SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา
(Sanitary Engineering and Water Supply)
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา
(System Capacity)
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 8
ขนาดของระบบประปา (System Capacity)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบระบบประปา
อายุของระบบ (Design Period)
การเพิ่มของประชากรในอนาคต (Future Population Growth)
ปริมาณการใช้น้า (Water Consumption)
ปริมาณการใช้น้าที่ผันแปรกับเวลา (Variation in Water Demand)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การก้าหนดอายุของระบบ หมายถึง
การออกแบบระบบประปาให้สามารถรองรับ
ความต้องการใช้น้าได้พอดีในปีสุดท้ายของ
โครงการ การก้าหนดอายุอาจเป็นแบบระยะ
สันหรือระยะยาวโดยพิจารณาจาก
องค์ประกอบต่างๆ
อายุของระบบ (Design Period)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
อายุของระบบ (Design Period)
ความทนทานของวัสดุอุปกรณ์ (Durability of the Materials)
ความยากง่ายของการขยายระบบ (Flexibility)
อัตราค่าดอกเบีย (Interest Rate)
อัตราความต้องการที่เพิ่มขึน (Increasing Rate of Demand)
Sanitary Engineering and Water Supply
สิ่งก่อสร้าง อายุการใช้งาน (ปี)
เขื่อน ระบบส่งน้าขนาดใหญ่ เช่น คลอง บ่อบาดาล 25 - 50
ระบบท่อ ระบบผลิต
ก. อัตราการเพิ่มประชากรต่้าและดอกเบียต่้า 20 - 25
ช. อัตราการเพิ่มประชากรสูงและดอกเบียสูง 10 - 15
ท่อจ่ายน้าขนาดใหญ่กว่า 300 มม. 20 - 25
ท่อย่อย วางเต็มตามความต้องการ
ส้าหรับประเทศไทย การประปาขนาดเล็กในชนบทซึ่งมีอัตราการผลิต 10-50 ลบ.ม./ชม. จะมีอายุการใช้งาน
ประมาณ 10 – 15 ปี ส่วนการประปาของจังหวัดขนาดใหญ่และมีการขยายตัวสูง เช่น เชียงใหม่ จะวางแผนการ
ก่อสร้างให้ใช้งานได้ในระยะยาวถึง 20 ปี แต่แบ่งช่วงการก่อสร้างใช้งานเป็น 2 ระยะๆ ละ 10 ปี กรุงเทพมหานครซึ่ง
การวางอุโมงค์ส่งน้าเป็นสิ่งยุ่งยากเพราะความแออัดของสิ่งก่อสร้างใต้ดิน จะวางอายุการใช้งานได้นานถึง 30 ปี
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การเพิ่มของประชากรในอนาคต (Future Population Growth)
การก้าหนดอายุการใช้งานของระบบประปาที่จะสร้างนัน
มีความสัมพันธ์กับการคาดคะเนจ้านวนประชากรในอนาคต
จนถึงปีซึ่งสินสุดอายุการใช้งาน การคาดคะเนประชากร
(Population Projection) นันนิยมใช้หลักการทางสถิติ โดย
อาศัยข้อมูลประกอบต่างๆ เช่น อัตราการเพิ่มของประชากรใน
ปีที่แล้วๆ มา การเปรียบเทียบกับประชากรของชุมชนอื่นซึ่งใน
อดีตมีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาพปัจจุบันของชุมชนที่จะ
จัดสร้างระบบประปา การพิจารณาแนวโน้มของความเติบโต
ในด้านอุตสาหกรรม การควบคุมอัตราการเพิ่มประชากร ฯลฯ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การคาดคะเนจานวนประชากร
แบบเลขคณิต (Arithmetic Method)
แบบเรขาคณิต (Geometric Method)
แบบอัตราเพิ่มลดลง (Decreasing-Rate-of-Increase Method)
แบบ Logistic S
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบเลขคณิต (Arithmetic Method)
มีสมมุติฐานว่าอัตราการเพิ่มของประชากรมีค่าคงที่ ทังนีโดยสังเกตจากสถิติที่ผ่านมา ถ้าหากจ้านวนที่เพิ่มขึนมีค่าใกล้เคียงกันในช่วง
ระยะเวลาเท่ากัน การค้านวณหาจ้านวนประชากร อาจได้จากสูตร
dP/dt = Ka
เมื่อ dP/dt เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของจ้านวนประชากรต่อหน่วยเวลา
Ka เป็นค่าคงที่ซึ่งหาได้จากกราฟ หรือค้านวณจากจ้านวนประชากรจริงในปีที่ผ่านมาโดย
Ka = P/t
ดังนัน ประชากรในปีที่คาดคะเนจึงหาได้จาก Pt = Po + Ka.t
เมื่อ Pt เป็นจ้านวนประชากรในปีที่คาดคะเน Po เป็นจ้านวนประชากรในปีปัจจุบัน
และ t เป็นช่วงเวลาจาก Po ถึง Pt
การคาดคะเนประชากรด้วยวิธีเลขคณิตนิยมใช้กับชุมชนเก่าขนาดใหญ่ที่ผ่านการพัฒนามาแล้ว เช่น จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด
อุบลราชธานี
Sanitary Engineering and Water Supply
สมมุติฐานว่าอัตราการเพิ่มของประชากรเป็นเปอร์เซนต์ที่สม่้าเสมอต่อหนึ่งหน่วยเวลาหรือเขียนเป็นสูตรได้ว่า
dP/dt = KgP
เมื่อ integrate จะได้ InP = InPo + Kg. t
และเมื่อน้าไปพล็อตบนกระดาษเซมิล็อกแล้วได้เส้นตรง จะหาค่า Kg ได้จากค่าความชันของเส้น หรืออีกวิธี
หนึ่งจะหาได้จากการค้านวณ
Kg = (InP - InPo)/t
การคาดคะเนประชากรด้วยวิธีเรขาคณิตนิยมใช้กับชุมชนใหม่ซึ่งยังมีพืนที่เพื่อการพัฒนาอีกมาก มี
สาธารณูปโภคและการคมนาคมที่สมบูรณ์ การเติบโตของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว เช่น ชุมชนรอบนอกเทศบาล
นครเชียงใหม่ (พ.ศ. 2530) หรือเทศบาลเมืองพัทยา (2530)
แบบเรขาคณิต (Geometric Method)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบอัตราเพิ่มลดลง (Decreasing-Rate-of-Increase Method)
มีสมมุติฐานว่าชุมชนนันมีพืนที่อยู่ในวงจ้ากัด ดังนัน เมื่อเติบโตถึงที่สุดแล้วจ้านวนประชากรจะอิ่มตัว ไม่สามารถเพิ่มขึนอีก อัตราการ
เพิ่มประชากรจะเป็นแบบ
dP/dt = Kd (S-P)
เมื่อ S เป็นจ้านวนประชากรอิ่มตัวได้มาจากการคาดคะเนว่า เมื่อถึงจุดอิ่มตัวแล้วประชากรควรจะมี จ้านวนเท่าใด โดยพิจารณาจาก
ขอบเขตของพืนที่และความหนาแน่นของประชากร
ส่วนค่า Kd หาได้จาก
Kd = [-1/(t2 - t )] x In [(S-P2)/(S-P1)]
เมื่อ P1 และ P2 เป็นจ้านวนประชากรในปี t1 และ t2 ตามล้าดับ
จ้านวนประชากรในปีที่คาดคะเนจะได้จาก
P = Po + (S-Po)(1-e-Kdt)
การคาดคะเนจ้านวนประชากรด้วยวิธีนีนิยมใช้กับชุมชนที่ไม่อาจขยายตัวได้ เช่น จากเหตุผลทาง ภูมิศาสตร์เนื่องจากติดภูเขาหรือแม่น้า
Sanitary Engineering and Water Supply
ใช้ในการคาดคะเนประชากรของชุมชน ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะอิ่มตัวในอนาคตเช่นเดียวกับแบบอัตราเพิ่มลดลง แต่
การก้าหนดจ้านวนประชากรอิ่มตัว (S) ไม่ได้ใช้สมมุติฐาน หากแต่อาศัยการค้านวณจากสูตร
S =
2𝑃𝑜𝑃1𝑃2−𝑃1
2(𝑃0+𝑃2)
𝑃0+ 𝑃2− 𝑃1
2
m =
𝑆− 𝑃0
𝑃0
b = 1/n-In [P0(S-P1)/P1(S-P0)]
เมื่อ m และ b เป็นค่าคงที่ n เป็นช่วงเวลาระหว่าง t0, t1, t2
จะได้ P = S/(1+m.ebt)
แบบ Logistic S
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง การคาดคะเนจ้านวนประชากรในปี พ.ศ. 2550 ของชุมชนหนึ่งซึ่งมีสถิติประชากรในอดีต ดังนี
ปี พ.ศ. 2495 2505 2515 2525 2535
ประชากร 4,411 6,913 6,629 19,351 39,418
แบบเลขคณิต
การค้านวณหาค่า Ka โดยอาศัยจ้านวนประชากรจากปี 2525 - 2535 และจากปี 2515 - 2525
Ka = (39,418 - 19,351)/10 = 2,007
Ka2 = (19,351 - 6,629)/10 = 1,272
ค่าเฉลี่ย Ka = (2,007 + 1272)/2 = 1,640
P2550 = P2535 + Ka (2550 - 2535)
= 39,418 + 1,640(15) = 64,018 คน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบเรขาคณิต
Kg = (In 39,418 - In 19,351)/10 = 0.072
In P2550 = In 39,418 + Kg(2550 - 2535) = 10.58 + 0.072(15)
P2550 = 116,000 คน
แบบอัตราเพิ่มลดลง
สมมุติให้จ้านวนประชากรอิ่มตัว (S) เท่ากับ 50,000 คน
หาค่า Kd จากประชากร ปี 2535 และ 2525
Kd = (-1/10)In[(50,000 - 39,418)/(50,000 - 9,315)]
Kd = 0.106
P2550 = 50,000 - (50,000 - 39,418)e-106(15) = 50,000 – 2,152 = 47,848 คน
Sanitary Engineering and Water Supply
แบบ Logistic S
หาค่า S โดยใช้ P2 = 39,400, P1 = 19,300 และ Po = 6,600
S =
2 6,600 19,300 39,400 − 19,300 2(6,600+39,400)
6,600 39,400 −(19,300)2
= 63,000
M =
63,000−6,000
6,600
= 8.55
B =
1
10
In
6,600(63,000−19,300)
19,300(63,000−6,600)
=-0.133
P2550 =
63,000
1+8.55𝑒−0.133(35) t จาก 2550-2515
= 58,000 คน
จะเห็นได้ว่าจ้านวนประชากรในปี พ.ศ. 2550 ที่ได้จากการค้านวณแบบเรขาคณิตมีค่าสูงกว่าแบบ
เลขคณิตเกือบหนึ่งเท่าตัว ส่วนจ้านวนประชากรจากแบบอัตราเพิ่มลดลงจะมีค่าต่้าสุด
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ปริมาณน้าใช้ส้าหรับครัวเรือน (Domestic Use) จะหาได้จากจ้านวนประชากรผู้ได้รับบริการคูณด้วย อัตราการ
ใช้น้าต่อบุคคล (per capita consumption) ซึ่งอัตราการใช้น้าต่อบุคคลนีจะแตกต่างกันไปในแต่ละ ชุมชนและ
วิศวกรผู้ออกแบบขนาดระบบจะต้องก้าหนดให้เหมาะสม
• ระดับการประปาในหมู่บ้านหรือต้าบลชนบทที่ราษฎรยากจน ไม่มีเงินพอที่จะต่อท่อประปาเข้าบ้าน (house
connection) ต้องไปหาบน้าจากก๊อกประปาสาธารณะ (public tap) ความต้องการใช้น้าของประชากร จะอยู่
ในราว 40 ลิตรต่อคนต่อวัน (Lpcd-Litre per capita per day)
• หมู่บ้านหรือต้าบลซึ่งราษฎรมีก้าลังทรัพย์พอที่จะต่อท่อเข้าบ้านได้มีประมาณครึ่งหนึ่งของจ้านวนบ้าน ทังหมด
ในเขตบริการ ค่าเฉลี่ยของอัตราการใช้น้าจะอยู่ในราว 80 - 100 ลิตรต่อคนต่อวัน
• ในเขตเทศบาลหรือเขตเมือง (Urban area) อัตราการใช้น้าของประชากรจะอยู่ในราว 200 - 300 ลิตร ต่อคน
ต่อวัน (ค่าที่นิยมใช้ประมาณการส้าหรับประชากรในโครงการหมู่บ้านจัดสรร คือ 250 ลิตรต่อคนต่อวัน)
ปริมาณการใช้นา (Water Consumption)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ปริมาณการใช้นา (Water Consumption)
ก. น้าใช้ในอุตสาหกรรม (Industrial Use)
ข. แหล่งน้าส่วนตัว (Resort of Private Supply)
ค. ราคาน้า (Water Pricing)
ง. การรั่วไหล (Leakage)
Sanitary Engineering and Water Supply
ปริมาณการใช้นาที่ผันแปรกับเวลา (Variation in Water Demand)
ปริมาณน้าใช้ต่อคนต่อวัน (Lpcd) ที่ได้กล่าวไปแล้วนัน เป็นค่าเฉลี่ยของการใช้น้าตลอดปี แต่ตามความเป็น จริงการใช้
น้าอาจจะมากหรือน้อยกว่าค่านี
รูป ปริมาณการใช้น้าเฉลี่ยและการใช้น้าสูงสุดต่อวัน รูป ปริมาณใช้น้าเฉลี่ยและชั่วโมงใช้น้าสูงสุด
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตัวอย่างการออกแบบขนาดระบบประปา
ชุมชนแห่งหนึ่งต้องการสร้างระบบประปาเพื่อบริการน้าให้พอเพียงส้าหรับอีก 10 ปีข้างหน้าซึ่งคาดว่าจะ มีผู้ใช้บริการ 10,000 คน
อัตราการใช้น้า 200 ลิตรต่อคนต่อวัน น้าใช้ในการอุตสาหกรรมประมาณวันละ 1,000 ลบ.ม. อัตราการรั่วไหลในเส้นท่อจ่ายน้าประมาณ
15 เปอร์เซนต์ของน้าที่จ่ายทังหมด อัตราการใช้น้าในวัน สูงสุดเป็น 1.5 เท่าของอัตราการใช้ต่อวันเฉลี่ยตลอดปี และอัตราการใช้น้าใน
ชั่วโมงการใช้สูงสุดเป็น 2 เท่าของ อัตราการใช้เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ระบบประปาส้าหรับชุมชนนีควรมีขนาดเท่าใด (เป็นระบบทรายกรองเร็ว)
การคานวณ
ปริมาณการใช้น้าส้าหรับครัวเรือนโดยเฉลี่ย = 10,000 x 0.2 = 2,000 ลบ.ม.ต่อวัน
รวมน้าใช้ในอุตสาหกรรม 1,000 + 2,000 = 3,000 “
รวมการรั่วไหล (0.15) 1.15 x 3,000
.. อัตราการใช้น้าเฉลี่ย = 3,450 “
อัตราการใช้น้าต่อวันสูงสุด = 1.5 x 3,450 ลบ.ม.
.. ระบบก้าลังผลิตจะมีขนาด = 5,175 หรือ 5,200 ลบ.ม.ต่อวัน
Sanitary Engineering and Water Supply
ถ้า ก้าหนดให้การผลิตเป็นไปตลอด 24 ชั่วโมงในแต่ละวัน แต่ละหน่วย (unit) ของระบบผลิตจะมีขนาดรับอัตราการไหล (design flow) =
5,200/24 = 220 ม.3/ชม ซึ่งหน่วยเหล่านี ได้แก่
ก. ระบบชักน้าดิบ (Intake system) ประกอบด้วย ท่อดูด (Suction pipe)
เครื่องสูบน้าตบ (Raw water pump or low lift pump) ท่อส่งน้าดิบ (Raw water transmission pipe)
ข. ระบบผลิต (Treatment system) ประกอบด้วย ถังผสมเร็ว (Rapid mixing tank)
ถังท้าตะกอน (Flocculation tank) ถังตกตะกอน (Sedimentation tank)
ถังกรอง (Filter) การฆ่าเชือโรค (Disinfection)
ทุกหน่วยเบืองต้นนีจะมีขนาดอัตราผลิต 220 ลบ.ม./ชม.
แต่โรงงานประปาบางแห่งซึ่งมีขนาดเล็กและบุคคลากรไม่เพียงพอที่จะดูแลระบบตลอด 24 ชั่วโมง อาจก้าหนดให้มีการผลิตเฉพาะใน
ช่วงเวลาเช้าถึงเย็น หรือวันละ 8 - 10 ชั่วโมง (Daily pumping hours) ระบบผลิตจะมีขนาดใหญ่กว่าระบบผลิต 24 ชั่วโมง
เช่นดังในตัวอย่างเบืองต้น ถ้าก้าหนดให้ผลิตน้าประปาวันละ 10 ชั่วโมง
ดังนัน แต่ละหน่วยการผลิต (ตังใน ก. และ ข.) จะมีขนาด 5,200/10 หรือ 520 ลบ.ม.ต่อ ชั่วโมง
(หมายเหตุ : การประปาในชนบทที่มีขนาดก้าลังผลิต 10 - 100 ลบ.ม. ต่อชั่วโมง นิยมออกแบบให้มี ชั่วโมงการผลิต 8 - 10 ชั่วโมงต่อวัน)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ส้าหรับขนาดความจุของถังน้าใส (Clear well) มักนิยมก้าหนดเป็นเปอร์เซนต์ของปริมาณการผลิตต่อวัน หรือเป็นระยะเวลาเก็บกัก
(detention time) เช่น
ก้าหนดให้ความจุของถังน้าใสมีค่า 60% ของปริมาณการใช้เฉลี่ยต่อวัน
ดังนัน ถังน้าใสจะมีความจุ 0.60 x 3,450 = 2,070 ลบ.ม. หรือ ก้าหนดให้ระยะเวลาเก็บกักเท่ากับ 12 ชั่วโมงของปริมาณการผลิตต่อวันสูงสุด
ถังน้าใสจะมีความจุ 12/24 x 5,200 = 2,600 ลบ.ม.
การออกแบบขนาดความจุของถังสูง (Elevated tank) ก็ใช้หลักการเดียวกัน เช่นนิยมก้าหนดให้ความจุ ของถังสูงมีค่า 15 – 30 เปอร์เซนต์
ของปริมาณการใช้เฉลี่ยต่อวัน
ขนาดความจุของถังสูงจากตัวอย่างจะอยู่ระหว่าง 0.15 - 0.30 เท่าของ 3,450 ลบ.ม. หรือมีความจุ ประมาณ 500 - 1,000 ลบ.ม.
อย่างไรก็ตาม ส้าหรับการประปาขนาดใหญ่ซึ่งท่อจ่ายน้ามีความยาวมาก มักจะนิยมสูบน้าอัดเข้าท่อจ่าย น้าบริการโดยตรงมากกว่าที่จะจ่าย
น้าจากถังสูง ซึ่งนอกจากความสูงของถังจะไม่พอเพียง ในทางปฏิบัติแล้วขนาด ของถังเก็บยังใหญ่มาก สินเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างอีกด้วย หอ
ถังสูงจึงมักใช้กับการประปาขนาดเล็ก ที่มีระยะท่อจ่ายน้าสันและการใช้น้าในเวลากลางคืนน้อย ไม่คุ้มกับการเดินเครื่องสูบน้าตลอดเวลา
หมายเหตุ : การออกแบบระบบการผลิตนีไม่ได้น้าเอาปริมาณการใช้น้าดับเพลิงมาค้านวณด้วย
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.
ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.
ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.veerachai1
 
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptx
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptxMEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptx
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptxHendraAdityaDarma1
 
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0Vu Tran Minh
 
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...Angga Nugraha
 
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta api
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta apiPm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta api
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta apikuntosenoadji
 
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551วายุ วรเลิศ
 
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalan
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalanPerbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalan
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalanAngga Nugraha
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆประพันธ์ เวารัมย์
 
metode pondasi bore pile 1062017.pptttttt
metode pondasi bore pile 1062017.ppttttttmetode pondasi bore pile 1062017.pptttttt
metode pondasi bore pile 1062017.ppttttttMFazri2
 
Bangunan atas gelagar induk beton bertulang
Bangunan atas gelagar induk beton bertulangBangunan atas gelagar induk beton bertulang
Bangunan atas gelagar induk beton bertulangAgus Gunawan
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)waoram
 
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)Saksham Bhutani
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.
ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.
ข้อสอบเก่าบุคลากรทางการศึกษา สพฐ.
 
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptx
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptxMEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptx
MEKANIKA TANAH II KEMANTAPAN LERENG.pptx
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0
Tablet samsung gt n8000 galaxy note 10.1 3 g-r1.0
 
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...
Cara penyiapan dan pembersihan lahan sebelum pelaksanaan penyemprotan prime c...
 
HPDL-Rofin.ppt
HPDL-Rofin.pptHPDL-Rofin.ppt
HPDL-Rofin.ppt
 
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta api
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta apiPm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta api
Pm no. 60 tahun 2012 tentang persyaratan teknis jalur kereta api
 
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
 
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalan
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalanPerbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalan
Perbedaan prime coat dan tack coat pada pekerjaan konstruksi jalan
 
2022-19-RN.pdf
2022-19-RN.pdf2022-19-RN.pdf
2022-19-RN.pdf
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ
 
Pelajaran Alat2 Berat
Pelajaran Alat2 BeratPelajaran Alat2 Berat
Pelajaran Alat2 Berat
 
metode pondasi bore pile 1062017.pptttttt
metode pondasi bore pile 1062017.ppttttttmetode pondasi bore pile 1062017.pptttttt
metode pondasi bore pile 1062017.pptttttt
 
Bangunan atas gelagar induk beton bertulang
Bangunan atas gelagar induk beton bertulangBangunan atas gelagar induk beton bertulang
Bangunan atas gelagar induk beton bertulang
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน (เล่มที่ 8)
 
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)
Indian Railways Surveying (RECT, PECT and FLS)
 
Pembagian alat berat
Pembagian alat beratPembagian alat berat
Pembagian alat berat
 
Pondasi cerucuk
Pondasi cerucukPondasi cerucuk
Pondasi cerucuk
 

Similar to บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป

Methods of population studies
Methods of population studiesMethods of population studies
Methods of population studiesAmira Abdallah
 
Topological Data Analysis and Persistent Homology
Topological Data Analysis and Persistent HomologyTopological Data Analysis and Persistent Homology
Topological Data Analysis and Persistent HomologyCarla Melia
 
Ce 401 introduction to environmental engineering
Ce 401 introduction to environmental engineeringCe 401 introduction to environmental engineering
Ce 401 introduction to environmental engineeringMuhammad Nouman
 
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...TELKOMNIKA JOURNAL
 
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...IAEME Publication
 

Similar to บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป (7)

บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
Methods of population studies
Methods of population studiesMethods of population studies
Methods of population studies
 
Topological Data Analysis and Persistent Homology
Topological Data Analysis and Persistent HomologyTopological Data Analysis and Persistent Homology
Topological Data Analysis and Persistent Homology
 
Ce 401 introduction to environmental engineering
Ce 401 introduction to environmental engineeringCe 401 introduction to environmental engineering
Ce 401 introduction to environmental engineering
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...
A novel delay dictionary design for compressive sensing-based time varying ch...
 
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...
EFFECT OF PARTICLE SIZE AND CHEMICAL REACTION ON CONVECTIVE HEAT AND MASS TRA...
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 5 การไหลภายในท่อ + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSSpellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSAnaAcapella
 
Single or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structureSingle or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structuredhanjurrannsibayan2
 
SOC 101 Demonstration of Learning Presentation
SOC 101 Demonstration of Learning PresentationSOC 101 Demonstration of Learning Presentation
SOC 101 Demonstration of Learning Presentationcamerronhm
 
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxGoogle Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxDr. Sarita Anand
 
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...Nguyen Thanh Tu Collection
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxJisc
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Pooja Bhuva
 
AIM of Education-Teachers Training-2024.ppt
AIM of Education-Teachers Training-2024.pptAIM of Education-Teachers Training-2024.ppt
AIM of Education-Teachers Training-2024.pptNishitharanjan Rout
 
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdfUnit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdfDr Vijay Vishwakarma
 
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxPython Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxRamakrishna Reddy Bijjam
 
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptxExploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptxPooja Bhuva
 
The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxheathfieldcps1
 
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17Celine George
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfPondicherry University
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSCeline George
 
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...Poonam Aher Patil
 
Basic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationBasic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationNeilDeclaro1
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsSandeep D Chaudhary
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...Amil baba
 

Recently uploaded (20)

Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSSpellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
 
Single or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structureSingle or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structure
 
SOC 101 Demonstration of Learning Presentation
SOC 101 Demonstration of Learning PresentationSOC 101 Demonstration of Learning Presentation
SOC 101 Demonstration of Learning Presentation
 
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxGoogle Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
 
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
 
AIM of Education-Teachers Training-2024.ppt
AIM of Education-Teachers Training-2024.pptAIM of Education-Teachers Training-2024.ppt
AIM of Education-Teachers Training-2024.ppt
 
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdfUnit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
 
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxPython Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
 
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptxExploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
 
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
 
The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptx
 
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
 
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
 
Basic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationBasic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health Education
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
 

บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป

  • 1. อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply) บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity)
  • 2. Sanitary Engineering and Water Supply ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity)
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 4. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบระบบประปา อายุของระบบ (Design Period) การเพิ่มของประชากรในอนาคต (Future Population Growth) ปริมาณการใช้น้า (Water Consumption) ปริมาณการใช้น้าที่ผันแปรกับเวลา (Variation in Water Demand)
  • 5. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การก้าหนดอายุของระบบ หมายถึง การออกแบบระบบประปาให้สามารถรองรับ ความต้องการใช้น้าได้พอดีในปีสุดท้ายของ โครงการ การก้าหนดอายุอาจเป็นแบบระยะ สันหรือระยะยาวโดยพิจารณาจาก องค์ประกอบต่างๆ อายุของระบบ (Design Period)
  • 6. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply อายุของระบบ (Design Period) ความทนทานของวัสดุอุปกรณ์ (Durability of the Materials) ความยากง่ายของการขยายระบบ (Flexibility) อัตราค่าดอกเบีย (Interest Rate) อัตราความต้องการที่เพิ่มขึน (Increasing Rate of Demand)
  • 7. Sanitary Engineering and Water Supply สิ่งก่อสร้าง อายุการใช้งาน (ปี) เขื่อน ระบบส่งน้าขนาดใหญ่ เช่น คลอง บ่อบาดาล 25 - 50 ระบบท่อ ระบบผลิต ก. อัตราการเพิ่มประชากรต่้าและดอกเบียต่้า 20 - 25 ช. อัตราการเพิ่มประชากรสูงและดอกเบียสูง 10 - 15 ท่อจ่ายน้าขนาดใหญ่กว่า 300 มม. 20 - 25 ท่อย่อย วางเต็มตามความต้องการ ส้าหรับประเทศไทย การประปาขนาดเล็กในชนบทซึ่งมีอัตราการผลิต 10-50 ลบ.ม./ชม. จะมีอายุการใช้งาน ประมาณ 10 – 15 ปี ส่วนการประปาของจังหวัดขนาดใหญ่และมีการขยายตัวสูง เช่น เชียงใหม่ จะวางแผนการ ก่อสร้างให้ใช้งานได้ในระยะยาวถึง 20 ปี แต่แบ่งช่วงการก่อสร้างใช้งานเป็น 2 ระยะๆ ละ 10 ปี กรุงเทพมหานครซึ่ง การวางอุโมงค์ส่งน้าเป็นสิ่งยุ่งยากเพราะความแออัดของสิ่งก่อสร้างใต้ดิน จะวางอายุการใช้งานได้นานถึง 30 ปี ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 8. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การเพิ่มของประชากรในอนาคต (Future Population Growth) การก้าหนดอายุการใช้งานของระบบประปาที่จะสร้างนัน มีความสัมพันธ์กับการคาดคะเนจ้านวนประชากรในอนาคต จนถึงปีซึ่งสินสุดอายุการใช้งาน การคาดคะเนประชากร (Population Projection) นันนิยมใช้หลักการทางสถิติ โดย อาศัยข้อมูลประกอบต่างๆ เช่น อัตราการเพิ่มของประชากรใน ปีที่แล้วๆ มา การเปรียบเทียบกับประชากรของชุมชนอื่นซึ่งใน อดีตมีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาพปัจจุบันของชุมชนที่จะ จัดสร้างระบบประปา การพิจารณาแนวโน้มของความเติบโต ในด้านอุตสาหกรรม การควบคุมอัตราการเพิ่มประชากร ฯลฯ
  • 9. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การคาดคะเนจานวนประชากร แบบเลขคณิต (Arithmetic Method) แบบเรขาคณิต (Geometric Method) แบบอัตราเพิ่มลดลง (Decreasing-Rate-of-Increase Method) แบบ Logistic S
  • 10. Sanitary Engineering and Water Supply แบบเลขคณิต (Arithmetic Method) มีสมมุติฐานว่าอัตราการเพิ่มของประชากรมีค่าคงที่ ทังนีโดยสังเกตจากสถิติที่ผ่านมา ถ้าหากจ้านวนที่เพิ่มขึนมีค่าใกล้เคียงกันในช่วง ระยะเวลาเท่ากัน การค้านวณหาจ้านวนประชากร อาจได้จากสูตร dP/dt = Ka เมื่อ dP/dt เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของจ้านวนประชากรต่อหน่วยเวลา Ka เป็นค่าคงที่ซึ่งหาได้จากกราฟ หรือค้านวณจากจ้านวนประชากรจริงในปีที่ผ่านมาโดย Ka = P/t ดังนัน ประชากรในปีที่คาดคะเนจึงหาได้จาก Pt = Po + Ka.t เมื่อ Pt เป็นจ้านวนประชากรในปีที่คาดคะเน Po เป็นจ้านวนประชากรในปีปัจจุบัน และ t เป็นช่วงเวลาจาก Po ถึง Pt การคาดคะเนประชากรด้วยวิธีเลขคณิตนิยมใช้กับชุมชนเก่าขนาดใหญ่ที่ผ่านการพัฒนามาแล้ว เช่น จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด อุบลราชธานี
  • 11. Sanitary Engineering and Water Supply สมมุติฐานว่าอัตราการเพิ่มของประชากรเป็นเปอร์เซนต์ที่สม่้าเสมอต่อหนึ่งหน่วยเวลาหรือเขียนเป็นสูตรได้ว่า dP/dt = KgP เมื่อ integrate จะได้ InP = InPo + Kg. t และเมื่อน้าไปพล็อตบนกระดาษเซมิล็อกแล้วได้เส้นตรง จะหาค่า Kg ได้จากค่าความชันของเส้น หรืออีกวิธี หนึ่งจะหาได้จากการค้านวณ Kg = (InP - InPo)/t การคาดคะเนประชากรด้วยวิธีเรขาคณิตนิยมใช้กับชุมชนใหม่ซึ่งยังมีพืนที่เพื่อการพัฒนาอีกมาก มี สาธารณูปโภคและการคมนาคมที่สมบูรณ์ การเติบโตของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว เช่น ชุมชนรอบนอกเทศบาล นครเชียงใหม่ (พ.ศ. 2530) หรือเทศบาลเมืองพัทยา (2530) แบบเรขาคณิต (Geometric Method) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 12. Sanitary Engineering and Water Supply แบบอัตราเพิ่มลดลง (Decreasing-Rate-of-Increase Method) มีสมมุติฐานว่าชุมชนนันมีพืนที่อยู่ในวงจ้ากัด ดังนัน เมื่อเติบโตถึงที่สุดแล้วจ้านวนประชากรจะอิ่มตัว ไม่สามารถเพิ่มขึนอีก อัตราการ เพิ่มประชากรจะเป็นแบบ dP/dt = Kd (S-P) เมื่อ S เป็นจ้านวนประชากรอิ่มตัวได้มาจากการคาดคะเนว่า เมื่อถึงจุดอิ่มตัวแล้วประชากรควรจะมี จ้านวนเท่าใด โดยพิจารณาจาก ขอบเขตของพืนที่และความหนาแน่นของประชากร ส่วนค่า Kd หาได้จาก Kd = [-1/(t2 - t )] x In [(S-P2)/(S-P1)] เมื่อ P1 และ P2 เป็นจ้านวนประชากรในปี t1 และ t2 ตามล้าดับ จ้านวนประชากรในปีที่คาดคะเนจะได้จาก P = Po + (S-Po)(1-e-Kdt) การคาดคะเนจ้านวนประชากรด้วยวิธีนีนิยมใช้กับชุมชนที่ไม่อาจขยายตัวได้ เช่น จากเหตุผลทาง ภูมิศาสตร์เนื่องจากติดภูเขาหรือแม่น้า
  • 13. Sanitary Engineering and Water Supply ใช้ในการคาดคะเนประชากรของชุมชน ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะอิ่มตัวในอนาคตเช่นเดียวกับแบบอัตราเพิ่มลดลง แต่ การก้าหนดจ้านวนประชากรอิ่มตัว (S) ไม่ได้ใช้สมมุติฐาน หากแต่อาศัยการค้านวณจากสูตร S = 2𝑃𝑜𝑃1𝑃2−𝑃1 2(𝑃0+𝑃2) 𝑃0+ 𝑃2− 𝑃1 2 m = 𝑆− 𝑃0 𝑃0 b = 1/n-In [P0(S-P1)/P1(S-P0)] เมื่อ m และ b เป็นค่าคงที่ n เป็นช่วงเวลาระหว่าง t0, t1, t2 จะได้ P = S/(1+m.ebt) แบบ Logistic S ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 14. ตัวอย่าง การคาดคะเนจ้านวนประชากรในปี พ.ศ. 2550 ของชุมชนหนึ่งซึ่งมีสถิติประชากรในอดีต ดังนี ปี พ.ศ. 2495 2505 2515 2525 2535 ประชากร 4,411 6,913 6,629 19,351 39,418 แบบเลขคณิต การค้านวณหาค่า Ka โดยอาศัยจ้านวนประชากรจากปี 2525 - 2535 และจากปี 2515 - 2525 Ka = (39,418 - 19,351)/10 = 2,007 Ka2 = (19,351 - 6,629)/10 = 1,272 ค่าเฉลี่ย Ka = (2,007 + 1272)/2 = 1,640 P2550 = P2535 + Ka (2550 - 2535) = 39,418 + 1,640(15) = 64,018 คน ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply
  • 15. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply แบบเรขาคณิต Kg = (In 39,418 - In 19,351)/10 = 0.072 In P2550 = In 39,418 + Kg(2550 - 2535) = 10.58 + 0.072(15) P2550 = 116,000 คน แบบอัตราเพิ่มลดลง สมมุติให้จ้านวนประชากรอิ่มตัว (S) เท่ากับ 50,000 คน หาค่า Kd จากประชากร ปี 2535 และ 2525 Kd = (-1/10)In[(50,000 - 39,418)/(50,000 - 9,315)] Kd = 0.106 P2550 = 50,000 - (50,000 - 39,418)e-106(15) = 50,000 – 2,152 = 47,848 คน
  • 16. Sanitary Engineering and Water Supply แบบ Logistic S หาค่า S โดยใช้ P2 = 39,400, P1 = 19,300 และ Po = 6,600 S = 2 6,600 19,300 39,400 − 19,300 2(6,600+39,400) 6,600 39,400 −(19,300)2 = 63,000 M = 63,000−6,000 6,600 = 8.55 B = 1 10 In 6,600(63,000−19,300) 19,300(63,000−6,600) =-0.133 P2550 = 63,000 1+8.55𝑒−0.133(35) t จาก 2550-2515 = 58,000 คน จะเห็นได้ว่าจ้านวนประชากรในปี พ.ศ. 2550 ที่ได้จากการค้านวณแบบเรขาคณิตมีค่าสูงกว่าแบบ เลขคณิตเกือบหนึ่งเท่าตัว ส่วนจ้านวนประชากรจากแบบอัตราเพิ่มลดลงจะมีค่าต่้าสุด
  • 17. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ปริมาณน้าใช้ส้าหรับครัวเรือน (Domestic Use) จะหาได้จากจ้านวนประชากรผู้ได้รับบริการคูณด้วย อัตราการ ใช้น้าต่อบุคคล (per capita consumption) ซึ่งอัตราการใช้น้าต่อบุคคลนีจะแตกต่างกันไปในแต่ละ ชุมชนและ วิศวกรผู้ออกแบบขนาดระบบจะต้องก้าหนดให้เหมาะสม • ระดับการประปาในหมู่บ้านหรือต้าบลชนบทที่ราษฎรยากจน ไม่มีเงินพอที่จะต่อท่อประปาเข้าบ้าน (house connection) ต้องไปหาบน้าจากก๊อกประปาสาธารณะ (public tap) ความต้องการใช้น้าของประชากร จะอยู่ ในราว 40 ลิตรต่อคนต่อวัน (Lpcd-Litre per capita per day) • หมู่บ้านหรือต้าบลซึ่งราษฎรมีก้าลังทรัพย์พอที่จะต่อท่อเข้าบ้านได้มีประมาณครึ่งหนึ่งของจ้านวนบ้าน ทังหมด ในเขตบริการ ค่าเฉลี่ยของอัตราการใช้น้าจะอยู่ในราว 80 - 100 ลิตรต่อคนต่อวัน • ในเขตเทศบาลหรือเขตเมือง (Urban area) อัตราการใช้น้าของประชากรจะอยู่ในราว 200 - 300 ลิตร ต่อคน ต่อวัน (ค่าที่นิยมใช้ประมาณการส้าหรับประชากรในโครงการหมู่บ้านจัดสรร คือ 250 ลิตรต่อคนต่อวัน) ปริมาณการใช้นา (Water Consumption)
  • 18. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ปริมาณการใช้นา (Water Consumption) ก. น้าใช้ในอุตสาหกรรม (Industrial Use) ข. แหล่งน้าส่วนตัว (Resort of Private Supply) ค. ราคาน้า (Water Pricing) ง. การรั่วไหล (Leakage)
  • 19. Sanitary Engineering and Water Supply ปริมาณการใช้นาที่ผันแปรกับเวลา (Variation in Water Demand) ปริมาณน้าใช้ต่อคนต่อวัน (Lpcd) ที่ได้กล่าวไปแล้วนัน เป็นค่าเฉลี่ยของการใช้น้าตลอดปี แต่ตามความเป็น จริงการใช้ น้าอาจจะมากหรือน้อยกว่าค่านี รูป ปริมาณการใช้น้าเฉลี่ยและการใช้น้าสูงสุดต่อวัน รูป ปริมาณใช้น้าเฉลี่ยและชั่วโมงใช้น้าสูงสุด
  • 20. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตัวอย่างการออกแบบขนาดระบบประปา ชุมชนแห่งหนึ่งต้องการสร้างระบบประปาเพื่อบริการน้าให้พอเพียงส้าหรับอีก 10 ปีข้างหน้าซึ่งคาดว่าจะ มีผู้ใช้บริการ 10,000 คน อัตราการใช้น้า 200 ลิตรต่อคนต่อวัน น้าใช้ในการอุตสาหกรรมประมาณวันละ 1,000 ลบ.ม. อัตราการรั่วไหลในเส้นท่อจ่ายน้าประมาณ 15 เปอร์เซนต์ของน้าที่จ่ายทังหมด อัตราการใช้น้าในวัน สูงสุดเป็น 1.5 เท่าของอัตราการใช้ต่อวันเฉลี่ยตลอดปี และอัตราการใช้น้าใน ชั่วโมงการใช้สูงสุดเป็น 2 เท่าของ อัตราการใช้เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ระบบประปาส้าหรับชุมชนนีควรมีขนาดเท่าใด (เป็นระบบทรายกรองเร็ว) การคานวณ ปริมาณการใช้น้าส้าหรับครัวเรือนโดยเฉลี่ย = 10,000 x 0.2 = 2,000 ลบ.ม.ต่อวัน รวมน้าใช้ในอุตสาหกรรม 1,000 + 2,000 = 3,000 “ รวมการรั่วไหล (0.15) 1.15 x 3,000 .. อัตราการใช้น้าเฉลี่ย = 3,450 “ อัตราการใช้น้าต่อวันสูงสุด = 1.5 x 3,450 ลบ.ม. .. ระบบก้าลังผลิตจะมีขนาด = 5,175 หรือ 5,200 ลบ.ม.ต่อวัน
  • 21. Sanitary Engineering and Water Supply ถ้า ก้าหนดให้การผลิตเป็นไปตลอด 24 ชั่วโมงในแต่ละวัน แต่ละหน่วย (unit) ของระบบผลิตจะมีขนาดรับอัตราการไหล (design flow) = 5,200/24 = 220 ม.3/ชม ซึ่งหน่วยเหล่านี ได้แก่ ก. ระบบชักน้าดิบ (Intake system) ประกอบด้วย ท่อดูด (Suction pipe) เครื่องสูบน้าตบ (Raw water pump or low lift pump) ท่อส่งน้าดิบ (Raw water transmission pipe) ข. ระบบผลิต (Treatment system) ประกอบด้วย ถังผสมเร็ว (Rapid mixing tank) ถังท้าตะกอน (Flocculation tank) ถังตกตะกอน (Sedimentation tank) ถังกรอง (Filter) การฆ่าเชือโรค (Disinfection) ทุกหน่วยเบืองต้นนีจะมีขนาดอัตราผลิต 220 ลบ.ม./ชม. แต่โรงงานประปาบางแห่งซึ่งมีขนาดเล็กและบุคคลากรไม่เพียงพอที่จะดูแลระบบตลอด 24 ชั่วโมง อาจก้าหนดให้มีการผลิตเฉพาะใน ช่วงเวลาเช้าถึงเย็น หรือวันละ 8 - 10 ชั่วโมง (Daily pumping hours) ระบบผลิตจะมีขนาดใหญ่กว่าระบบผลิต 24 ชั่วโมง เช่นดังในตัวอย่างเบืองต้น ถ้าก้าหนดให้ผลิตน้าประปาวันละ 10 ชั่วโมง ดังนัน แต่ละหน่วยการผลิต (ตังใน ก. และ ข.) จะมีขนาด 5,200/10 หรือ 520 ลบ.ม.ต่อ ชั่วโมง (หมายเหตุ : การประปาในชนบทที่มีขนาดก้าลังผลิต 10 - 100 ลบ.ม. ต่อชั่วโมง นิยมออกแบบให้มี ชั่วโมงการผลิต 8 - 10 ชั่วโมงต่อวัน)
  • 22. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ส้าหรับขนาดความจุของถังน้าใส (Clear well) มักนิยมก้าหนดเป็นเปอร์เซนต์ของปริมาณการผลิตต่อวัน หรือเป็นระยะเวลาเก็บกัก (detention time) เช่น ก้าหนดให้ความจุของถังน้าใสมีค่า 60% ของปริมาณการใช้เฉลี่ยต่อวัน ดังนัน ถังน้าใสจะมีความจุ 0.60 x 3,450 = 2,070 ลบ.ม. หรือ ก้าหนดให้ระยะเวลาเก็บกักเท่ากับ 12 ชั่วโมงของปริมาณการผลิตต่อวันสูงสุด ถังน้าใสจะมีความจุ 12/24 x 5,200 = 2,600 ลบ.ม. การออกแบบขนาดความจุของถังสูง (Elevated tank) ก็ใช้หลักการเดียวกัน เช่นนิยมก้าหนดให้ความจุ ของถังสูงมีค่า 15 – 30 เปอร์เซนต์ ของปริมาณการใช้เฉลี่ยต่อวัน ขนาดความจุของถังสูงจากตัวอย่างจะอยู่ระหว่าง 0.15 - 0.30 เท่าของ 3,450 ลบ.ม. หรือมีความจุ ประมาณ 500 - 1,000 ลบ.ม. อย่างไรก็ตาม ส้าหรับการประปาขนาดใหญ่ซึ่งท่อจ่ายน้ามีความยาวมาก มักจะนิยมสูบน้าอัดเข้าท่อจ่าย น้าบริการโดยตรงมากกว่าที่จะจ่าย น้าจากถังสูง ซึ่งนอกจากความสูงของถังจะไม่พอเพียง ในทางปฏิบัติแล้วขนาด ของถังเก็บยังใหญ่มาก สินเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างอีกด้วย หอ ถังสูงจึงมักใช้กับการประปาขนาดเล็ก ที่มีระยะท่อจ่ายน้าสันและการใช้น้าในเวลากลางคืนน้อย ไม่คุ้มกับการเดินเครื่องสูบน้าตลอดเวลา หมายเหตุ : การออกแบบระบบการผลิตนีไม่ได้น้าเอาปริมาณการใช้น้าดับเพลิงมาค้านวณด้วย
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube