SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา
(Sanitary Engineering and Water Supply)
บทที่ 2 คุณภาพของน้า (Water Quality)
Sanitary Engineering and Water Supply
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
บทที่ 2
คุณภาพของน้า (Water Quality)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ลักษณะทั่วไปของน้าดิบ (Raw Water Characteristics)
น้าผิวดิน (Surface Water) น้าบาดาล (Ground Water)
น้าทะเล
(Sea Water)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติของน้า (Water Quality)
คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Quality)
คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Quality)
คุณสมบัติทางแบกทีเรีย (Bacteriological Quality)
คุณสมบัติทางกัมมันตภาพรังสี
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard)
ตาราง Guideline Values For Drinking-Water Quality (WHO, 1984)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard)
ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard)
ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard)
ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard)
ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Quality)
ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids)
ความขุ่น (Turbidity)
สี (Color)
กลิ่นและรส (Odor and Taste)
อุณหภูมิ (Temperature)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids)
ตาราง สิ่งปนเปื้อนในน้าธรรมชาติและผลกระทบที่เกิดจากคุณภาพน้า
Sanitary Engineering and Water Supply
ตาราง สิ่งปนเปื้อนในน้าธรรมชาติและผลกระทบที่เกิดจากคุณภาพน้า
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
การทราบค่าความขุ่นจะช่วยในการ
พิจารณาเลือกระบบการผลิตน้าประปา การ
หาปริมาณสารส้มที่ใช้ในการตกตะกอน ใช้
บอกประสิทธิภาพของเครื่องกรอง เป็นต้น
น้าผิวดินจะมีค่าความขุ่นในช่วงกว้าง เช่น
น้าแม่น้าในฤดูแล้งอาจมีความขุ่น 40 - 60
หน่วย แต่ในฤดูฝนความขุ่นจะสูงเป็นหลาย
ร้อยหน่วย ความขุ่นขนาด 5 หน่วยอาจ
สังเกตเห็นได้ด้วยตาจึงใช้ค่าความขุ่นนีเป็น
เกณฑ์มาตรฐานของน้าดื่มทั่วไป
ความขุ่น (Turbidity)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สี (Color)
สีที่เกิดจากสารแขวนลอยไม่ละลายน้า เรียกว่า สีเทียม
(apparent color) ถ้ามีสารเหล่านีอยู่จะต้องน้าไปแยกออกก่อน
โดยวิธีเหวี่ยง (centrifuge) แล้วจึงน้าไปวัดสีแท้ (true color)
การทราบปริมาณของสีจะท้าให้รู้ถึงสิ่งเจือปน และแสดงให้
เห็นว่าน้านันน่าดื่มน่าใช้หรือไม่ นอกจากนี การวัดสีจริงยัง
สามารถดัดแปลงเป็นวิธีวัดสารฮิวมิคในน้าได้ด้วย น้าในอ่างเก็บ
น้าที่มีสาหร่ายตะไคร่น้าอุดมสมบูรณ์อาจมีสีถึง 50 หน่วย แต่
น้าประปาไม่ควรมีสีเกิน 5 หน่วย
Sanitary Engineering and Water Supply
กลิ่นและรส (Odor and Taste)
การวัดกลิ่นมักใช้วิธีดมน้าตัวอย่างดูโดยตรง ถ้ามีกลิ่นแล้วให้เขียนระบุไว้ในตาราง เช่น กลิ่นโคลน กลิ่นคาว กลิ่น
เหม็น กลิ่นของน้าอาจวัดออกมาเป็นหน่วยได้เรียกว่า Threshold odor number (TON) โดยการเอาน้าตัวอย่างมา
จ้านวนหนึ่ง ซึ่งเมื่อเจือจางด้วยน้าที่ปราศจากกลิ่นจนได้ปริมาตร 200 มล. แล้วทดลองให้ผู้ทดสอบประมาณ 5-10 คน
ดมดู ถ้าไม่มีกลิ่นก็สามารถค้านวณค่า TON จากสูตร ดังนี
TON =
𝐴+𝐵
𝐴
A คือ ปริมาตรน้าตัวอย่างที่มากที่สุด ซึ่งเมื่อเจือจางแล้วดมไม่ได้กลิ่น (มล.)
B คือ ปริมาตรน้าที่ปราศจากกลิ่นที่น้ามาเจือจางน้าตัวอย่างให้มีปริมาตร 200 มล.
ตาราง ค่า Threshold odor number จากการเจือจางตัวอย่างน้าจนได้ปริมาตร 200 มล.
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
กลิ่นและรส (Odor and Taste)
รสของน้าอาจแบ่งได้เป็น 4 อย่าง คือ เปรียว เค็ม
หวาน และขม การรู้รสขึนอยู่กับต่อมลินของแต่ละ
บุคคล ดังนัน การวัดปริมาณรสจึงไม่อาจกระท้าได้ การ
ประปาบางแห่งใช้วิธีทดสอบโดยให้เจ้าหน้าที่จ้านวน
หนึ่งชิมรสของน้าแล้วรายงานผล ซึ่งก็อาจพอทราบรส
ของน้าได้จากความเห็นที่เป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่มีเกณฑ์วัด
ที่เป็นมาตรฐานก้าหนดไว้
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
อุณหภูมิ (Temperature)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Quality)
ปริมาณของแข็งละลายน้า
คุณสมบัติทางเคมี
ที่มีผลเกี่ยวกับ pH
ความกระด้าง
สารอาหารของพืช
โลหะที่ไม่เป็นพิษ
เกลืออนินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษ
โลหะที่เป็นพิษ
สารอินทรีย์
ไซยาไนด์
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ปริมาณของแข็งละลายน้า (Total Dissolved Solids)
คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH pH
ค่าที่ใช้วัดความเข้มข้นของอนุมูลไฮโดรเจนอิสระในน้า (H+) เพราะไม่ว่าจะเป็นน้าหรือสารละลายเคมีอื่นๆ เมื่อ
ละลายในน้าจะแตกตัว (ionize) มากน้อยขึนกับคุณสมบัติของสารนัน ส้าหรับน้าบริสุทธิ์จะแตกตัวให้ประจุ H+ และ
OH- (อนุมูลไฮดรอกซีล) แต่มีปริมาณน้อยมาก เช่น ในน้าบริสุทธิ์จะมี H+ อยู่ 10-7 โมล/ลิตร เพื่อความสะดวกและ
ชัดเจนในการใช้งานหรือเปรียบเทียบ จึงใช้เป็นค่า pH (positive potential of the hydrogen ions)
pH = - log [H+]
นั่นคือในน้าบริสุทธิ์ ซึ่งมี [H+] = [OH-] = 10-7 โมล/ลิตร จะมี pH = 7 ซึ่งหมายถึงสารละลายที่เป็นกลาง (neutral
solution)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
pH Indicator
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(Carbon Dioxide, CO2)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความเป็นกรด (Acidity)
ความเป็นกรดของน้าคือความสามารถของน้าที่จะให้อนุมูลไฮโดรเจน (H+) หรือได้แก่ปริมาณของกรดที่มี
อยู่ในน้าธรรมชาติ เช่น กรดคาร์บอนิค กรดอินทรีย์ที่เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ กรดแทนนิค กรด
แร่ และเกลือของเหล็กกับอลูมิเนียม
• ความเป็นกรดเนื่องจาก CO2
(CO2 acidity)
• ความเป็นกรดเนื่องจาก กรดแร่
(Mineral acidity)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความเป็นด่าง (Alkalinity)
ความเป็นด่าง หมายถึง ความสามารถที่จะรับอนุมูล H+
หรือคือความสามารถของน้าที่จะสะเทินกรดแก่จนถึง pH ที่
ก้าหนดไว้ ความเป็นด่างของน้าตามธรรมชาติมักเกิดจาก
คาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต ไฮดรอกซิล บอเรต (H2BO3
-)
ฟอสเฟต (HP4
-2, H2, PO4
-, ) ซิลิเกต (SiO3
-2) ซัลไฟด์ (HS-)
และแอมโมเนีย (NH3) โดยละลายออกมาจากชันดิน หินและ
บรรยากาศลงสู่แหล่งน้า เกลือฟอสเฟตจะมาจากผงซักฟอก
หรือปุ๋ย หรือแม้แต่สารเคมีปราบศัตรูพืชที่ใช้ในการเกษตร
ส้าหรับไฮโดรเจนซัลไฟด์และแอมโมเนียอาจมาจากการย่อย
สลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความกัดกร่อน (Corrosive)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ความกระด้าง (Hardness)
ความกระด้าง หมายถึง ความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ +2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2)
แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทังเหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3)
โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความกระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2 และ Mg+2
ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมีหน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียมคาร์บอเนต
ความกระด้างแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ความกระด้างเนื่องจากคาร์บอเนต หรือ Carbonate Hardness คือความกระด้างของเกลือ CO3
-2 และ
HCO3 เช่น CaCO3, Mg(HCO3)2 พวกนีสามารถก้าจัดได้โดยการต้ม จึงเรียกอีกชื่อว่า ความกระด้างชั่วคราว หรือ
Temporary Hardness
2. ความกระด้างที่ไม่ได้เกิดจากคาร์บอเนต หรือ Non-Carbonate Hardness คือ ความกระด้างของเกลืออื่นๆ
ซึ่งไม่ใช่คาร์บอเนต เช่น CaSO4. MgCI2, Ca(NO3)2 เนื่องจากไม่สามารถก้าจัดได้โดยการต้ม จึงเรียกว่า ความ
กระด้างถาวร หรือ Permanent Hardness
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
น้าจากแหล่งต่างๆ จะมีความกระด้างไม่เท่ากัน อาจแบ่งระดับความกระด้างตามปริมาณแคลเซียม
คาร์บอเนตได้ ดังนี
น้าอ่อน 0-50 มก./ล. CaCO3
น้าอ่อนปานกลาง 50-100 มก./ล. CaCO3
น้ากระด้างเล็กน้อย 100-150 มก./ล. CaCO3
น้ากระด้างปานกลาง 150-200 มก./ล. CaCO3
น้ากระด้าง 200-300 มก./ล. CaCO3
น้ากระด้างมาก มากกว่า 300 มก./ล. CaCO3
น้าผิวดินจะมีความกระด้างในช่วง 80-100 มก./ล. CaCO3 ในขณะที่น้าใต้ดินจะมีความกระด้างสูงกว่า
น้าผิวดิน น้าประปาควรมีความกระด้างประมาณ 50-80 มก./ล. CaCO3 ซึ่งจะท้าให้น้ามีรสชาติดี และล้าง
สบู่ในเวลาอาบน้าได้ง่ายขึน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้า
ปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือตกตะกอนดังสมการ จึงต้องใช้สบู่
เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง
ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก
CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรันพวกนีจะท้าตัวเป็นฉนวนท้าให้
สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้
ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็น
ประจ้า
ข้อเสีย
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ก. น้ากระด้างจะมีรสชาติน่าดื่มมากกว่าน้าอ่อน
ข. น้าอ่อนไม่เหมาะที่จะใช้เป็นน้าประปา เพราะจะมีฤทธิ์กัดกร่อนตะกั่วที่ใช้ท้า
ท่อน้า การใช้น้ากระด้างในน้าประปาจะท้าให้เกิด PbCO2 หุ้มผิวท่อภายใน
ตะกั่วจึงไม่ละลายออกมา
ค. จากสถิติทางแพทย์พบว่า ผู้บริโภคน้าอ่อนจะมีโอกาสป่วยด้วยโรคหัวใจ
(Cardio-Vascular disease) สูงกว่าผู้บริโภคน้ากระด้าง
ข้อดี
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สารอาหารของพืช (Nutrients)
พืชต้องการแร่ธาตุและสารอาหารหลายชนิดส้าหรับการเจริญเติบโต
และขยายพันธุ์ สารบางชนิดต้องการในปริมาณที่น้อยมาก เรียกว่า trace
elements เช่น เหล็ก ทองแดง สังกะสี ในขณะที่สารบางอย่างต้องการใน
ปริมาณมาก ได้แก่ คาร์บอน ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ส่วนไนโตรเจน
และฟอสฟอรัสในรูปที่พืชสามารถน้าไปใช้ได้มักจะพบในปริงมาณน้อยจน
กลายเป็นปัจจัยที่จ้ากัดส้าหรับการเจริญเติบโตของพืชน้าต่างๆ
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
เนื่องจากไนโตรเจนมีหลายวาเลนซี่ด้วยกันจึงเกิดสารประกอบได้หลาย
อย่างในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงรูปของสารประกอบไนโตรเจนนี ในวัฏ
จักรของไนโตรเจนหรือ nitrogen cycle ซึ่งจะพบว่าสารประกอบไนโตรเจน
ที่มีบทบาทในแหล่งน้าธรรมชาติ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
ก. สารประกอบอินทรีย์ไนโตรเจน (organic nitrogen
compound) คือสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นองค์ประกอบหรือโครงสร้าง
ของพืชและสัตว์ สิ่งขับถ่ายจากสัตว์ซากเน่าเปื่อยและสารจากการย่อยสลาย
ซากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ โปรตีน คลอโรฟิลล์ กรดอมิโนยูเรียและกรดยูริค
ข. สารประกอบอนินทรีย์ไนโตรเจน (inorganic nitrogen
compound) ได้แก่ แอมโมเนีย (NH3) ไนไตรท์ (NO2
-) และไนเตรท (NO3
-)
สารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen compounds)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่ง
เกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบอินทรีย์ไนโตรเจนจะถูก
ย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึน
ตามเวลาและระยะทางที่น้าไหลล่อง (รูปที่ 2.5) ในสมัยก่อนเคยใช้
ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้าปรากฏว่ามี
แอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของ
เสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่าตัวอื่นหรือมากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านัน
เคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะ
สารอินทรีย์ถูกย่อยสลายไปหมดแล้ว
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า
ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อยสลายอย่างรวดเร็ว
ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจนละลายน้าลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1
มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า
ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา และก่อปัญหาถ้า
ส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไนไตรท์และไนเตรทได้ แอมโมเนีย
จะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง
ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินใน
เม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้สารประกอบสีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและ
เสียชีวิต อาการเช่นนีเรียกว่า Blue baby syndrome หรือ Methemoglobinemia
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สารประกอบฟอสฟอรัสมีความส้าคัญต่อสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นองค์ประกอบหลักของสารรับ-ส่งพลังงานในเซล
สิ่งมีชีวิต และยังเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสารพันธุกรรม อันได้แก่ DNA และ RNA สารประกอบฟอสฟอรัสที่พบใน
ธรรมชาติแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่ ออโธฟอสเฟต (orthophosphate) มักใช้เป็นปุ๋ย
และ condensed phosphate (pyro-, meta- และ polyphosphate) เช่น STPP (Sodium
tripolyphosphate) ที่ใช้เป็นสารลดความกระด้างในสารซักฟอก หรือ complex phosphate ที่เติมในหม้อไอน้า
เพื่อป้องกันการเกิดตะกรันอันจะท้าให้หม้อน้าระเบิดได้ ประเภทที่ 2 คือ สารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟต ส่วนใหญ่ได้
จากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ
สารประกอบฟอสฟอรัส (Phosphorus compound)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
โลหะที่ไม่เป็นพิษ (Non-toxic Metals)
แคลเซียมและแมกนีเซียม
(Calcium-Ca and Magnesium - Mg)
เหล็ก (Iron-Fe)
โซเดียม (sodium-Na)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
เกลืออนินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษ (Non-toxic salts)
ไบคาร์บอเนตและคาร์บอเนต
(Bicarbonate-HCO3
-, Carbonate-CO3
=)
คลอไรด์ (Chloride-CI-)
ซัลเฟต (Sulfate-SO4
=)
ฟลูออไรด์ (Fluoride-F-)
ซิลิกา (Silica-SiO2)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ตาราง มาตรฐานฟลูออไรด์ในน้าดื่ม ณ อุณหภูมิต่างๆ ของบรรยากาศตามข้อก้าหนดของ EPA
ฟลูออไรด์ (Fluoride-F-)
Sanitary Engineering and Water Supply
โลหะที่เป็นพิษ
สารหนู (Arsenic, As)
ตะกั่ว (Lead-Pb)
แมงกานีส (Manganese-Mn)
ปรอท (Mercury-Hg)
แคดเมียม (Cadmium-Cd)
ทองแดง (Copper-Cu)
สังกะสี (Zinc-Zn)
อลูมิเนียม (Aluminium-AI)
เซเลเนียม (Selenium-Se)
โครเมียม (Chromium-Cr)
แบเรียม (Barium-Ba)
เงิน (Silver-Ag)
สารหนู (Arsenic, As)
ตะกั่ว (Lead-Pb)
แมงกานีส (Manganese-Mn)
ปรอท (Mercury-Hg)
แคดเมียม (Cadmium-Cd)
ทองแดง (Copper-Cu)
สังกะสี (Zinc-Zn)
อลูมิเนียม (Aluminium-AI)
เซเลเนียม (Selenium-Se)
โครเมียม (Chromium-Cr)
แบเรียม (Barium-Ba)
สารหนู (Arsenic, As)
ตะกั่ว (Lead-Pb)
แมงกานีส (Manganese-Mn)
ปรอท (Mercury-Hg)
แคดเมียม (Cadmium-Cd)
ทองแดง (Copper-Cu)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สารอินทรีย์ที่ไม่เสถียร (unstable) จะถูกย่อยสลายได้ (biodegradable) ด้วยจุลินทรีย์ที่อยู่ในน้า และออกซิเจน
จะถูกใช้ในปฏิกิริยา สารอินทรีย์ที่ละลายน้าเหล่านีประกอบด้วย แป้ง ไขมัน โปรตีน แอลกอฮอล์ กรด อัลดีไฮด์
และเอสเทอร์ ซึ่งมาจากการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ที่ตกลงในแหล่งน้า หรือมีที่มาจากน้าเสียชุมชน น้าเสีย
อุตสาหกรรม และน้าเสียจากการเกษตร สารอินทรีย์เหล่านีมักท้าให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับสี ความขุ่น กลิ่นและรสของน้า
เราใช้ค่า บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand - BOD) เป็นตัววัดปริมาณสารอินทรีย์ดังกล่าวข้างต้น
เพราะบีโอดีเป็นค่าปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยปกติใช้ส้าหรับวัดปริมาณความเน่า
เสียของน้าโสโครก แต่ก็เป็นเครื่องชีให้เห็นถึงความสกปรกของแหล่งน้า เช่น แม่น้า ล้าคลอง ได้เช่นกัน เพราะถ้าค่า
บีโอดีสูงแสดงว่าแหล่งน้านันสกปรกหรือน้าเน่าเสีย ออกซิเจนจะหมดไปอย่างรวดเร็วเป็นอันตรายต่อสัตว์และพืชน้า
แหล่งน้าส้าหรับท้าน้าประปาไม่ควรมีบีโอดีเกินกว่า 4 มก./ล.
สารอินทรีย์ (Organic Compounds)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สารอินทรีย์ (Organic Compounds)
สารซักล้าง (Detergents)
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจากการฆ่าเชือด้วยคลอรีน
(Chlorination Hydrocarbon)
สารปราบศัตรูพืช (Pesticides)
ฟีนอล (Phenol)
สารอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile organic chemicals - VOCs)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
สารปราบศัตรูพืช (Pesticides)
ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท
ก. สารปราบศัตรูพืชที่มีคลอรีน (Chlorinated pesticides, Chlorinated hydrocarbon) เป็นสารปราบศัตรูพืชที่
สังเคราะห์ขึนมาใช้เป็นประเภทแรก ที่รู้จักกันดีคือ ดีดีที มีชื่อเต็มว่า 2,2-bis(p-chlorophenyl)-1,1,1- trichloroethane
ออกฤทธิ์โดยการสัมผัส มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางของแมลง ท้าให้แมลงสงบลงและตายในที่สุด ละลายน้าได้น้อยมาก
จนอาจกล่าวได้ว่าไม่ละลายน้า แต่ละลายได้ดีในน้ามันไขมัน สลายตัวได้ช้ามาก
ข. สารปราบศัตรูพืชที่มีฟอสฟอรัส (Organic Phosphorus Pesticides, Organophosphates) สารประกอบอินทรีย์
ฟอสเฟตมีฤทธิ์ต่อระบบประสาท สามารถฆ่าทังแมลงและสัตว์ได้ และมีพิษร้ายแรงกว่าสารประกอบอินทรีย์คลอรีน แต่ไม่
เสถียร จึงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น พาราไทออน ทีอีพีพี ฟอสตริน ฯลฯ
ค. คาร์บาเมต (Carbamates) เป็นสารปราบศัตรูพืชที่สังเคราะห์ขึนมาหลังสุด มีฤทธิ์เหมือนกับสารประกอบออกาโน
ฟอสเฟต แต่โดยทั่วไปมีพิษน้อยกว่า และไม่คงตัวในสิ่งแวดล้อม จึงไม่ค่อยตกค้างให้ตรวจพบ เช่น คาร์บาริล ทิมิค
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
ไซยาไนด์ที่ปนเปื้อนในแหล่งน้าส่วนใหญ่มาจากน้าเสีย
โรงงานชุบโลหะไซยาไนด์ ส่วนใหญ่ย่อยสลายได้ด้วยขบวนการ
ชีววิทยา แต่ควรก้าจัดด้วยวิธีเคมีก่อนปล่อยน้าทิงลงสู่แม่น้าล้า
คลอง ในกรณีที่เกิดมีไซยาไนด์ปรากฏในแม่น้า ปลาจะแสดง
อาการให้เห็นเร็วมาก เพราะไซยาไนด์มีผลต่อระบบหายใจ
มาตรฐานน้าดื่มขององค์การอนามัยโลกก้าหนดให้มีได้ไม่
เกิน 0.1 มก./ล.ในขณะที่มาตรฐานน้าดื่มในประเทศไทย
ก้าหนดในช่วง 0.01 -0.2 มก./ล.
ไซยาไนด์ (Cyanide-CN-)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางแบกทีเรีย (Bacteriological Quality)
เมื่อกล่าวถึงคุณภาพน้าทางแบกทีเรีย ผลที่เกิดจาก
ข้อบกพร่องของคุณภาพน้าในด้านนีมักจะเห็นได้โดยตรง
จากการเกิดโรคต่างๆ ที่มีน้าเป็นสื่อหรือเป็นพาหะ
โรคติดต่อทางน้า (Water-borne Diseases) ส่วนใหญ่
เกิดจากการติดเชือแบกทีเรีย (Bacterial infection) เช่น
ไข้รากสาด (Typhoid) ไข้รากสาดน้อย (Paratyphoid)
อหิวาต์ (Asiatic Cholera) Salmonellosis และ
Shigellosis หรือโรคที่เกิดจากการติดเชือไวรัส (Viral
Diseases) ยังมี
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
แบกทีเรียกลุ่มที่เป็นตัวชีความสกปรกเรียกว่า โคลิฟอร์มแบกทีเรีย (Coliform bacteria) จะอาศัยอยู่ในทางเดิน
อาหารของสัตว์เลือดอุ่นและพบเสมอเป็นจ้านวนมากๆ ในอุจจาระ อีกทังสามารถอาศัยในสิ่งแวดล้อมภายนอก
ร่างกายได้นานกว่าเชือโรค วิธีการตรวจวิเคราะห์ก็ง่ายกว่าจึงเหมาะส้าหรับงานตรวจสอบที่ต้องท้าเป็นประจ้า
การตรวจวิเคราะห์ทางแบกทีเรียจะมี 3 ตัวก้าหนด (parameters)
1. การตรวจจ้านวนแบกทีเรียทังหมด (Total or Standard Plate Count)
ใช้น้าตัวอย่าง 1 มล. มาเพาะเชือ (incubate) ในตู้อบที่อุณหภูมิ 37o ซ เป็นเวลา 24 ชม. แบกทีเรียแต่ละตัวที่
อยู่ในน้าจะเจริญเติบโตและแบ่งเซลเพิ่มจ้านวนมากขึน จับเป็นกลุ่มหรือเป็นจุดเล็กๆ บนอาหารวุ้นที่เลียงไว้ เรียกกลุ่ม
หรือจุดเหล่านีว่า colony ซึ่งสามารถนับได้ด้วยตาเปล่าตามมาตรฐานน้าดื่มน้าใช้ทั่วไปก้าหนดค่า Total Count ไว้
ไม่เกิน 500 โคโลนี /มล. เพราะแบกทีเรียที่มีอยู่ในน้ามีปริมาณสูง โอกาสที่จะมีเชือโรคก็ย่อมมีมากด้วย แต่ไม่ได้ใช้
เป็นค่าตายตัวแน่นอน นอกจากส้าหรับควบคุมหรือตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบผลิตน้าประปาเท่านัน
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
2. การตรวจหาโคลิฟอร์มแบกทีเรีย (Coliform Index)
แบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์มมีอยู่ 2 ตัวที่ส้าคัญ ได้แก่ Escherichia coli (E.coli) และ Aerobacter
aerogenes (A.aerogenes) โดยที่ E.coli เป็นแบกทีเรียที่อาศัยอยู่ในล้าไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น ส่วน
A.aerogenes นันมักจะอาศัยอยู่ในดินและพืช ดังนัน การตรวจพบโคลิฟอร์มแบกทีเรียในน้า จึงไม่ได้เป็นการยืนยัน
ว่าน้านันได้รับการปนเปื้อนจากของเสียของคนหรือสัตว์ การจะชีให้แน่ชัดลงไปควรท้า Faecal bacteria
identification หรือตรวจหา E.coli
3. การตรวจหาอีโคไล (E.coli)
ดังได้กล่าวมาแล้วว่า E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระ
ปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อ
การน้ามาอุปโภคบริโภค
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
Sanitary Engineering and Water Supply
คุณสมบัติทางกัมมันตภาพรังสี
ในสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า มีสารกัมมันตภาพรังสีที่ส้าคัญอยู่ 2 ชนิดคือ
ก. ซีเซียม - 137 (Cesium – 137) มีครึ่งชีวิต 33 ปี และปล่อยรังสี
แกมม่า นอกจากนี ยังมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายโปแตสเซียม เมื่อเข้าไปใน
ร่างกายจะไปแทนที่โปแตสเซียมตามเนือเยื่อและกล้ามเนือ ต่างๆ
ข. สตรอนเชียม-90 (Strontium - 90) จะมีอยู่ในฝุ่นกัมมันตภาพรังสีที่
ตกลงมายังพืนโลก มีครึ่งชีวิตยาวถึง 20 ปี มีคุณสมบัติคล้ายแคลเซียมจึงเข้า
ไปอยู่ตามกระดูก Sr-90 จะปล่อยรังสีเบต้า จากการทดลองกับสัตว์พบว่า Sr-
90 สามารถท้าให้เกิดโรคมะเร็งในเม็ดเลือดได้
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
SCAN ME
สแกน QR Code
เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube

More Related Content

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้

More from AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้ (20)

การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับนานาชาติ Version ภาษาไทย
 
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทยการนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
การนำเสนอบทความวิชาการระดับชาติ Version ภาษาไทย
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 1 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิปบทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
บทที่ 8 ขนาดของระบบประปา (System Capacity) + คลิป
 
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิปบทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
บทที่ 7 การแก้น้ำกระด้าง (Softening) + คลิป
 
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิปบทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
บทที่ 5 ระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration) + คลิป
 
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิปบทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
บทที่ 3 การผลิตนำ้สะอาด (Water Treatment) + คลิป
 
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิปบทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
บทที่ 1 ทรัพยากรนำ้ (Water Resource) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 6 การไหลสม่ำเสมอในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow) + คลิป
 
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
บทปฏิบัติการที่ 5 ปั๊มน้ำต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Pumps Te...
 
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
บทปฏิบัติการที่ 1 การสูญเสียแรงดันในท่อปิด (Head Losses in Pipe) + คลิป
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
บทที่ 7 การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 4 สมการพลังงานและสมการโมเมนตัม + คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น+คลิป (Fluid Mechanics)
 
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
 

Recently uploaded

The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptx
heathfieldcps1
 

Recently uploaded (20)

Beyond_Borders_Understanding_Anime_and_Manga_Fandom_A_Comprehensive_Audience_...
Beyond_Borders_Understanding_Anime_and_Manga_Fandom_A_Comprehensive_Audience_...Beyond_Borders_Understanding_Anime_and_Manga_Fandom_A_Comprehensive_Audience_...
Beyond_Borders_Understanding_Anime_and_Manga_Fandom_A_Comprehensive_Audience_...
 
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan FellowsOn National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
On National Teacher Day, meet the 2024-25 Kenan Fellows
 
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptxPANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
PANDITA RAMABAI- Indian political thought GENDER.pptx
 
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
21st_Century_Skills_Framework_Final_Presentation_2.pptx
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
 
The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptx
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
 
How to Add New Custom Addons Path in Odoo 17
How to Add New Custom Addons Path in Odoo 17How to Add New Custom Addons Path in Odoo 17
How to Add New Custom Addons Path in Odoo 17
 
HMCS Vancouver Pre-Deployment Brief - May 2024 (Web Version).pptx
HMCS Vancouver Pre-Deployment Brief - May 2024 (Web Version).pptxHMCS Vancouver Pre-Deployment Brief - May 2024 (Web Version).pptx
HMCS Vancouver Pre-Deployment Brief - May 2024 (Web Version).pptx
 
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptxOn_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
On_Translating_a_Tamil_Poem_by_A_K_Ramanujan.pptx
 
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdfFICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
FICTIONAL SALESMAN/SALESMAN SNSW 2024.pdf
 
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptxExploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
Exploring_the_Narrative_Style_of_Amitav_Ghoshs_Gun_Island.pptx
 
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
Jamworks pilot and AI at Jisc (20/03/2024)
 
FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024FSB Advising Checklist - Orientation 2024
FSB Advising Checklist - Orientation 2024
 
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf artsTatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
Tatlong Kwento ni Lola basyang-1.pdf arts
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
 
REMIFENTANIL: An Ultra short acting opioid.pptx
REMIFENTANIL: An Ultra short acting opioid.pptxREMIFENTANIL: An Ultra short acting opioid.pptx
REMIFENTANIL: An Ultra short acting opioid.pptx
 
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
 
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdfSimple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
Simple, Complex, and Compound Sentences Exercises.pdf
 
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptxHow to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
 

บทที่ 2 คุณภาพของนำ้ (Water Quality) + คลิป

  • 1. อาจารย์ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (Sanitary Engineering and Water Supply) บทที่ 2 คุณภาพของน้า (Water Quality)
  • 2. Sanitary Engineering and Water Supply ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา บทที่ 2 คุณภาพของน้า (Water Quality)
  • 3. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube
  • 4. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ลักษณะทั่วไปของน้าดิบ (Raw Water Characteristics) น้าผิวดิน (Surface Water) น้าบาดาล (Ground Water) น้าทะเล (Sea Water)
  • 5. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติของน้า (Water Quality) คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Quality) คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Quality) คุณสมบัติทางแบกทีเรีย (Bacteriological Quality) คุณสมบัติทางกัมมันตภาพรังสี
  • 6. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard) ตาราง Guideline Values For Drinking-Water Quality (WHO, 1984)
  • 7. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard) ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
  • 8. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard) ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
  • 9. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard) ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
  • 10. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply มาตรฐานน้าดื่ม (Drinking Water Standard) ตาราง มาตรฐานน้าบริโภคตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
  • 11. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Quality) ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ความขุ่น (Turbidity) สี (Color) กลิ่นและรส (Odor and Taste) อุณหภูมิ (Temperature)
  • 12. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids)
  • 13. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) ตาราง สิ่งปนเปื้อนในน้าธรรมชาติและผลกระทบที่เกิดจากคุณภาพน้า
  • 14. Sanitary Engineering and Water Supply ตาราง สิ่งปนเปื้อนในน้าธรรมชาติและผลกระทบที่เกิดจากคุณภาพน้า
  • 15. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply การทราบค่าความขุ่นจะช่วยในการ พิจารณาเลือกระบบการผลิตน้าประปา การ หาปริมาณสารส้มที่ใช้ในการตกตะกอน ใช้ บอกประสิทธิภาพของเครื่องกรอง เป็นต้น น้าผิวดินจะมีค่าความขุ่นในช่วงกว้าง เช่น น้าแม่น้าในฤดูแล้งอาจมีความขุ่น 40 - 60 หน่วย แต่ในฤดูฝนความขุ่นจะสูงเป็นหลาย ร้อยหน่วย ความขุ่นขนาด 5 หน่วยอาจ สังเกตเห็นได้ด้วยตาจึงใช้ค่าความขุ่นนีเป็น เกณฑ์มาตรฐานของน้าดื่มทั่วไป ความขุ่น (Turbidity)
  • 16. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สี (Color) สีที่เกิดจากสารแขวนลอยไม่ละลายน้า เรียกว่า สีเทียม (apparent color) ถ้ามีสารเหล่านีอยู่จะต้องน้าไปแยกออกก่อน โดยวิธีเหวี่ยง (centrifuge) แล้วจึงน้าไปวัดสีแท้ (true color) การทราบปริมาณของสีจะท้าให้รู้ถึงสิ่งเจือปน และแสดงให้ เห็นว่าน้านันน่าดื่มน่าใช้หรือไม่ นอกจากนี การวัดสีจริงยัง สามารถดัดแปลงเป็นวิธีวัดสารฮิวมิคในน้าได้ด้วย น้าในอ่างเก็บ น้าที่มีสาหร่ายตะไคร่น้าอุดมสมบูรณ์อาจมีสีถึง 50 หน่วย แต่ น้าประปาไม่ควรมีสีเกิน 5 หน่วย
  • 17. Sanitary Engineering and Water Supply กลิ่นและรส (Odor and Taste) การวัดกลิ่นมักใช้วิธีดมน้าตัวอย่างดูโดยตรง ถ้ามีกลิ่นแล้วให้เขียนระบุไว้ในตาราง เช่น กลิ่นโคลน กลิ่นคาว กลิ่น เหม็น กลิ่นของน้าอาจวัดออกมาเป็นหน่วยได้เรียกว่า Threshold odor number (TON) โดยการเอาน้าตัวอย่างมา จ้านวนหนึ่ง ซึ่งเมื่อเจือจางด้วยน้าที่ปราศจากกลิ่นจนได้ปริมาตร 200 มล. แล้วทดลองให้ผู้ทดสอบประมาณ 5-10 คน ดมดู ถ้าไม่มีกลิ่นก็สามารถค้านวณค่า TON จากสูตร ดังนี TON = 𝐴+𝐵 𝐴 A คือ ปริมาตรน้าตัวอย่างที่มากที่สุด ซึ่งเมื่อเจือจางแล้วดมไม่ได้กลิ่น (มล.) B คือ ปริมาตรน้าที่ปราศจากกลิ่นที่น้ามาเจือจางน้าตัวอย่างให้มีปริมาตร 200 มล. ตาราง ค่า Threshold odor number จากการเจือจางตัวอย่างน้าจนได้ปริมาตร 200 มล.
  • 18. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply กลิ่นและรส (Odor and Taste) รสของน้าอาจแบ่งได้เป็น 4 อย่าง คือ เปรียว เค็ม หวาน และขม การรู้รสขึนอยู่กับต่อมลินของแต่ละ บุคคล ดังนัน การวัดปริมาณรสจึงไม่อาจกระท้าได้ การ ประปาบางแห่งใช้วิธีทดสอบโดยให้เจ้าหน้าที่จ้านวน หนึ่งชิมรสของน้าแล้วรายงานผล ซึ่งก็อาจพอทราบรส ของน้าได้จากความเห็นที่เป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่มีเกณฑ์วัด ที่เป็นมาตรฐานก้าหนดไว้
  • 19. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply อุณหภูมิ (Temperature)
  • 20. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Quality) ปริมาณของแข็งละลายน้า คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความกระด้าง สารอาหารของพืช โลหะที่ไม่เป็นพิษ เกลืออนินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษ โลหะที่เป็นพิษ สารอินทรีย์ ไซยาไนด์
  • 21. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ปริมาณของแข็งละลายน้า (Total Dissolved Solids) คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH pH ค่าที่ใช้วัดความเข้มข้นของอนุมูลไฮโดรเจนอิสระในน้า (H+) เพราะไม่ว่าจะเป็นน้าหรือสารละลายเคมีอื่นๆ เมื่อ ละลายในน้าจะแตกตัว (ionize) มากน้อยขึนกับคุณสมบัติของสารนัน ส้าหรับน้าบริสุทธิ์จะแตกตัวให้ประจุ H+ และ OH- (อนุมูลไฮดรอกซีล) แต่มีปริมาณน้อยมาก เช่น ในน้าบริสุทธิ์จะมี H+ อยู่ 10-7 โมล/ลิตร เพื่อความสะดวกและ ชัดเจนในการใช้งานหรือเปรียบเทียบ จึงใช้เป็นค่า pH (positive potential of the hydrogen ions) pH = - log [H+] นั่นคือในน้าบริสุทธิ์ ซึ่งมี [H+] = [OH-] = 10-7 โมล/ลิตร จะมี pH = 7 ซึ่งหมายถึงสารละลายที่เป็นกลาง (neutral solution)
  • 22. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply pH Indicator
  • 23. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide, CO2)
  • 24. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความเป็นกรด (Acidity) ความเป็นกรดของน้าคือความสามารถของน้าที่จะให้อนุมูลไฮโดรเจน (H+) หรือได้แก่ปริมาณของกรดที่มี อยู่ในน้าธรรมชาติ เช่น กรดคาร์บอนิค กรดอินทรีย์ที่เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ กรดแทนนิค กรด แร่ และเกลือของเหล็กกับอลูมิเนียม • ความเป็นกรดเนื่องจาก CO2 (CO2 acidity) • ความเป็นกรดเนื่องจาก กรดแร่ (Mineral acidity)
  • 25. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความเป็นด่าง (Alkalinity) ความเป็นด่าง หมายถึง ความสามารถที่จะรับอนุมูล H+ หรือคือความสามารถของน้าที่จะสะเทินกรดแก่จนถึง pH ที่ ก้าหนดไว้ ความเป็นด่างของน้าตามธรรมชาติมักเกิดจาก คาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต ไฮดรอกซิล บอเรต (H2BO3 -) ฟอสเฟต (HP4 -2, H2, PO4 -, ) ซิลิเกต (SiO3 -2) ซัลไฟด์ (HS-) และแอมโมเนีย (NH3) โดยละลายออกมาจากชันดิน หินและ บรรยากาศลงสู่แหล่งน้า เกลือฟอสเฟตจะมาจากผงซักฟอก หรือปุ๋ย หรือแม้แต่สารเคมีปราบศัตรูพืชที่ใช้ในการเกษตร ส้าหรับไฮโดรเจนซัลไฟด์และแอมโมเนียอาจมาจากการย่อย สลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ
  • 26. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางเคมี ที่มีผลเกี่ยวกับ pH ความกัดกร่อน (Corrosive)
  • 27. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ความกระด้าง (Hardness) ความกระด้าง หมายถึง ความเข้มข้นหรือปริมาณของอนุมูลโลหะที่มีประจุ +2 ในน้า ได้แก่ แคลเซียม (Ca+2) แมกนีเซียม (Mg+2) เหล็ก (Fe+2) แมงกานีส (Mn+2) สตรอนเชียม (Sr+2) รวมทังเหล็ก (Fe+3) และอลูมิเนี่ยม (AI+3) โดยทั่วไปในน้าธรรมชาติจะมี Ca+2 และ Mg+2 อยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังนัน ค่าความกระด้างจึงเป็นผลรวมของ Ca+2 และ Mg+2 ยกเว้นในกรณีที่มีอนุมูลโลหะตัวอื่นเจือปนอยู่มาก ความกระด้างมีหน่วยเป็น มก./ล. ในรูปแคลเซียมคาร์บอเนต ความกระด้างแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ความกระด้างเนื่องจากคาร์บอเนต หรือ Carbonate Hardness คือความกระด้างของเกลือ CO3 -2 และ HCO3 เช่น CaCO3, Mg(HCO3)2 พวกนีสามารถก้าจัดได้โดยการต้ม จึงเรียกอีกชื่อว่า ความกระด้างชั่วคราว หรือ Temporary Hardness 2. ความกระด้างที่ไม่ได้เกิดจากคาร์บอเนต หรือ Non-Carbonate Hardness คือ ความกระด้างของเกลืออื่นๆ ซึ่งไม่ใช่คาร์บอเนต เช่น CaSO4. MgCI2, Ca(NO3)2 เนื่องจากไม่สามารถก้าจัดได้โดยการต้ม จึงเรียกว่า ความ กระด้างถาวร หรือ Permanent Hardness
  • 28. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply น้าจากแหล่งต่างๆ จะมีความกระด้างไม่เท่ากัน อาจแบ่งระดับความกระด้างตามปริมาณแคลเซียม คาร์บอเนตได้ ดังนี น้าอ่อน 0-50 มก./ล. CaCO3 น้าอ่อนปานกลาง 50-100 มก./ล. CaCO3 น้ากระด้างเล็กน้อย 100-150 มก./ล. CaCO3 น้ากระด้างปานกลาง 150-200 มก./ล. CaCO3 น้ากระด้าง 200-300 มก./ล. CaCO3 น้ากระด้างมาก มากกว่า 300 มก./ล. CaCO3 น้าผิวดินจะมีความกระด้างในช่วง 80-100 มก./ล. CaCO3 ในขณะที่น้าใต้ดินจะมีความกระด้างสูงกว่า น้าผิวดิน น้าประปาควรมีความกระด้างประมาณ 50-80 มก./ล. CaCO3 ซึ่งจะท้าให้น้ามีรสชาติดี และล้าง สบู่ในเวลาอาบน้าได้ง่ายขึน
  • 29. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ก. ท้าให้เปลืองสบู่ในการซักล้าง เพราะ Ca+2 และ Mg+2 จะท้า ปฏิกิริยากับสบู่เกิดเป็นไคลหรือตกตะกอนดังสมการ จึงต้องใช้สบู่ เพิ่มขึนในน้ากระด้าง ด้วยเหตุนีจึงท้าให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผงซักฟอก (detergent) ซึ่งจะไม่มีปัญหาตกตะกอนในน้ากระด้าง ข. ปัญหาการเกิดตะกรันในหม้อน้า หรือ Boiler scale ซึ่งเกิดจาก CaCO3 หรือ CaSO4 ตะกรันพวกนีจะท้าตัวเป็นฉนวนท้าให้ สินเปลืองเชือเพลิงและอาจเป็นสาเหตุให้หม้อน้าระเบิดได้ ค. มีเหตุผลท้าให้น่าเชื่อว่าอาจท้าให้เกิดนิ่วแก่ผู้ดื่มน้ากระด้างมากเป็น ประจ้า ข้อเสีย
  • 30. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ก. น้ากระด้างจะมีรสชาติน่าดื่มมากกว่าน้าอ่อน ข. น้าอ่อนไม่เหมาะที่จะใช้เป็นน้าประปา เพราะจะมีฤทธิ์กัดกร่อนตะกั่วที่ใช้ท้า ท่อน้า การใช้น้ากระด้างในน้าประปาจะท้าให้เกิด PbCO2 หุ้มผิวท่อภายใน ตะกั่วจึงไม่ละลายออกมา ค. จากสถิติทางแพทย์พบว่า ผู้บริโภคน้าอ่อนจะมีโอกาสป่วยด้วยโรคหัวใจ (Cardio-Vascular disease) สูงกว่าผู้บริโภคน้ากระด้าง ข้อดี
  • 31. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สารอาหารของพืช (Nutrients) พืชต้องการแร่ธาตุและสารอาหารหลายชนิดส้าหรับการเจริญเติบโต และขยายพันธุ์ สารบางชนิดต้องการในปริมาณที่น้อยมาก เรียกว่า trace elements เช่น เหล็ก ทองแดง สังกะสี ในขณะที่สารบางอย่างต้องการใน ปริมาณมาก ได้แก่ คาร์บอน ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ส่วนไนโตรเจน และฟอสฟอรัสในรูปที่พืชสามารถน้าไปใช้ได้มักจะพบในปริงมาณน้อยจน กลายเป็นปัจจัยที่จ้ากัดส้าหรับการเจริญเติบโตของพืชน้าต่างๆ
  • 32. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply เนื่องจากไนโตรเจนมีหลายวาเลนซี่ด้วยกันจึงเกิดสารประกอบได้หลาย อย่างในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงรูปของสารประกอบไนโตรเจนนี ในวัฏ จักรของไนโตรเจนหรือ nitrogen cycle ซึ่งจะพบว่าสารประกอบไนโตรเจน ที่มีบทบาทในแหล่งน้าธรรมชาติ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ก. สารประกอบอินทรีย์ไนโตรเจน (organic nitrogen compound) คือสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นองค์ประกอบหรือโครงสร้าง ของพืชและสัตว์ สิ่งขับถ่ายจากสัตว์ซากเน่าเปื่อยและสารจากการย่อยสลาย ซากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ โปรตีน คลอโรฟิลล์ กรดอมิโนยูเรียและกรดยูริค ข. สารประกอบอนินทรีย์ไนโตรเจน (inorganic nitrogen compound) ได้แก่ แอมโมเนีย (NH3) ไนไตรท์ (NO2 -) และไนเตรท (NO3 -) สารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen compounds)
  • 33. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply เมื่อได้รับน้าทิงจากชุมชน อุตสาหกรรม หรือน้าชะจากแหล่ง เกษตรกรรมลงสู่แหล่งน้าผิวดิน สารประกอบอินทรีย์ไนโตรเจนจะถูก ย่อยสลายลงกลายเป็นแอมโมเนีย ปริมาณไนไตรท์และไนเตรทเพิ่มขึน ตามเวลาและระยะทางที่น้าไหลล่อง (รูปที่ 2.5) ในสมัยก่อนเคยใช้ ปรากฏการณ์นีเป็นตัววัดความเน่าเสียของล้าน้า เช่น ถ้าปรากฏว่ามี แอมโมเนียมาก แสดงว่าล้าน้านันเพิ่งจะได้รับการปนเปื้อนหรือถ่ายของ เสีย แต่ถ้าพบไนเตรทมากกว่าตัวอื่นหรือมากผิดปกติ แสดงว่าล้าน้านัน เคยได้รับของเสียมาก่อน และได้ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิม เพราะ สารอินทรีย์ถูกย่อยสลายไปหมดแล้ว
  • 34. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ความส้าคัญของสารประกอบไนโตรเจนต่อแหล่งน้า ก. ท้าให้แหล่งน้าเน่าเสีย การทิงของเสียประเภทสารอินทรีย์ไนโตรเจนลงในส้าน้า จะเกิดการย่อยสลายอย่างรวดเร็ว ซึ่งต้องใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในล้าน้าไปเป็นจ้านวนมาก อาจท้าให้ปริมาณออกซิเจนละลายน้าลดลงจนถึงจุดวิกฤต (ต่้ากว่า 1 มก./ล.) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด้ารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้า ข. ปัญหาจากแอมโมเนีย เนื่องจากการย่อยสลายโปรตีนและยูเรียจะปลดปล่อยแอมโมเนียออกมา และก่อปัญหาถ้า ส้าน้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้าต่้า แอมโมเนียจะสะสมเพราะไม่สามารถสลายเป็นไนไตรท์และไนเตรทได้ แอมโมเนีย จะส่งผลกระทบทังเรื่องกลิ่นเหม็นและท้าให้เกิดความเป็นด่าง ค. ไนเตรทมีผลต่อสุขภาพของเด็กอ่อนที่มีอายุต่้ากว่า 2 เดือน ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะเข้าจับกับฮีโมโกลบินใน เม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจน ได้สารประกอบสีน้าเงิน หากปล่อยทิงไว้เด็กจะมีผิวคล้าลงและขาดอากาศหายใจและ เสียชีวิต อาการเช่นนีเรียกว่า Blue baby syndrome หรือ Methemoglobinemia
  • 35. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สารประกอบฟอสฟอรัสมีความส้าคัญต่อสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นองค์ประกอบหลักของสารรับ-ส่งพลังงานในเซล สิ่งมีชีวิต และยังเป็นองค์ประกอบหนึ่งในสารพันธุกรรม อันได้แก่ DNA และ RNA สารประกอบฟอสฟอรัสที่พบใน ธรรมชาติแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่ ออโธฟอสเฟต (orthophosphate) มักใช้เป็นปุ๋ย และ condensed phosphate (pyro-, meta- และ polyphosphate) เช่น STPP (Sodium tripolyphosphate) ที่ใช้เป็นสารลดความกระด้างในสารซักฟอก หรือ complex phosphate ที่เติมในหม้อไอน้า เพื่อป้องกันการเกิดตะกรันอันจะท้าให้หม้อน้าระเบิดได้ ประเภทที่ 2 คือ สารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟต ส่วนใหญ่ได้ จากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ สารประกอบฟอสฟอรัส (Phosphorus compound)
  • 36. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply โลหะที่ไม่เป็นพิษ (Non-toxic Metals) แคลเซียมและแมกนีเซียม (Calcium-Ca and Magnesium - Mg) เหล็ก (Iron-Fe) โซเดียม (sodium-Na)
  • 37. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply เกลืออนินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษ (Non-toxic salts) ไบคาร์บอเนตและคาร์บอเนต (Bicarbonate-HCO3 -, Carbonate-CO3 =) คลอไรด์ (Chloride-CI-) ซัลเฟต (Sulfate-SO4 =) ฟลูออไรด์ (Fluoride-F-) ซิลิกา (Silica-SiO2)
  • 38. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ตาราง มาตรฐานฟลูออไรด์ในน้าดื่ม ณ อุณหภูมิต่างๆ ของบรรยากาศตามข้อก้าหนดของ EPA ฟลูออไรด์ (Fluoride-F-)
  • 39. Sanitary Engineering and Water Supply โลหะที่เป็นพิษ สารหนู (Arsenic, As) ตะกั่ว (Lead-Pb) แมงกานีส (Manganese-Mn) ปรอท (Mercury-Hg) แคดเมียม (Cadmium-Cd) ทองแดง (Copper-Cu) สังกะสี (Zinc-Zn) อลูมิเนียม (Aluminium-AI) เซเลเนียม (Selenium-Se) โครเมียม (Chromium-Cr) แบเรียม (Barium-Ba) เงิน (Silver-Ag) สารหนู (Arsenic, As) ตะกั่ว (Lead-Pb) แมงกานีส (Manganese-Mn) ปรอท (Mercury-Hg) แคดเมียม (Cadmium-Cd) ทองแดง (Copper-Cu) สังกะสี (Zinc-Zn) อลูมิเนียม (Aluminium-AI) เซเลเนียม (Selenium-Se) โครเมียม (Chromium-Cr) แบเรียม (Barium-Ba) สารหนู (Arsenic, As) ตะกั่ว (Lead-Pb) แมงกานีส (Manganese-Mn) ปรอท (Mercury-Hg) แคดเมียม (Cadmium-Cd) ทองแดง (Copper-Cu)
  • 40. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สารอินทรีย์ที่ไม่เสถียร (unstable) จะถูกย่อยสลายได้ (biodegradable) ด้วยจุลินทรีย์ที่อยู่ในน้า และออกซิเจน จะถูกใช้ในปฏิกิริยา สารอินทรีย์ที่ละลายน้าเหล่านีประกอบด้วย แป้ง ไขมัน โปรตีน แอลกอฮอล์ กรด อัลดีไฮด์ และเอสเทอร์ ซึ่งมาจากการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ที่ตกลงในแหล่งน้า หรือมีที่มาจากน้าเสียชุมชน น้าเสีย อุตสาหกรรม และน้าเสียจากการเกษตร สารอินทรีย์เหล่านีมักท้าให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับสี ความขุ่น กลิ่นและรสของน้า เราใช้ค่า บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand - BOD) เป็นตัววัดปริมาณสารอินทรีย์ดังกล่าวข้างต้น เพราะบีโอดีเป็นค่าปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยปกติใช้ส้าหรับวัดปริมาณความเน่า เสียของน้าโสโครก แต่ก็เป็นเครื่องชีให้เห็นถึงความสกปรกของแหล่งน้า เช่น แม่น้า ล้าคลอง ได้เช่นกัน เพราะถ้าค่า บีโอดีสูงแสดงว่าแหล่งน้านันสกปรกหรือน้าเน่าเสีย ออกซิเจนจะหมดไปอย่างรวดเร็วเป็นอันตรายต่อสัตว์และพืชน้า แหล่งน้าส้าหรับท้าน้าประปาไม่ควรมีบีโอดีเกินกว่า 4 มก./ล. สารอินทรีย์ (Organic Compounds)
  • 41. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สารอินทรีย์ (Organic Compounds) สารซักล้าง (Detergents) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจากการฆ่าเชือด้วยคลอรีน (Chlorination Hydrocarbon) สารปราบศัตรูพืช (Pesticides) ฟีนอล (Phenol) สารอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile organic chemicals - VOCs)
  • 42. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply สารปราบศัตรูพืช (Pesticides) ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ก. สารปราบศัตรูพืชที่มีคลอรีน (Chlorinated pesticides, Chlorinated hydrocarbon) เป็นสารปราบศัตรูพืชที่ สังเคราะห์ขึนมาใช้เป็นประเภทแรก ที่รู้จักกันดีคือ ดีดีที มีชื่อเต็มว่า 2,2-bis(p-chlorophenyl)-1,1,1- trichloroethane ออกฤทธิ์โดยการสัมผัส มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางของแมลง ท้าให้แมลงสงบลงและตายในที่สุด ละลายน้าได้น้อยมาก จนอาจกล่าวได้ว่าไม่ละลายน้า แต่ละลายได้ดีในน้ามันไขมัน สลายตัวได้ช้ามาก ข. สารปราบศัตรูพืชที่มีฟอสฟอรัส (Organic Phosphorus Pesticides, Organophosphates) สารประกอบอินทรีย์ ฟอสเฟตมีฤทธิ์ต่อระบบประสาท สามารถฆ่าทังแมลงและสัตว์ได้ และมีพิษร้ายแรงกว่าสารประกอบอินทรีย์คลอรีน แต่ไม่ เสถียร จึงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น พาราไทออน ทีอีพีพี ฟอสตริน ฯลฯ ค. คาร์บาเมต (Carbamates) เป็นสารปราบศัตรูพืชที่สังเคราะห์ขึนมาหลังสุด มีฤทธิ์เหมือนกับสารประกอบออกาโน ฟอสเฟต แต่โดยทั่วไปมีพิษน้อยกว่า และไม่คงตัวในสิ่งแวดล้อม จึงไม่ค่อยตกค้างให้ตรวจพบ เช่น คาร์บาริล ทิมิค
  • 43. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply ไซยาไนด์ที่ปนเปื้อนในแหล่งน้าส่วนใหญ่มาจากน้าเสีย โรงงานชุบโลหะไซยาไนด์ ส่วนใหญ่ย่อยสลายได้ด้วยขบวนการ ชีววิทยา แต่ควรก้าจัดด้วยวิธีเคมีก่อนปล่อยน้าทิงลงสู่แม่น้าล้า คลอง ในกรณีที่เกิดมีไซยาไนด์ปรากฏในแม่น้า ปลาจะแสดง อาการให้เห็นเร็วมาก เพราะไซยาไนด์มีผลต่อระบบหายใจ มาตรฐานน้าดื่มขององค์การอนามัยโลกก้าหนดให้มีได้ไม่ เกิน 0.1 มก./ล.ในขณะที่มาตรฐานน้าดื่มในประเทศไทย ก้าหนดในช่วง 0.01 -0.2 มก./ล. ไซยาไนด์ (Cyanide-CN-)
  • 44. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางแบกทีเรีย (Bacteriological Quality) เมื่อกล่าวถึงคุณภาพน้าทางแบกทีเรีย ผลที่เกิดจาก ข้อบกพร่องของคุณภาพน้าในด้านนีมักจะเห็นได้โดยตรง จากการเกิดโรคต่างๆ ที่มีน้าเป็นสื่อหรือเป็นพาหะ โรคติดต่อทางน้า (Water-borne Diseases) ส่วนใหญ่ เกิดจากการติดเชือแบกทีเรีย (Bacterial infection) เช่น ไข้รากสาด (Typhoid) ไข้รากสาดน้อย (Paratyphoid) อหิวาต์ (Asiatic Cholera) Salmonellosis และ Shigellosis หรือโรคที่เกิดจากการติดเชือไวรัส (Viral Diseases) ยังมี
  • 45. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply แบกทีเรียกลุ่มที่เป็นตัวชีความสกปรกเรียกว่า โคลิฟอร์มแบกทีเรีย (Coliform bacteria) จะอาศัยอยู่ในทางเดิน อาหารของสัตว์เลือดอุ่นและพบเสมอเป็นจ้านวนมากๆ ในอุจจาระ อีกทังสามารถอาศัยในสิ่งแวดล้อมภายนอก ร่างกายได้นานกว่าเชือโรค วิธีการตรวจวิเคราะห์ก็ง่ายกว่าจึงเหมาะส้าหรับงานตรวจสอบที่ต้องท้าเป็นประจ้า การตรวจวิเคราะห์ทางแบกทีเรียจะมี 3 ตัวก้าหนด (parameters) 1. การตรวจจ้านวนแบกทีเรียทังหมด (Total or Standard Plate Count) ใช้น้าตัวอย่าง 1 มล. มาเพาะเชือ (incubate) ในตู้อบที่อุณหภูมิ 37o ซ เป็นเวลา 24 ชม. แบกทีเรียแต่ละตัวที่ อยู่ในน้าจะเจริญเติบโตและแบ่งเซลเพิ่มจ้านวนมากขึน จับเป็นกลุ่มหรือเป็นจุดเล็กๆ บนอาหารวุ้นที่เลียงไว้ เรียกกลุ่ม หรือจุดเหล่านีว่า colony ซึ่งสามารถนับได้ด้วยตาเปล่าตามมาตรฐานน้าดื่มน้าใช้ทั่วไปก้าหนดค่า Total Count ไว้ ไม่เกิน 500 โคโลนี /มล. เพราะแบกทีเรียที่มีอยู่ในน้ามีปริมาณสูง โอกาสที่จะมีเชือโรคก็ย่อมมีมากด้วย แต่ไม่ได้ใช้ เป็นค่าตายตัวแน่นอน นอกจากส้าหรับควบคุมหรือตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบผลิตน้าประปาเท่านัน
  • 46. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply 2. การตรวจหาโคลิฟอร์มแบกทีเรีย (Coliform Index) แบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์มมีอยู่ 2 ตัวที่ส้าคัญ ได้แก่ Escherichia coli (E.coli) และ Aerobacter aerogenes (A.aerogenes) โดยที่ E.coli เป็นแบกทีเรียที่อาศัยอยู่ในล้าไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น ส่วน A.aerogenes นันมักจะอาศัยอยู่ในดินและพืช ดังนัน การตรวจพบโคลิฟอร์มแบกทีเรียในน้า จึงไม่ได้เป็นการยืนยัน ว่าน้านันได้รับการปนเปื้อนจากของเสียของคนหรือสัตว์ การจะชีให้แน่ชัดลงไปควรท้า Faecal bacteria identification หรือตรวจหา E.coli 3. การตรวจหาอีโคไล (E.coli) ดังได้กล่าวมาแล้วว่า E.coli อาศัยอยู่ในล้าไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ดังนัน ถ้าตรวจพบในน้าแสดงว่าน้านันมีอุจจาระ ปนเปื้อนอยู่อย่างแน่นอน ซึ่งอาจจะเป็นโอกาสให้มีแบคทีเรียเชือโรคตัวอื่น เจือปนอยู่ด้วยเช่นกัน จึงไม่ปลอดภัยต่อ การน้ามาอุปโภคบริโภค
  • 47. ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา Sanitary Engineering and Water Supply คุณสมบัติทางกัมมันตภาพรังสี ในสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า มีสารกัมมันตภาพรังสีที่ส้าคัญอยู่ 2 ชนิดคือ ก. ซีเซียม - 137 (Cesium – 137) มีครึ่งชีวิต 33 ปี และปล่อยรังสี แกมม่า นอกจากนี ยังมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายโปแตสเซียม เมื่อเข้าไปใน ร่างกายจะไปแทนที่โปแตสเซียมตามเนือเยื่อและกล้ามเนือ ต่างๆ ข. สตรอนเชียม-90 (Strontium - 90) จะมีอยู่ในฝุ่นกัมมันตภาพรังสีที่ ตกลงมายังพืนโลก มีครึ่งชีวิตยาวถึง 20 ปี มีคุณสมบัติคล้ายแคลเซียมจึงเข้า ไปอยู่ตามกระดูก Sr-90 จะปล่อยรังสีเบต้า จากการทดลองกับสัตว์พบว่า Sr- 90 สามารถท้าให้เกิดโรคมะเร็งในเม็ดเลือดได้
  • 48. กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ธนสิทธิ์ พรหมพิงค์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา SCAN ME สแกน QR Code เพื่อดูคลิปสอนใน Youtube