะดังรูป ระดับน้าในอ่างเก็บน้าอยู่ที่ +210.0 ม. รทก. และระดับน้าด้านท้ายเขื่อนอยู่ที่ +125.5 ม.รทก. ถ้าเดินเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้าโดยการปล่อยน้าผ่านกังหันด้วย อัตรา 0.5 cms กังหันมีประสิทธิภาพ 55% จงหากาลังงานที่กังหันส่งให้กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 31
  • 32. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 32
  • 33. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 33
  • 34. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา การต่อท่อแบบขนาน (Pipe in parallel) การต่อท่อแบบขนาน คือการต่อท่อหลาย ๆ เส้น โดยที่แต่ละเส้นทางของการไหลจะเริ่มต้นจากจุดเดียว และ สิ้นสุดที่จุดเดียวกัน ดังตัวอย่างรูปที่ รูป ตัวอย่างการต่อท่อแบบขนาน ดังนั้นหากพิจารณาสมการพลังงานของการ ไหลตามรูปที่ จะได้ว่า = (∑hf + ∑hm)BCDEF = (∑hf + ∑hm)BCDHIEF = (∑hf + ∑hm)BCJKL zA − zB = ∆z 34
  • 35. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 4 พิจารณาท่อขนานเชื่อมอ่างเก็บน้าสองแห่งลักษณะดังรูป ถ้าสภาพการไหลในท่อทั้งสาม เส้นเป็นแบบ Fully rough flow (complete turbulent) จงหาอัตราการไหลในท่อทั้งสามเส้น 35
  • 36. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 36
  • 37. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 37
  • 38. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 38
  • 39. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube