SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 3
ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น
(Basic of Flow Theorem)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คาศัพท์เฉพาะเบื้องต้นที่อธิบายถึงวิธีในการพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคของของไหล
o Streamline หมายถึง เส้นทางการเคลื่อนที่เฉลี่ยขณะใดขณะหนึ่งของของกลุ่มอนุภาคของไหลที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องกัน
ในสนามการไหล ซึ่งเส้น streamline จะสัมผัสกับทิศทางของความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคของของไหลเสมอ
o Streakline หมายถึง ภาพของกลุ่มอนุภาคของไหลที่กาลังเคลื่อนที่ในสนามการไหล
o Pathline หมายถึง แนวเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลเพียงอนุภาพเดียวในหนึ่งช่วงเวลา
รูป 1 ตัวอย่าง streamline streakline และ pathline ของการไหลผ่านหัวฉีดที่มีการส่าย
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1 การจาแนกประเภทของการไหล (Flow classification)
เนื่องจากคุณสมบัติหลายประการของของไหลสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อม (เช่น อุณหภูมิ ความ
ดัน เป็นต้น) และเวลา ในสภาพปัญหาหนึ่งๆ ถึงแม้การไหลจะเกิดขึ้นที่ตาแหน่งเดียวกัน แต่พฤติกรรมการไหลอาจไม่
เหมือนกัน ดังนั้นการวิเคราะห์จึงจาเป็นต้องคานึงถึงสมมติฐานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหานั้นๆ จากพฤติกรรมการไหลที่
แตกต่างกันนี้ เราสามารถแบ่งประเภทการไหลโดยพิจารณาได้จากหลายหลักเกณฑ์ แต่บทนี้จะกล่าวถึงการแบ่งประเภท
การไหลโดยพิจารณาใน 5 หลักเกณฑ์ดังนี้
o ของไหลจริง และของไหลจินตนาการ (Real Fluid and Ideal Fluid)
o พิจารณาจากคุณสมบัติในการบีบอัดของของไหล (Compressibility)
o พิจารณาจากการเปรียบเทียบกับเวลา
o พิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหล
o พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหล
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.1 ของไหลจริงและของไหลจินตนาการ
(Real Fluid and Ideal Fluid)
ในสนามการไหลของของไหลจริง (Real Fluid) จะมี
ผลกระทบจากความหนืด ซึ่งทาให้เกิดแรงเค้นเฉือนขึ้นระหว่าง
อนุภาคของของไหลเมื่ออนุภาคของของไหลมีความเร็วแตกต่าง
กัน ส่วนของไหลจินตนาการ (Ideal Fluid) เป็นการไหลที่
สมมติให้ของไหลไม่มีผลกระทบเนื่องจากความหนืด (การไหลที่
ไม่เกิดขึ้นจริง) ดังนั้นในสนามการไหลจะเกิดแรงเค้นเฉือน
ระหว่างของของไหล และความเร็วของอนุภาคของไหลจะ
เท่ากัน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.2 พิจารณาจากคุณสมบัติในการบีบอัดของของไหล (Compressibility)
หากของไหลอัดตัวได้ (Compressible Fluid) เคลื่อนที่ในสนามการไหลเมื่อความดันเปลี่ยนแปลง
ไปปริมาตรของของไหลจะเกิดการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์อัตราการไหลจึงมีความซับซ้อนมากขึ้น ดังรูปที่ (ก)
ในทางตรงกันข้าม หากของไหลอัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) เคลื่อนที่ในสนามการไหล ของไหลจะมี
ปริมาตรคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของความดัน ในการวิเคราะห์อัตราการไหลจะมีคามซับซ้อนน้อยลง ดัง
รูปที่ (ข) โดยส่วนมากของไหลมีสถานะเป็นของเหลว จะถือว่าของไหลนั้น ของไหลที่อัดตัวไม่ได้
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.3 พิจารณาจากการเปรียบเทียบกับเวลา
เมื่อพิจารณาที่จุดใดจุดหนึ่งในสนามการไหล
หากในช่วงเวลาที่วิเคราะห์ ค่าของตัวแปรต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะถือว่า การไหลนั้นไม่
แปรเปลี่ยนตามเวลา หรือที่เราเรียกว่า Steady Flow
ในทางตรงกันข้าม หากในช่วงเวลาที่วิเคราะห์ ค่าของ
ตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็น
ได้ชัด จะถือว่า การไหลนั้นแปรเปลี่ยนตามเวลา หรือ
เรียกว่า Unsteady Flow
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.4 พิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหล
หากพิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหลในสนามการไหล เรา
สามารถแบ่งประเภทการไหลเป็น 2 ลักษณะคือ
o การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) อนุภาคของไหลจะเคลื่อนที่อย่างเป็น
ระเบียบ ไปตามเส้นทางที่แน่นอน (เคลื่อนที่ไปตาม StreamLine) สภาพการไหล
ไม่มีความปั่นป่วน การไหลประเภทนี้มักจะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความ
หนืดสูง หรือการไหลที่มีความเร็วต่ามาก ๆ (รูปที่ ก)
o การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flow) อนุภาคของไหลเคลื่อนที่อย่างไม่เป็น
ระเบียบ อนุภาคของของไหลมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่แน่นอน สภาพการไหลใน
สนามมีความปั่นป่วน การไหลประเภทนี้มักเกิดกับของไหลที่มีความหนืดต่า หรือ
การไหลที่มีความสูง (รูปที่ ข)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1.5 พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหล
หากพิจารณาจากลักษณะของการเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหล สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ
o การไหลแบบหมุน (Rotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปพร้อมกับการหมุน
o การไหลแบบไม่หมุน (Irrotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปแต่ไม่มีการหมุนโดย
ส่วนมากในการวิเคราะหปัญหาเกี่ยวกับการไหลเป็นแบบ Irrotational Flow
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2 การวิเคราะห์การไหลด้วยวิธีปริมาตรควบคุม (Flow analysis with Control Volume method)
o ระบบ (System) : กลุ่มของอนุภาคของไหลที่เลือกทาการศึกษา มี
รูปพรรณสัณฐานที่เฉพาะเจาะจงและสามารถเคลื่อนที่ไปตาแหน่งใดก็ได้
o สิ่งแวดล้อม (Surrounding Volume) : สิ่งต่างๆ ที่ล้อมรอบอยู่ภายนอก
ระบบ
o ปริมาตรควบคุม (Control Volume) : ปริมาตรที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้ใน
การศึกษาพฤติกรรมของการไหลเข้าและไหลออก ในบริเวณที่
ทาการศึกษา
o ผิวของปริมาตรควบคุม (Control Surface) : พื้นที่ผิวของขอบเขตที่
ล้อมรอบปริมาตรควบคุม
ก่อนที่จะกล่าวถึงการวิเคราะห์ด้วยวิธีปริมาตรควบคุม จะต้องเข้าใจถึงศัพท์ทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ (Reynolds Transport Theorem)
ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ เป็นทฤษฎีพื้นฐานที่ใช้อธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของของไหลที่มีการ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติใดๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งบางครั้งทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์นี้ถูกเรียกว่า สมการการของการ
อนุรักษ์ทั่วไป (General Conservation Equation)
3.1 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับปริมาตรควบคุมที่ถูกจัดกัดทิศทางการไหลเข้าและออก
รูป การเคลื่อนที่ของระบบผ่านปริมาตรควบคุมที่มีการไหลทิศทางเดียว
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
3.2 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับใช้ปริมาตรควบคุมที่มีการไหลเข้าออกอย่างอิสระ
รูป การเคลื่อนที่ของระบบที่ผ่านปริมาตรควบคุมที่มีการไหลเข้าออก อย่างอิสระ
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
4 สมการกฎการอนุรักษ์มวล (Mass Conservation)
สมการ คือ สมการกฎการอนุรักษ์มวล (Mass Conservation) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สมการความต่อเนื่อง
(Continuity Equation)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ถ้าปริมาตรควบคุมเป็นแบบคงตัวปริมาตรคงที่ (Fix Control Volume) และถ้าหากการไหลเป็นการไหลแบบคงที่
(Steady Flow) ซึ่งหมายถึงการไหลที่คุณสมบัติของของไหลที่ตาแหน่งใด ๆ ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา ซึ่งทาให้ 𝜕∀𝐶𝑉
𝜕𝑡
= 0
ดังนั้นจะได้ว่า
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่างที่ 1 น้าและแอลกอฮอล์ ไหลมาผสมกันในท่อรูปตัว Y ลักษณะดังรูป
เมื่ออัตราการไหลของน้าและแอลกอฮอล์ เท่ากับ 0.1 cms และ 0.3 cms
ตามลาดับ จงหาความหนาแน่นของของเหลวที่ทางออก (SGAlcohol = 0.8)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 2 สปริงเกอร์ฉีดน้าด้วยอัตรา 1 I/s ดังรูป ที่ปลายทางออกของ
สปริงเกอร์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 mm รัศมี 100 mm จงหาความเร็วของน้าใน
อากาศ (V) ในขณะที่สปริงเกอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ (𝜔) 600 rpm
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 3 เข็มฉีดยาอันหนึ่ง แป้นกด (Plunger) มีขนาดพื้นที่ 500 ตร.มม.
ถ้าต้องการฉีดยาให้น้ายาไหลออกในอัตรา 300 cc/min จงหาความเร็วในการกดแป้น
โดยสมมติให้มีการรั่วไหลของตัวยารอบแป้นกดเท่ากับ 0.1 เท่าของอัตราที่ไหลออก
ทางปลายเข็ม
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ตัวอย่าง 4 โรงบาบัดน้าเสียแห่งหนึ่งต้องการบาบัดน้าผ่านอ่างตกตะกอน โดยน้าเสียที่ต้องการบาบัดที่จะไหลเข้าสู่อ่าง
ตกตะกอน มีปริมาณ 500 ลิตร/นาที ค่าความถ่วงจาเพาะ 1.0015 หลังจากผ่านการตกตะกอนน้าเสียมีค่าความถ่วงจาเพาะ
เท่ากับ 1.0012 ซึ่งจะไหลออกผ่านฝายน้าล้นที่ทางออก เนื่องระดับน้าภายในอ่างค่อนข้างคงที่จึงประมาณได้ว่าอัตราการ
ไหลออกจากอ่างค่อนข้างคงที่ จากการตรวจวัดตะกอนที่ก้นอ่าง ค่าความถ่วงจาเพาะมีค่าเท่ากับ 1.6552 จะต้องใช้เวลานาน
เท่าไรกว่าที่ตะกอนจะเต็มอ่างพอดี (ปริมาณตะกอนถึงระดับสูงสุด)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

What's hot

ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดChanthawan Suwanhitathorn
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยAJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
บทที่ 6 ระบบทรายกรองเร็ว (Rapid Sand Filtration)
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิปบทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
บทที่ 4 การเติมอากาศ (Aeration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิปบทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 6 การไหลในทางน้ำเปิด Open Channel Flow + คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSSpellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSAnaAcapella
 
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdf
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdfUGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdf
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdfNirmal Dwivedi
 
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdfSimple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdfstareducators107
 
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lesson
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lessonQUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lesson
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lessonhttgc7rh9c
 
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan FellowsOn National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan FellowsMebane Rash
 
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptxOn_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptxPooja Bhuva
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSCeline George
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Pooja Bhuva
 
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learning
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learningdusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learning
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learningMarc Dusseiller Dusjagr
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxJisc
 
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)Jisc
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfPondicherry University
 
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptxJoelynRubio1
 
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17Celine George
 
FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024Elizabeth Walsh
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsSandeep D Chaudhary
 
Understanding Accommodations and Modifications
Understanding  Accommodations and ModificationsUnderstanding  Accommodations and Modifications
Understanding Accommodations and ModificationsMJDuyan
 
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptxPANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptxakanksha16arora
 
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf artsTatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf artsNbelano25
 

Recently uploaded (20)

Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPSSpellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
Spellings Wk 4 and Wk 5 for Grade 4 at CAPS
 
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdf
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdfUGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdf
UGC NET Paper 1 Unit 7 DATA INTERPRETATION.pdf
 
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdfSimple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
 
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lesson
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lessonQUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lesson
QUATER-1-PE-HEALTH-LC2- this is just a sample of unpacked lesson
 
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan FellowsOn National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
 
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
OS-operating systems- ch05 (CPU Scheduling) ...
 
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptxOn_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
 
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learning
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learningdusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learning
dusjagr & nano talk on open tools for agriculture research and learning
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
 
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
 
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
 
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
How to Add a Tool Tip to a Field in Odoo 17
 
FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
 
Understanding Accommodations and Modifications
Understanding  Accommodations and ModificationsUnderstanding  Accommodations and Modifications
Understanding Accommodations and Modifications
 
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptxPANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
 
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf artsTatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
 

บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)

  • 1. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น (Basic of Flow Theorem)
  • 2. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คาศัพท์เฉพาะเบื้องต้นที่อธิบายถึงวิธีในการพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคของของไหล o Streamline หมายถึง เส้นทางการเคลื่อนที่เฉลี่ยขณะใดขณะหนึ่งของของกลุ่มอนุภาคของไหลที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องกัน ในสนามการไหล ซึ่งเส้น streamline จะสัมผัสกับทิศทางของความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคของของไหลเสมอ o Streakline หมายถึง ภาพของกลุ่มอนุภาคของไหลที่กาลังเคลื่อนที่ในสนามการไหล o Pathline หมายถึง แนวเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหลเพียงอนุภาพเดียวในหนึ่งช่วงเวลา รูป 1 ตัวอย่าง streamline streakline และ pathline ของการไหลผ่านหัวฉีดที่มีการส่าย
  • 4. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1 การจาแนกประเภทของการไหล (Flow classification) เนื่องจากคุณสมบัติหลายประการของของไหลสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อม (เช่น อุณหภูมิ ความ ดัน เป็นต้น) และเวลา ในสภาพปัญหาหนึ่งๆ ถึงแม้การไหลจะเกิดขึ้นที่ตาแหน่งเดียวกัน แต่พฤติกรรมการไหลอาจไม่ เหมือนกัน ดังนั้นการวิเคราะห์จึงจาเป็นต้องคานึงถึงสมมติฐานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหานั้นๆ จากพฤติกรรมการไหลที่ แตกต่างกันนี้ เราสามารถแบ่งประเภทการไหลโดยพิจารณาได้จากหลายหลักเกณฑ์ แต่บทนี้จะกล่าวถึงการแบ่งประเภท การไหลโดยพิจารณาใน 5 หลักเกณฑ์ดังนี้ o ของไหลจริง และของไหลจินตนาการ (Real Fluid and Ideal Fluid) o พิจารณาจากคุณสมบัติในการบีบอัดของของไหล (Compressibility) o พิจารณาจากการเปรียบเทียบกับเวลา o พิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหล o พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหล
  • 5. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.1 ของไหลจริงและของไหลจินตนาการ (Real Fluid and Ideal Fluid) ในสนามการไหลของของไหลจริง (Real Fluid) จะมี ผลกระทบจากความหนืด ซึ่งทาให้เกิดแรงเค้นเฉือนขึ้นระหว่าง อนุภาคของของไหลเมื่ออนุภาคของของไหลมีความเร็วแตกต่าง กัน ส่วนของไหลจินตนาการ (Ideal Fluid) เป็นการไหลที่ สมมติให้ของไหลไม่มีผลกระทบเนื่องจากความหนืด (การไหลที่ ไม่เกิดขึ้นจริง) ดังนั้นในสนามการไหลจะเกิดแรงเค้นเฉือน ระหว่างของของไหล และความเร็วของอนุภาคของไหลจะ เท่ากัน
  • 6. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.2 พิจารณาจากคุณสมบัติในการบีบอัดของของไหล (Compressibility) หากของไหลอัดตัวได้ (Compressible Fluid) เคลื่อนที่ในสนามการไหลเมื่อความดันเปลี่ยนแปลง ไปปริมาตรของของไหลจะเกิดการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์อัตราการไหลจึงมีความซับซ้อนมากขึ้น ดังรูปที่ (ก) ในทางตรงกันข้าม หากของไหลอัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) เคลื่อนที่ในสนามการไหล ของไหลจะมี ปริมาตรคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของความดัน ในการวิเคราะห์อัตราการไหลจะมีคามซับซ้อนน้อยลง ดัง รูปที่ (ข) โดยส่วนมากของไหลมีสถานะเป็นของเหลว จะถือว่าของไหลนั้น ของไหลที่อัดตัวไม่ได้
  • 7. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.3 พิจารณาจากการเปรียบเทียบกับเวลา เมื่อพิจารณาที่จุดใดจุดหนึ่งในสนามการไหล หากในช่วงเวลาที่วิเคราะห์ ค่าของตัวแปรต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะถือว่า การไหลนั้นไม่ แปรเปลี่ยนตามเวลา หรือที่เราเรียกว่า Steady Flow ในทางตรงกันข้าม หากในช่วงเวลาที่วิเคราะห์ ค่าของ ตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็น ได้ชัด จะถือว่า การไหลนั้นแปรเปลี่ยนตามเวลา หรือ เรียกว่า Unsteady Flow
  • 8. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.4 พิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคของไหล หากพิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหลในสนามการไหล เรา สามารถแบ่งประเภทการไหลเป็น 2 ลักษณะคือ o การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) อนุภาคของไหลจะเคลื่อนที่อย่างเป็น ระเบียบ ไปตามเส้นทางที่แน่นอน (เคลื่อนที่ไปตาม StreamLine) สภาพการไหล ไม่มีความปั่นป่วน การไหลประเภทนี้มักจะเกิดกับการไหลของของไหลที่มีความ หนืดสูง หรือการไหลที่มีความเร็วต่ามาก ๆ (รูปที่ ก) o การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flow) อนุภาคของไหลเคลื่อนที่อย่างไม่เป็น ระเบียบ อนุภาคของของไหลมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่แน่นอน สภาพการไหลใน สนามมีความปั่นป่วน การไหลประเภทนี้มักเกิดกับของไหลที่มีความหนืดต่า หรือ การไหลที่มีความสูง (รูปที่ ข)
  • 9. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.5 พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนตัวของอนุภาคของไหล หากพิจารณาจากลักษณะของการเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหล สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ o การไหลแบบหมุน (Rotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปพร้อมกับการหมุน o การไหลแบบไม่หมุน (Irrotational Flow) คือการไหลที่อนุภาคของของไหลเคลื่อนที่ไปแต่ไม่มีการหมุนโดย ส่วนมากในการวิเคราะหปัญหาเกี่ยวกับการไหลเป็นแบบ Irrotational Flow
  • 10. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2 การวิเคราะห์การไหลด้วยวิธีปริมาตรควบคุม (Flow analysis with Control Volume method) o ระบบ (System) : กลุ่มของอนุภาคของไหลที่เลือกทาการศึกษา มี รูปพรรณสัณฐานที่เฉพาะเจาะจงและสามารถเคลื่อนที่ไปตาแหน่งใดก็ได้ o สิ่งแวดล้อม (Surrounding Volume) : สิ่งต่างๆ ที่ล้อมรอบอยู่ภายนอก ระบบ o ปริมาตรควบคุม (Control Volume) : ปริมาตรที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้ใน การศึกษาพฤติกรรมของการไหลเข้าและไหลออก ในบริเวณที่ ทาการศึกษา o ผิวของปริมาตรควบคุม (Control Surface) : พื้นที่ผิวของขอบเขตที่ ล้อมรอบปริมาตรควบคุม ก่อนที่จะกล่าวถึงการวิเคราะห์ด้วยวิธีปริมาตรควบคุม จะต้องเข้าใจถึงศัพท์ทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์
  • 11. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ (Reynolds Transport Theorem) ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ เป็นทฤษฎีพื้นฐานที่ใช้อธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของของไหลที่มีการ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติใดๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งบางครั้งทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์นี้ถูกเรียกว่า สมการการของการ อนุรักษ์ทั่วไป (General Conservation Equation) 3.1 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับปริมาตรควบคุมที่ถูกจัดกัดทิศทางการไหลเข้าและออก รูป การเคลื่อนที่ของระบบผ่านปริมาตรควบคุมที่มีการไหลทิศทางเดียว
  • 12. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 13. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 14. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 15. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 3.2 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับใช้ปริมาตรควบคุมที่มีการไหลเข้าออกอย่างอิสระ รูป การเคลื่อนที่ของระบบที่ผ่านปริมาตรควบคุมที่มีการไหลเข้าออก อย่างอิสระ
  • 16. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 17. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 18. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 19. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4 สมการกฎการอนุรักษ์มวล (Mass Conservation) สมการ คือ สมการกฎการอนุรักษ์มวล (Mass Conservation) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สมการความต่อเนื่อง (Continuity Equation)
  • 20. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ถ้าปริมาตรควบคุมเป็นแบบคงตัวปริมาตรคงที่ (Fix Control Volume) และถ้าหากการไหลเป็นการไหลแบบคงที่ (Steady Flow) ซึ่งหมายถึงการไหลที่คุณสมบัติของของไหลที่ตาแหน่งใด ๆ ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา ซึ่งทาให้ 𝜕∀𝐶𝑉 𝜕𝑡 = 0 ดังนั้นจะได้ว่า
  • 21. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่างที่ 1 น้าและแอลกอฮอล์ ไหลมาผสมกันในท่อรูปตัว Y ลักษณะดังรูป เมื่ออัตราการไหลของน้าและแอลกอฮอล์ เท่ากับ 0.1 cms และ 0.3 cms ตามลาดับ จงหาความหนาแน่นของของเหลวที่ทางออก (SGAlcohol = 0.8)
  • 22. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 23. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 2 สปริงเกอร์ฉีดน้าด้วยอัตรา 1 I/s ดังรูป ที่ปลายทางออกของ สปริงเกอร์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 mm รัศมี 100 mm จงหาความเร็วของน้าใน อากาศ (V) ในขณะที่สปริงเกอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ (𝜔) 600 rpm
  • 24. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 25. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 26. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 3 เข็มฉีดยาอันหนึ่ง แป้นกด (Plunger) มีขนาดพื้นที่ 500 ตร.มม. ถ้าต้องการฉีดยาให้น้ายาไหลออกในอัตรา 300 cc/min จงหาความเร็วในการกดแป้น โดยสมมติให้มีการรั่วไหลของตัวยารอบแป้นกดเท่ากับ 0.1 เท่าของอัตราที่ไหลออก ทางปลายเข็ม
  • 27. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 28. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 29. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตัวอย่าง 4 โรงบาบัดน้าเสียแห่งหนึ่งต้องการบาบัดน้าผ่านอ่างตกตะกอน โดยน้าเสียที่ต้องการบาบัดที่จะไหลเข้าสู่อ่าง ตกตะกอน มีปริมาณ 500 ลิตร/นาที ค่าความถ่วงจาเพาะ 1.0015 หลังจากผ่านการตกตะกอนน้าเสียมีค่าความถ่วงจาเพาะ เท่ากับ 1.0012 ซึ่งจะไหลออกผ่านฝายน้าล้นที่ทางออก เนื่องระดับน้าภายในอ่างค่อนข้างคงที่จึงประมาณได้ว่าอัตราการ ไหลออกจากอ่างค่อนข้างคงที่ จากการตรวจวัดตะกอนที่ก้นอ่าง ค่าความถ่วงจาเพาะมีค่าเท่ากับ 1.6552 จะต้องใช้เวลานาน เท่าไรกว่าที่ตะกอนจะเต็มอ่างพอดี (ปริมาณตะกอนถึงระดับสูงสุด)
  • 30. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 31. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 32. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 33. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube