SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
คาว่า "ลา" มีความหมายสองอย่าง อย่างหนึ่งเป็ นชื่อของเรื่ อง อีกอย่างหนึ่งเป็ นชื่อของ การขับ
                                         ร้องหรื อการลา ที่เป็ นชื่อของเรื่ องได้แก่เรื่ องต่าง ๆ
                                         เช่น เรื่ องนกจอกน้อย เรื่ อง ท้าวก่ากาดา เรื่ องขูลู
                                         นางอั้ว เป็ นต้น เรื่ องเหล่านี้โบราณแต่งไว้เป็ น
                                         กลอน แทนที่จะเรี ยกว่า เรื่ องก็เรี ยกว่าลา กลอนที่
                                         เอามาจากหนังสื อลา เรี ยกว่ากลอนลา


     อีกอย่างหนึ่งหมายถึงการขับร้อง หรื อการลา การนาเอาเรื่ องในวรรณคดีอีสานมา ขับร้อง
หรื อมาลา เรี ยกว่า ลา ผูที่มีความชานาญในการขับร้องวรรณคดีอีสาน โดยการท่องจาเอากลอน
                         ้
มาขับร้อง หรื อผูที่ชานาญในการเล่านิทานเรื่ องนั้น เรื่ องนี้ หลายๆ เรื่ องเรี ยกว่า "หมอลา"
                  ้

     วิวฒนาการของหมอลา
           ั
    ความเจริ ญก้าวหน้าของหมอลาก็คงเหมือนกับความเจริ ญก้าวหน้าของสิ่ งอื่นๆ เริ่ มแรก คง
เกิดจากผูเ้ ฒ่าผูแก่เล่านิทาน นิทานที่นามาเล่าเกี่ยวกับจารี ตประเพณี และศีลธรรม โดยเรี ยก
                  ้
ลูกหลานให้มาชุมนุมกัน ทีแรกนังเล่า เมื่อลูกหลานมาฟังกันมากจะนังเล่าไม่เหมาะ ต้องยืนขึ้น
                                        ่                                    ่
เล่า เรื่ องที่นามาเล่าต้องเป็ นเรื่ องที่มีในวรรณคดี เช่น เรื่ องกาฬเกษ สิ นชัย เป็ นต้น ผูเ้ ล่าเพียงแต่
เล่า ไม่ออกท่าออกทางก็ไม่สนุก ผูเ้ ล่าจึงจาเป็ นต้องยกไม้ยกมือแสดงท่าทางเป็ น พระเอก
นางเอก เป็ นนักรบ เป็ นต้น

          เพียงแต่เล่าอย่างเดียวไม่สนุก จึงจาเป็ นต้องใช้สาเนียงสั้นยาว ใช้เสี ยงสูงต่า ประกอบ
และหาเครื่ องดนตรี ประกอบ เช่น ซุง ซอ ปี่ แคน เพื่อให้เกิดความสนุกครึ กครื้ น ผูแสดง มี           ้
เพียงแต่ผชายอย่างเดียวดูไม่มีรสชาติเผ็ดมัน จึงจาเป็ นต้องหา ผูหญิงมาแสดงประกอบ เมื่อ
             ู้                                                           ้
ผูหญิงมาแสดงประกอบจึงเป็ นการลาแบบสมบูร ณ์ เมื่อผูหญิงเข้ามาเกี่ยวข้องเรื่ องต่างๆ ก็ตามมา
  ้                                                          ้
เช่น เรื่ องเกี้ยวพาราสี เรื่ องชิงดีชิงเด่น ยาด (แย่ง) ชูยาดผัวกัน เรื่ องโจทย์ เรื่ องแก้ เรื่ องประชัน
                                                          ้
ขันท้า เรื่ องตลกโปกฮาก็ตามมา จึงเป็ นการลาสมบูรณ์แบบ
จากการมีหมอลาชายเพียงคนเดียวค่อยๆ พัฒนาต่อมาจนมีหมอลาฝ่ ายหญิง มีเครื่ อง ดนตรี
ประกอบจังหวะเพื่อความสนุกสนาน จนกระทังเพิ่มผูแสดงให้มีจานวนเท่ากับตัวละครที่มีใน
                                            ่    ้
เรื่ อง มีพระเอก นางเอก ตัวโกง ตัวตลก เสนา ครบถ้วน ซึ่ งพอจะแบ่งยุคของวิวฒนาการได้ดงนี้
                                                                         ั         ั
   ลา
 โบรา เป็ นการเล่านิทานของผูเ้ ฒ่าผูแก่ให้ลูกหลานฟัง ไม่มีท่าทาง และดนตรี ประกอบ
                                    ้
   ณ
 ลาคู่   เป็ นการลาที่มีหมอลาชายหญิงสองคนลาสลับกัน มีเครื่ องดนตรี ประกอบ คือ แคน การ
 หรือ    ลามีท้งลาเรื่ องนิทานโบราณคดีอีสาน เรี ยกว่า ลาเรื่ องต่อกลอน ลาทวย (ทายโจทย์)
               ั
  ลา     ปัญหา ซึ่ งผูลาจะต้องมี ปฏิภาณไหวพริ บที่ดี สามารถตอบโต้ ยกเหตุผลมาหักล้างฝ่ าย
                       ้
กลอน     ตรงข้ามได้ ต่อมามีการเพิ่มผูลา ขึ้นอีกหนึ่งคน อาจเป็ นชายหรื อหญิง ก็ได้ การลาจะ
                                         ้
         เปลี่ยนเป็ นเรื่ อง ชิงรัก หักสวาท ยาดชูยาดผัว เรี ยกว่า ลาชิงชู้
                                                 ้
ลาหมู่ เป็ นการลาที่มีผแสดงเพิ่มมากขึ้น จนเกือบจะครบตามจานวนตัวละครที่มีในเรื่ อง มี
                         ู้
       เครื่ องดนตรี ประกอบเพิ่มขึ้น เช่น พิณ (ซุง หรื อ ซึ ง) กลอง การลาจะมี 2 แนวทาง
       คือ ลาเวียง จะเป็ นการลาแบบลากลอน หมอลาแสดง เป็ นตัวละครตามบทบาทในเรื่ อง
       การดาเนินเรื่ องค่อนข้างช้า แต่ก็ได้อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลาได้ใช้พรสวรรค์
       ของตัวเองในการลา ทั้งทางด้านเสี ยงร้อง ปฏิภาณไหวพริ บ และความจาเป็ นที่นิยมใน
       หมู่ผสูงอายุ ต่อมาเมื่อดนตรี ลูกทุ่งมีอิทธิพลมากขึ้นจึงเกิดวิวฒนาการของลาหมู่อีกครั้ง
              ู้                                                     ั
       หนึ่ง กลายเป็ น ลาเพลิน ซึ่ งจะมีจงหวะที่เร้าใจชวนให้สนุกสนาน ก่อนการลาเรื่ อง
                                           ั
       ในช่วงหัวค่าจะมีการนาเอารู ปแบบของ วงดนตรี ลกทุ่งมาใช้เรี ยกคนดู กล่าวคือ จะมี
                                                          ู
                                              ่
       นักร้อง (หมอลา) มาร้อง เพลงลูกทุงที่กาลังฮิตในขณะนั้น มีหางเครื่ องเต้นประกอบ
       นาเอาเครื่ องดนตรี สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เช่น กีตาร์ คียบอร์ ด แซ็กโซโฟน ทรัมเปต
                                                                 ์
       และกลองชุด โดยนามาผสมผสานเข้ากับเครื่ องดนตรี เดิมได้แก่ พิณ แคน ทาให้ได้
       รสชาติของดนตรี ที่แปลกออกไป ยุคนี้นบว่า หมอลาเฟื่ องฟูมากที่สุด คณะหมอลาดังๆ
                                                ั
                       ่
       ส่วนใหญ่จะอยูในแถบจังหวัด ขอนแก่น มหาสารคาม อุบลราชธานี
ลาซิ่ง หลังจากที่หมอลาคู่และหมอลาเพลิน ค่อยๆ เสื่ อมความนิยมลงไป อันเนื่องมาจากการ
       ก้าวเข้ามาของเทคโนโลยีวิทยุโทรทัศน์ ทาให้ดนตรี สตริ งเข้ามาแทรกในวิถีชีวิตของ
       ผูคนอีสาน ความนิยมของการชมหมอลา ค่อนข้างจะลดลงอย่างเห็นได้ชด จนเกิดความ
         ้                                                            ั
วิตกกังวลกันมากในกลุ่มนักอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน แต่แล้วมนต์ขลังของหมอ
       ลาก็ได้กลับมาอีกครั้ง ด้วยรู ปแบบที่สะเทือนวงการด้วยการแสดงที่เรี ยกว่า ลาซิ่ง ซึ่ ง
       เป็ นวิวฒนาการของลาคู่ (เพราะใช้หมอลา 2-3 คน) ใช้เครื่ องดนตรี สากลเข้าร่ วมให้
               ั
       จังหวะเหมือนลาเพลิน มีหางเครื่ องเหมือนดนตรี ลูกทุ่ง กลอนลาสนุกสนานมีจงหวะอัน
                                                                                ั
       เร้าใจ ทาให้ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ ว จนกระทังระบาดไปสู่การแสดงพื้นบ้านอื่นให้
                                                      ่
       ต้องประยุกต์ปรับตัว เช่น เพลงโคราชกลายมาเป็ นเพลงโคราชซิ่ ง กันตรึ มก็กลายเป็ น
       กันตรึ มร็ อค หนังปราโมทัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเป็ นปราโมทัยซิ่ ง ถึงกับมีการจัด
       ประกวดแข่งขัน บันทึกเทปโทรทัศน์จาหน่ายกันอย่างแพร่ หลาย จนถึงกับ มีบางท่าน
       ถึงกับกล่าวว่า"หมอลาไม่มีวนตาย จากลมหายใจชาวอีสาน"
                                 ั

   กลอนลาแบบต่างๆ

         กลอนที่นามาเสนอ ณ ที่น้ ี มีหลายกลอนที่มีคาหยาบโลนจานวนมาก บางท่านอาจจะทา
ใจยอมรับไม่ได้ก็ตองกราบขออภัย เพราะผูจดทามีเจตนาที่จะเผยแพร่ ไว้เพื่อเป็ นการสื บสาน
                    ้                          ้ั
วัฒนธรรมประเพณี มิได้มีเจตนาที่จะเสนอให้เป็ นเรื่ องลามกอนาจาร ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่า นี่
คือวิถีชีวิตของคนอีสาน กลอนลาทั้งหลายทั้งปวงผูลามีเจตนาจะทาให้เกิดความสนุกสนาน ตลก
                                                    ้
                           ่
โปกฮาเป็ นที่ต้ง ท่านที่อยูในท้องถิ่นอื่นๆ ขอได้เข้าใจในเจตนาด้วยครับ สนใจในกลอนลาหัวข้อ
               ั
ใดคลิกที่หวข้อนั้นเพื่อเข้าชมได้ครับ
            ั

     กลอนที่นามาร้องมาลามีมากมายหลายอย่าง จนไม่สามารถจะกล่าวนับหรื อแยกแยะได้
                               ่
หมด แต่เมื่อย่อรวมลงแล้วจะมีอยูสองประเภท คือ กลอนสั้นและกลอนยาว

      กลอน คือ คากลอนที่ส้ นๆ ใช้สาหรับลาเวลามีงานเล็กๆ น้อยๆ เช่น งานทาบุญบ้าน
                           ั
สั้ น      หรื องานประจาปี เช่น งานบุญเดือนหก เป็ นต้น กลอนสั้น มีดงต่อไปนี้
                                                                   ั
           1. กลอนขึนลา
                    ้              2. กลอนลงลา 3. กลอนลาเหมิดคืน
          4. กลอนโต้น             5. กลอนติง
                                           ่        6. กลอนต่ง
          7. กลอนอัศจรรย์         8. กลอนสอย        9. กลอนหนังสื อเจียง
          10. กลอนเต้ยหรือผญา 11. ลาสี พนดอน 12. ลาสั้ น เรื่อง ติดเสน่ ห์
                                        ั
กลอน คือ กลอนสาหรับใช้ลาในงานการกุศล งานมหรสพต่างๆ กลอนยาวนี้ใช้เวลาลา
ยาว     เป็ นชัวโมงบ้าง ครึ่ งชัวโมงบ้าง หรื อแล้วแต่กรณี ถ้าลาคนเดียวเช่น ลาพื้น หรื อ
                ่               ่
        ลาเรื่ อง ต้องใช้เวลาลาเป็ นวันๆ คืนๆ ทั้งนี้แล้วแต่เรื่ องที่จะลาสั้นหรื อยาวแค่
        ไหน แบ่งออกเป็ นหลายชนิดดังนี้
         1. กลอนประวัตศาสตร์ 2. กลอนลาพืนหรือลาเรื่อง 3. กลอนเซิ้ง
                         ิ                     ้
           4. กลอนส้ อง            5. กลอนเพอะ                 6. กลอนล่ องของ
           7. กลอนเว้าสาว          8. กลอนฟอนแบบต่างๆ
                                           ้
บรรณานุกรม
หมอลาเมืองอุบล.//”อาชีพหมอลา,”/ประวัติความเป็ นมาของหมอลา// 4 ตุลาคม 2550.//<
http://c.1asphost.com/jigko/entertain/morlum.htm   >//15 สิ งหาคม 2554

More Related Content

What's hot

สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำGoy Saranghae
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1Vorramon1
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดbawtho
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6Parn Parai
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อzomyoop
 

What's hot (20)

ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวด
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อ
 

Similar to หมอลำ

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์bambookruble
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257CUPress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

Similar to หมอลำ (20)

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หมอลำ

  • 1. คาว่า "ลา" มีความหมายสองอย่าง อย่างหนึ่งเป็ นชื่อของเรื่ อง อีกอย่างหนึ่งเป็ นชื่อของ การขับ ร้องหรื อการลา ที่เป็ นชื่อของเรื่ องได้แก่เรื่ องต่าง ๆ เช่น เรื่ องนกจอกน้อย เรื่ อง ท้าวก่ากาดา เรื่ องขูลู นางอั้ว เป็ นต้น เรื่ องเหล่านี้โบราณแต่งไว้เป็ น กลอน แทนที่จะเรี ยกว่า เรื่ องก็เรี ยกว่าลา กลอนที่ เอามาจากหนังสื อลา เรี ยกว่ากลอนลา อีกอย่างหนึ่งหมายถึงการขับร้อง หรื อการลา การนาเอาเรื่ องในวรรณคดีอีสานมา ขับร้อง หรื อมาลา เรี ยกว่า ลา ผูที่มีความชานาญในการขับร้องวรรณคดีอีสาน โดยการท่องจาเอากลอน ้ มาขับร้อง หรื อผูที่ชานาญในการเล่านิทานเรื่ องนั้น เรื่ องนี้ หลายๆ เรื่ องเรี ยกว่า "หมอลา" ้ วิวฒนาการของหมอลา ั ความเจริ ญก้าวหน้าของหมอลาก็คงเหมือนกับความเจริ ญก้าวหน้าของสิ่ งอื่นๆ เริ่ มแรก คง เกิดจากผูเ้ ฒ่าผูแก่เล่านิทาน นิทานที่นามาเล่าเกี่ยวกับจารี ตประเพณี และศีลธรรม โดยเรี ยก ้ ลูกหลานให้มาชุมนุมกัน ทีแรกนังเล่า เมื่อลูกหลานมาฟังกันมากจะนังเล่าไม่เหมาะ ต้องยืนขึ้น ่ ่ เล่า เรื่ องที่นามาเล่าต้องเป็ นเรื่ องที่มีในวรรณคดี เช่น เรื่ องกาฬเกษ สิ นชัย เป็ นต้น ผูเ้ ล่าเพียงแต่ เล่า ไม่ออกท่าออกทางก็ไม่สนุก ผูเ้ ล่าจึงจาเป็ นต้องยกไม้ยกมือแสดงท่าทางเป็ น พระเอก นางเอก เป็ นนักรบ เป็ นต้น เพียงแต่เล่าอย่างเดียวไม่สนุก จึงจาเป็ นต้องใช้สาเนียงสั้นยาว ใช้เสี ยงสูงต่า ประกอบ และหาเครื่ องดนตรี ประกอบ เช่น ซุง ซอ ปี่ แคน เพื่อให้เกิดความสนุกครึ กครื้ น ผูแสดง มี ้ เพียงแต่ผชายอย่างเดียวดูไม่มีรสชาติเผ็ดมัน จึงจาเป็ นต้องหา ผูหญิงมาแสดงประกอบ เมื่อ ู้ ้ ผูหญิงมาแสดงประกอบจึงเป็ นการลาแบบสมบูร ณ์ เมื่อผูหญิงเข้ามาเกี่ยวข้องเรื่ องต่างๆ ก็ตามมา ้ ้ เช่น เรื่ องเกี้ยวพาราสี เรื่ องชิงดีชิงเด่น ยาด (แย่ง) ชูยาดผัวกัน เรื่ องโจทย์ เรื่ องแก้ เรื่ องประชัน ้ ขันท้า เรื่ องตลกโปกฮาก็ตามมา จึงเป็ นการลาสมบูรณ์แบบ
  • 2. จากการมีหมอลาชายเพียงคนเดียวค่อยๆ พัฒนาต่อมาจนมีหมอลาฝ่ ายหญิง มีเครื่ อง ดนตรี ประกอบจังหวะเพื่อความสนุกสนาน จนกระทังเพิ่มผูแสดงให้มีจานวนเท่ากับตัวละครที่มีใน ่ ้ เรื่ อง มีพระเอก นางเอก ตัวโกง ตัวตลก เสนา ครบถ้วน ซึ่ งพอจะแบ่งยุคของวิวฒนาการได้ดงนี้ ั ั ลา โบรา เป็ นการเล่านิทานของผูเ้ ฒ่าผูแก่ให้ลูกหลานฟัง ไม่มีท่าทาง และดนตรี ประกอบ ้ ณ ลาคู่ เป็ นการลาที่มีหมอลาชายหญิงสองคนลาสลับกัน มีเครื่ องดนตรี ประกอบ คือ แคน การ หรือ ลามีท้งลาเรื่ องนิทานโบราณคดีอีสาน เรี ยกว่า ลาเรื่ องต่อกลอน ลาทวย (ทายโจทย์) ั ลา ปัญหา ซึ่ งผูลาจะต้องมี ปฏิภาณไหวพริ บที่ดี สามารถตอบโต้ ยกเหตุผลมาหักล้างฝ่ าย ้ กลอน ตรงข้ามได้ ต่อมามีการเพิ่มผูลา ขึ้นอีกหนึ่งคน อาจเป็ นชายหรื อหญิง ก็ได้ การลาจะ ้ เปลี่ยนเป็ นเรื่ อง ชิงรัก หักสวาท ยาดชูยาดผัว เรี ยกว่า ลาชิงชู้ ้ ลาหมู่ เป็ นการลาที่มีผแสดงเพิ่มมากขึ้น จนเกือบจะครบตามจานวนตัวละครที่มีในเรื่ อง มี ู้ เครื่ องดนตรี ประกอบเพิ่มขึ้น เช่น พิณ (ซุง หรื อ ซึ ง) กลอง การลาจะมี 2 แนวทาง คือ ลาเวียง จะเป็ นการลาแบบลากลอน หมอลาแสดง เป็ นตัวละครตามบทบาทในเรื่ อง การดาเนินเรื่ องค่อนข้างช้า แต่ก็ได้อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลาได้ใช้พรสวรรค์ ของตัวเองในการลา ทั้งทางด้านเสี ยงร้อง ปฏิภาณไหวพริ บ และความจาเป็ นที่นิยมใน หมู่ผสูงอายุ ต่อมาเมื่อดนตรี ลูกทุ่งมีอิทธิพลมากขึ้นจึงเกิดวิวฒนาการของลาหมู่อีกครั้ง ู้ ั หนึ่ง กลายเป็ น ลาเพลิน ซึ่ งจะมีจงหวะที่เร้าใจชวนให้สนุกสนาน ก่อนการลาเรื่ อง ั ในช่วงหัวค่าจะมีการนาเอารู ปแบบของ วงดนตรี ลกทุ่งมาใช้เรี ยกคนดู กล่าวคือ จะมี ู ่ นักร้อง (หมอลา) มาร้อง เพลงลูกทุงที่กาลังฮิตในขณะนั้น มีหางเครื่ องเต้นประกอบ นาเอาเครื่ องดนตรี สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เช่น กีตาร์ คียบอร์ ด แซ็กโซโฟน ทรัมเปต ์ และกลองชุด โดยนามาผสมผสานเข้ากับเครื่ องดนตรี เดิมได้แก่ พิณ แคน ทาให้ได้ รสชาติของดนตรี ที่แปลกออกไป ยุคนี้นบว่า หมอลาเฟื่ องฟูมากที่สุด คณะหมอลาดังๆ ั ่ ส่วนใหญ่จะอยูในแถบจังหวัด ขอนแก่น มหาสารคาม อุบลราชธานี ลาซิ่ง หลังจากที่หมอลาคู่และหมอลาเพลิน ค่อยๆ เสื่ อมความนิยมลงไป อันเนื่องมาจากการ ก้าวเข้ามาของเทคโนโลยีวิทยุโทรทัศน์ ทาให้ดนตรี สตริ งเข้ามาแทรกในวิถีชีวิตของ ผูคนอีสาน ความนิยมของการชมหมอลา ค่อนข้างจะลดลงอย่างเห็นได้ชด จนเกิดความ ้ ั
  • 3. วิตกกังวลกันมากในกลุ่มนักอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน แต่แล้วมนต์ขลังของหมอ ลาก็ได้กลับมาอีกครั้ง ด้วยรู ปแบบที่สะเทือนวงการด้วยการแสดงที่เรี ยกว่า ลาซิ่ง ซึ่ ง เป็ นวิวฒนาการของลาคู่ (เพราะใช้หมอลา 2-3 คน) ใช้เครื่ องดนตรี สากลเข้าร่ วมให้ ั จังหวะเหมือนลาเพลิน มีหางเครื่ องเหมือนดนตรี ลูกทุ่ง กลอนลาสนุกสนานมีจงหวะอัน ั เร้าใจ ทาให้ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ ว จนกระทังระบาดไปสู่การแสดงพื้นบ้านอื่นให้ ่ ต้องประยุกต์ปรับตัว เช่น เพลงโคราชกลายมาเป็ นเพลงโคราชซิ่ ง กันตรึ มก็กลายเป็ น กันตรึ มร็ อค หนังปราโมทัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเป็ นปราโมทัยซิ่ ง ถึงกับมีการจัด ประกวดแข่งขัน บันทึกเทปโทรทัศน์จาหน่ายกันอย่างแพร่ หลาย จนถึงกับ มีบางท่าน ถึงกับกล่าวว่า"หมอลาไม่มีวนตาย จากลมหายใจชาวอีสาน" ั กลอนลาแบบต่างๆ กลอนที่นามาเสนอ ณ ที่น้ ี มีหลายกลอนที่มีคาหยาบโลนจานวนมาก บางท่านอาจจะทา ใจยอมรับไม่ได้ก็ตองกราบขออภัย เพราะผูจดทามีเจตนาที่จะเผยแพร่ ไว้เพื่อเป็ นการสื บสาน ้ ้ั วัฒนธรรมประเพณี มิได้มีเจตนาที่จะเสนอให้เป็ นเรื่ องลามกอนาจาร ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่า นี่ คือวิถีชีวิตของคนอีสาน กลอนลาทั้งหลายทั้งปวงผูลามีเจตนาจะทาให้เกิดความสนุกสนาน ตลก ้ ่ โปกฮาเป็ นที่ต้ง ท่านที่อยูในท้องถิ่นอื่นๆ ขอได้เข้าใจในเจตนาด้วยครับ สนใจในกลอนลาหัวข้อ ั ใดคลิกที่หวข้อนั้นเพื่อเข้าชมได้ครับ ั กลอนที่นามาร้องมาลามีมากมายหลายอย่าง จนไม่สามารถจะกล่าวนับหรื อแยกแยะได้ ่ หมด แต่เมื่อย่อรวมลงแล้วจะมีอยูสองประเภท คือ กลอนสั้นและกลอนยาว กลอน คือ คากลอนที่ส้ นๆ ใช้สาหรับลาเวลามีงานเล็กๆ น้อยๆ เช่น งานทาบุญบ้าน ั สั้ น หรื องานประจาปี เช่น งานบุญเดือนหก เป็ นต้น กลอนสั้น มีดงต่อไปนี้ ั 1. กลอนขึนลา ้ 2. กลอนลงลา 3. กลอนลาเหมิดคืน 4. กลอนโต้น 5. กลอนติง ่ 6. กลอนต่ง 7. กลอนอัศจรรย์ 8. กลอนสอย 9. กลอนหนังสื อเจียง 10. กลอนเต้ยหรือผญา 11. ลาสี พนดอน 12. ลาสั้ น เรื่อง ติดเสน่ ห์ ั
  • 4. กลอน คือ กลอนสาหรับใช้ลาในงานการกุศล งานมหรสพต่างๆ กลอนยาวนี้ใช้เวลาลา ยาว เป็ นชัวโมงบ้าง ครึ่ งชัวโมงบ้าง หรื อแล้วแต่กรณี ถ้าลาคนเดียวเช่น ลาพื้น หรื อ ่ ่ ลาเรื่ อง ต้องใช้เวลาลาเป็ นวันๆ คืนๆ ทั้งนี้แล้วแต่เรื่ องที่จะลาสั้นหรื อยาวแค่ ไหน แบ่งออกเป็ นหลายชนิดดังนี้ 1. กลอนประวัตศาสตร์ 2. กลอนลาพืนหรือลาเรื่อง 3. กลอนเซิ้ง ิ ้ 4. กลอนส้ อง 5. กลอนเพอะ 6. กลอนล่ องของ 7. กลอนเว้าสาว 8. กลอนฟอนแบบต่างๆ ้