SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
สาธารณรัฐประชาชนจีน
ประกอบรายวิชา IS1
นางสาวพรไพลิน แก้วมะไฟ
เลขที่ 9 ม.5/1
คำนำ
รายงานฉบับบนี้จัดทาขึ้นเพื่อการศึกษาวิชา is เพื่อให้ศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาให้
คุณครูที่น่ารักได้อ่าน
หวังว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถให้ความรู้ต่อผู้ที่สนใจศึกษา หรือนาไปเป็น
แนวทางในการศึกษาอื่นๆได้ หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาก็ต้องขอ
อภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
จัดทำโดย
นำงสำวพรไพลิน แก้วมะไฟ
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
ข้อมูลพื้นฐาน 1
สภาพภูมิประเทศ 2
ระบบการปกครอง 3
การแบ่งเขตการปกครอง 4
ชนชาติ 5
วันชาติและเงินตรา 6
เวลาและการคมนาคมภายในประเทศ 7
ธงชาติจีน 8
วันสถาปนาความสัมพันธ์ไทย – จีน 9 - 11
เขตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน 12
มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง 13
บรรณานุกรม 14
สำธำรณรัฐประชำชนจีน
ThePeople’sRepublicofChina
1. ข้อมูลพื้นฐาน
1.1 เมืองหลวง ปักกิ่งหรือเปุยจิ่งตามภาษาราชการจีน
1.2 พื้นที่ 9,596,960 ตารางกิโลเมตร พรมแดนทางบกยาวกว่า 20,000 กิโลเมตร
พื้นน้า 270,550 ตารางกิโลเมตร
1.3 ประชากร ประมาณ 1,370 ล้านคน (ปี 2010)
1.4 ที่ตั้ง ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย
ทิศเหนือ ติดคาซัคสถาน มองโกเลีย รัสเซีย
ทิศตะวันออก ติดเคอรแกิซสถาน เกาหลีเหนือ ฮ่องกง
ทิศตะวันตก ติดอัฟกานิสถาน ปากีสถาน ทาจิกิสถาน
ทิศใต้ ติดภูฐาน พม่า อินเดีย ลาว เนปาล เวียดนาม
1.5 ภูมิประเทศ
ทางตะวันออกตามแนวชายฝั้งที่ติดกับทะเลเหลืองและทะเลจีนตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มตะกอนน้า ตาม
ชายขอบของที่ราบสูงมองโกเลียในทางตอนเหนือเป็นทุ่งหญ้า ตอนใต้ของจีนนั้นเป็นดินแดนหุบเขาและแนว
เทือกเขาระดับต่าเป็นจานวนมาก ทางตอนกลาง – ตะวันตกนั้นเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้าของแม่น้าสอง
1.6 ภูมิอากาศ
ประเทศจีนมีภูมิอากาศที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น ลักษณะอากาศเป็นแบบอบอุ่นกึ่งชุ่มชื้น
อยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเขตอบอุ่น
แบ่งเป็น 4 ฤดู ช่วงฤดูใบไม้ผลิ และใบไม้ร่วง ระยะเวลาสั้นมาก มีฤดูร้อน
และหนาวที่ยาวนาน โดยฤดูหนาวในปใกกิ่งเริ่มตั้งแต่เดือน ธันวาคม - มีนาคม ซึ่งอุณหภูมิ
มักต่ากว่า 0 องศาเซลเซียส
ขณะที่ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม และมีฝนตกบ่อยในช่วง เดือนกรกฎาคมถึง
สิงหาคม อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 13 องศาเซลเซียส
อากาศหนาวเย็นที่สุดในเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุด-3.7 องศา
เดือนกรกฎาคม อากาศร้อนจัด อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 25.2 องศา
สภำพภูมิประเทศ
1.7 ระบบการปกครอง
การปกครองเป็นแบบระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสตแจีนเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอานาจ
ในการกาหนดนโยบายต่างๆ โดยมีพรรคคอมมิวนิสตแจีนเป็นสถานบันทางการเมืองมีอานาจเด็ดขาดและสูงสุด
สวนคณะรัฐบาลที่เรียกว่า คณะมุขมนตรี (State Council) และองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่กาหนด
แผนพัฒนาประเทศ นโยบาย และมาตรการ เพื่อปฏิบัติตามมติยุทธศาสตร์ และข้อชี้แนะที่พรรคกาหนด
1.8 โครงสร้างระบบบริหารประเทศ
โครงสร้างระบบบริหารประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ การบริหาร
ระดับประเทศ และ การบริหารในระดับท้องถิ่น
1.8.1 การบริหารระดับประเทศ (ส่วนกลาง) โดยรัฐบาลกลางเป็นองค์กรที่มีอานาจควบคุมการประ
ครองทั่วทั้งประเทศ โดยมีสถาบันบริหาร ได้แก่ สภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติ (National People’s
Congress: NPC) ประธานาธิบดี และคณะรัฐบาลบริหารตามมติพรรคคอมมิวนิสตแจีน และผ่านการเห็นชอบ
ของสภา NPC โดยคณะรัฐบาลจีน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี (Premier) รองนายกรัฐมนตรี (Vice
Premier) มนตรีแห่งรัฐ (State Counsellors) และรัฐมนตรี (Ministers) กระทรวงต่างๆ ประธาน
คณะกรรมการและสานักต่างๆที่ขึ้นตรงต่อสานักนายกฯ มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง อยู่ตาแหน่งคราวละ 5 ปีและไม่เกิน
2 สมัย
1.8.2 การบริหารในระดับท้องถิ่น ในระดับ มณฑล/มหานคร/เขตปกครองตนเอง และ
ระดับท้องถิ่นอื่นๆ มีอานาจและสิทธิในการบริหารจัดการในระดับหนึ่ง แต่ต้องสอดคล้องและไม่ขัดกับนโยบาย
หรือกฎหมายระดับประเทศ
1.10 การแบ่งเขตการปกครอง
1.10.1 สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอานาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล และถือว่าไต้หวัน
เป็นมณฑลที่ 23 ของตน ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีอานาจการปกครองเหนือไต้หวันซึ่งปใจจุบันอยู่ภายใต้
การปกครองของสาธารณรัฐจีน
1.10.2 นอกจากนี้ยังแบ่ง
เขตการปกครองเป็นเขตปกครองตนเอง 5 แห่ง แต่ละแห่งมีชื่อตามชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่
1.10.3 มหานคร 4 แห่ง
1.10.4 เขตบริหารพิเศษ 2 แห่ง ซึ่งมีสิทธิ์ปกครองตนเองอยู่ในระดับหนึ่ง
ทั้งนี้ ตั้งแต่ข้อ 1.10.1-1.10.3 ถูกเรียกรวมกันว่า "จีนแผ่นดินใหญ่" ยกเว้นฮ่องกง และมาเก฿า
1.11 ชนชาติ
มี 56 ชนชาติเป็นชาวฮั่นร้อยละ 93.3 ที่เหลือ ร้อยละ 6.7เป็นชนกลุ่มน้อย จานวน 55 เผ่า
อาทิ ชนเผ่าจ้วง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองกว้างซีและมณฑลยูนนาน ชนเผ่าหุยในมณฑล หนิงเซี่ย
และกานซูชนเผ่าอุยกูร์ในมณฑลซินเกียง ชนเผ่าหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผ่าทิเบตในเขตปกครองตนเองทิเบต
และมณฑลชิงไห่ ชนเผ่าแม่วในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ชนเผ่าแมนจู ในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชนเผ่ามองโกลในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในและซินเจียง ชนเผ่าไตหรือไท ในมณฑลยูนนาน และชนเผ่า
เกาซันในไต้หวัน
1.12 ศาสนา
ลัทธิขงจื้อ เต๋า พุทธ อิสลาม และคริสต์
1.13 ภาษา
ภาษาจีนกลาง (แมนดารินหรือผู้ทงฮว้า) เป็นภาษาราชการ มีภาษาท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น
ภาษากวางตุ้ง ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาหมินหนาน เป็นต้น
1.14 วันหยุดนักขัตฤกษ์มีวันหยุดรวมทั้งสิ้น 11 วัน ได้แก่ วันปีใหม่หยุด 1 วัน วันแรงงานหยุด 1 วัน
วันชาติจีนหยุด 3 วัน วันตรุษจีนหยุด 3 วัน วันเทศกาลเชงเม้งหยุด 1 วัน
วันเทศกาลขนมบ๊ะจ่างหยุด 1 วัน วันเทศกาลวันไหว้พระจันทรแหยุด 1 วัน
1.11 ชนชาติ
มี 56 ชนชาติเป็นชาวฮั่นร้อยละ 93.3 ที่เหลือ ร้อยละ 6.7เป็นชนกลุ่มน้อย จานวน 55 เผ่า
อาทิ ชนเผ่าจ้วง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองกว้างซีและมณฑลยูนนาน ชนเผ่าหุยในมณฑล หนิงเซี่ย
และกานซูชนเผ่าอุยกูร์ในมณฑลซินเกียง ชนเผ่าหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผ่าทิเบตในเขตปกครองตนเองทิเบต
และมณฑลชิงไห่ ชนเผ่าแม้วในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ชนเผ่าแมนจู ในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชนเผ่ามองโกลในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในและซินเจียง ชนเผ่าไตหรือไท ในมณฑลยูนนาน และชนเผ่า
เกาซันในไต้หวัน
1.15 วันชาติ
1 ตุลาคม ทั้งนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อ 1 ตุลาคม 1949
ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสตแจีนมีชัยชนะในสงครามกลางเมืองเหนือพรรคก฿กหมินตั๋ง
1.16 เงินตรา
สกุลเงินเรียกว่า“เหรินหมินปี้” มีหน่วยเรียกเป็น “หยวน”
1 หยวน มีค่าเทากับ 10 เจี่ยว (Jiao)
1 เจี่ยว มีค่าเท่ากับ 10 เฟิน (Fen)
ทั้งนี้ในภาษาพูดคนจีนนิยมใช้คาว่า ไคว่ (Kuai) แทน หยวน และ เหมา (Mao) แทน เจี่ยว
1.17 เวลำ
เวลำในสำธำรณรัฐประชำชนจีนเร็วกว่ำประเทศไทย 1 ชั่วโมง
18 กำรคมนำคมภำยในประเทศ
กระทรวงคมนำคมจีนวำงแผนที่จะใช้งบประมำณ 6.2 ล้ำนล้ำนหยวน หรือคิดเป็น 9.54 แสนล้ำน
เหรียญสหรัฐฯ เพื่อยกระดับสำธำรณูปโภคด้ำนกำรขนส่งในช่วงปี 2012 - 2015 ตำมแผนพัฒนำฉบับที่ 12
ระยะเวลำ 5 ปี โดยมีกำรลงทุนเมื่อปี 2006 - 2010 จำนวน 4.7 ล้ำนล้ำนหยวน งบประมำณดังกล่ำวจะ
นำไปใช้ในกำรก่อสร้ำงถนนและช่องทำงคมนำคมทำงนำซึ่งงบประมำณส่วนใหญ่จะอยู่ที่กำรก่อสร้ำงถนนตำม
แผนพัฒนำของกระทรวงนัน นอกจำกนี จีนวำงแผนจะก่อสร้ำงทำงหลวงระยะทำง 108,000 กิโลเมตรตำม
แผนพัฒนำ 5 ปี ฉบับที่ 12 โดยคำดว่ำในช่วงสินปี 2015 เครือข่ำยทำงหลวงของจีนจะครอบคลุมเมืองต่ำงๆ
กว่ำร้อยละ 90 ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชำกรกว่ำ 200,000 คน
ทำงบก สถิติจำกกระทรวงคมนำคมของจีนระบุว่ำ ปี 2007 ทั่วประเทศจีนได้สร้ำงทำงด่วนรวม
ระยะทำงประมำณ 8,300 กิโลเมตร นับเป็นรอบปีที่สร้ำงทำงด่วนยำวที่สุดในประวัติศำสตรแจีน จนถึงปลำยปี
2007 จีนมีทำงหลวงทังหมด 3,573,000 กิโลเมตร รวมทังทำงด่วนสูงถึง 53,600 กิโลเมตร ปใจจุบัน จีนมี
22 มณฑล (ไม่รวมไต้หวัน) เขตปกครองตนเอง และเมืองที่ขึนตรงต่อรัฐบำลกลำงที่มีระยะทำงทำงด่วนกว่ำ
แห่งละ 1,000 กิโลเมตรแล้ว มณฑลซันตงและมณฑลเหอหนันต่ำงมีสูงกว่ำ 4,000 กิโลเมตร
1.19 ธงชาติจีน
ธงชาติจีนเป็นรูปดาวสีเหลือง 5 ดวงบนพื้นสีแดง พื้นสีแดงหมายถึง สัญลักษณแ ของการปฎิวัติจีน ดาว
สีเหลีอง 5 ดวง ดาวดวงใหญ่ หมายถึง ผู้นาแห่งกิจการงานทั้งปวง ได้แก่ พรรคคอมมิวนิสตแแห่งชาติจีน ดาว
ดวงเล็ก 4 ดวง หมายถึงชนชั้นหลักทั้ง 4 ในสังคมจีน คือ ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นเกษตรกร ชนชั้นนายทุนน้อย
และชนชั้นนายทุนแห่งชาติ สีเหลืองหมายถึง ชาวจีนซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มคนผิวเหลือง และประเทศที่มีดินแดนสี
เหลืองเป็นผืนแผ่นดินส่วนใหญ่
ธงชาติจีน
1.20 วันสถาปนาความสัมพันธ์ไทย – จีน
ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1975
ความสัมพันธ์ไทย-จีนดาเนินมาด้วยความราบรื่นบนพื้นฐานของความเสมอภาค เคารพซึ่งกันและกัน ไม่
แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน และอยู่ภายใต้หลักการของผลประโยชน์ร่วมกัน
1.22 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ปี ฉบับที่ 12 ของจีน
สภาที่ปรึกษาการเมืองแห่งชาติจีน (ชุดที่ 11) ได้เปิดประชุมสามัญประจาปี ครั้งที่ 4 ขึ้นที่มหาศาลา
ประชาชน ณ กรุงปใกกิ่ง เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2011 โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมกว่า 2,000 คนจากทั่ว
ประเทศ และได้มีการยื่นร่างแผนพัฒนาฉบับที่ 12 ให้ National People’s Congress (NPC) ซึ่งเป็น
หน่วยงานนิติบัญญัติสูงสุดของจีน โดยจะเริ่มใช้ระหว่างปี 2011 – 2015 และมีสาระสาคัญด้านการบริการ
สาธารณะขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน การมุ่งเสริมสร้างและลดช่องว่างด้านรายได้ ให้สังคมพออยู่พอกิน
แบบทั่วถึง ลดการพึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศ เน้นการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การพัฒนา
เศรษฐกิจทางทะเลและการพัฒนาด้านการเงินตามแผนปฏิรูปสถาบันการเงินของจีน เพื่อสร่างความเข้มแข็ง
ให้ภาคเอกชนในระยะ 5 ปีข้างหน้า ทั้งนี้เมื่อรัฐบาลจีนประกาศแผนแล้วก็จะให้ความสาคัญและมีการ
ดาเนินการอย่างจริงจังเพื่อบรรลุตามแผนที่วางไว้
ด้ำนเศรษฐกิจ
จีนกำลังปรับเปลี่ยนรูปแบบของกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ซึ่งมิได฾มุ฾งเน฾นแค฾กำรพัฒนำด฾ำนเศรษฐกิจ
เท่ำนันแต่จะรวมไปถึงกำรพัฒนำด้ำนสังคมด้วย จีนได฾ระบุถึงเปูำหมำยกำรเปิดเสรีและจีนจะมุ฾งขยำยอุป
สงคแ
ภำยในประเทศพร้อมๆ กับกำรพยำยำมลดระดับกำรพึ่งพำทำงเศรษฐกิจจำกโลกภำยนอก ซึ่งจะเป็น
ยุทธศำสตรแกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจในระยะยำวของจีนต่อไป นอกจำกนีจีนยังมีแนวโน้มมุ่งพัฒนำ
อุตสำหกรรมเชิงยุทธศำสตรแ ได้แก่ เทคโนโลยีข้อมูลข่ำวสำร กำรประหยัดพลังงำนและรักษำสิ่งแวดล้อม
พลังงำนทดแทน อุตสำหกรรมชีวภำพ อุตสำหกรรมผลิตอุปกรณแชันสูง (Hi-end equipment)
อุตสำหกรรม
ผลิตวัสดุใหม฾และอุตสำหกรรมรถยนตแพลังงำนทดแทน เป็นต฾น
นอกจำกนี รัฐบำลจีนได฾กำหนดบทบำทและพัฒนำอุตสำหกรรม ตำมศักยภำพและควำมโดดเด฾น
ของเมือง นัน ๆ ให฾มีกำรพัฒนำยิ่งขึน อำทิ
เมืองซูโจว เป็นเมืองที่มีกำรลงทุนจำกต฾ำงชำติมำกที่สุด โดยเฉพำะสำขำอิเล็กทรอนิกสแ
เมืองชิงเต฾ำ เป็นเมืองสำคัญในกำรนำเข฾ำสินแร฾เหล็กในจีนและเป็นศูนยแกระจำยสินแร฾เหล็ก
โดยใช฾ท฾ำเรือชิงเต฾ำเป็นศูนยแกลำงในกำรค฾ำ กำรกระจำยสินค฾ำ กำรขนส฾งสินแร฾เหล็ก
เมืองเซินเจิน เป็นเมืองที่โดดเด฾นด฾ำนอุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิกสแ โดยเฉพำะโทรศัพทแมือถือ
และอุปกรณแ
1.23 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย-สาธารณรัฐประชาชนจีน
ไทยกับจีนมีความผูกพันและติดต่อกันมาอย่างยาวนานตั้งแต่โบราณ ไทยและจีนเริ่มมีการไปมาหาสู่
กันระหว่าง ราชทูตของทั้งสองประเทศในสมัยจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ของราชวงศแซีฮั่น (ฮั่นตะวันตก) และที่เด่นชัด
ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับจีน ซึ่งมีการติดต่อค้าขายระหว่างกันและไทยได้รับเทคโนโลยี
เครื่องปั้นดินเผามาจากจีนในช่วงเวลาดังกล่าว ความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างไทยกับจีน น่าจะเริ่มมีขึ้น
ในช่วงนี้ด้วย จากการอพยพของชาวจีนในช่วงสงครามสมัยราชวงศ์หยวนและในช่วงต้นราชวงศแหมิงและนับ
จากนั้นมา ก็ได้มีการติดต่อค้าขายกันมาโดยตลอด การอพยพของชาวจีนจานวนมากเข้ามาตั้งรกรากในไทย
โดยเฉพาะในช่วงสงครามโลกและสงครามกลางเมืองของจีน ในทศวรรษที่ 1930 – 1950 มีชาวจีนจานวน
มากจากมณฑลทางใต้ของจีน อาทิเช้น กวางตุ้ง ไห่หนาน ฝูเจี้ยนและกว่างซี หลบหนีภัยสงครามและความ
อดอยากเข้ามาอยู่ในประเทศไทย จึงกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนได้มีมาอย่างยาวนานและ
แน่นแฟูนเปรียบเสมือนเป็นพี่น้องกัน
2. เขตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน
2.1 การแบ่งเขตการปกครองของจีน แบ่งเขตการปกครองเป็น 23 มณฑล 5 เขตปกครองตนเอง
4 มหานคร และ 2 เขตบริหารพิเศษ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การปกครองส่วนกลาง แบ่งออกเป็น 23 มณฑล ได้แก่
1. อันฮุย (Anhui) 14.จี๋หลิน (Jilin)
2. ฝูเจี้ยน (Fujian) 15.เหลียวหนิง (Liaoning)
3. กานซู(Gansu) 16.ชิงไห่ (Qinghai)
4. กว่างตง (Guangdong) 17.ส่านซี(Shaanxi)
5. กุ้ยโจว (Guizhou) 18.ซานตง (Shandong)
6. ไห่หนาน (Hainan) 19.ซานซี(Shanxi)
7. เหอเปุยแ(Hebei) 20.ซื่อชวน (Sichuan)
8. เฮยแหลงเจียง (Heilongjiang) 21.*ไต้หวัน (Taiwan)
9. เหอหนัน (Henan) 22.หยุนหนาน (Yunnan)
10.หูเปุยแ(Hubei) 23.เจ้อเจียง (Zhejiang)
11.หูหนาน (Hunan)
12.เจียงซู(Jiangsu)
13.เจียงซี(Jiangxi)
มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง มี 4 มหานคร ได้แก่
1. เปุยแจิง (Beijing)
2. ฉงชิ่ง (Chongqing)
3. ซ่างไห่ (Shanghai)
4. เทียนจิน (Tianjin)
เขตปกครองตนเอง มี 5 เขตปกครองตนเอง ได้แก่
1. กว่างซีจ้วง (Guangxi)
2. มองโกเลียใน (Inner Mongolia)
3. หนิงเซี่ยหุย (Ningxia)
4. ซินเจียงอุยกูรแ (Xinjiang)
5. ซีจ้าง (Xizang)
เขตบริหารพิเศษ มี 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่
1. ฮ่องกง (Hong Kong)
2. มาเก๋า (Macau)
บรรณานุกรม
------. “ข้อมูลทั่วไป,” สาธารณรัฐประชาชนจีน. 11 สิงหาคม 2564
(https://www.ditp.go.th › contents_attach) 11 สิงหาคม 2564

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 

สอบกลางภาค

  • 2. คำนำ รายงานฉบับบนี้จัดทาขึ้นเพื่อการศึกษาวิชา is เพื่อให้ศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาให้ คุณครูที่น่ารักได้อ่าน หวังว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถให้ความรู้ต่อผู้ที่สนใจศึกษา หรือนาไปเป็น แนวทางในการศึกษาอื่นๆได้ หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาก็ต้องขอ อภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย จัดทำโดย นำงสำวพรไพลิน แก้วมะไฟ
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้า ข้อมูลพื้นฐาน 1 สภาพภูมิประเทศ 2 ระบบการปกครอง 3 การแบ่งเขตการปกครอง 4 ชนชาติ 5 วันชาติและเงินตรา 6 เวลาและการคมนาคมภายในประเทศ 7 ธงชาติจีน 8 วันสถาปนาความสัมพันธ์ไทย – จีน 9 - 11 เขตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน 12 มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง 13 บรรณานุกรม 14
  • 4. สำธำรณรัฐประชำชนจีน ThePeople’sRepublicofChina 1. ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 เมืองหลวง ปักกิ่งหรือเปุยจิ่งตามภาษาราชการจีน 1.2 พื้นที่ 9,596,960 ตารางกิโลเมตร พรมแดนทางบกยาวกว่า 20,000 กิโลเมตร พื้นน้า 270,550 ตารางกิโลเมตร 1.3 ประชากร ประมาณ 1,370 ล้านคน (ปี 2010) 1.4 ที่ตั้ง ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย ทิศเหนือ ติดคาซัคสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทิศตะวันออก ติดเคอรแกิซสถาน เกาหลีเหนือ ฮ่องกง ทิศตะวันตก ติดอัฟกานิสถาน ปากีสถาน ทาจิกิสถาน ทิศใต้ ติดภูฐาน พม่า อินเดีย ลาว เนปาล เวียดนาม 1.5 ภูมิประเทศ ทางตะวันออกตามแนวชายฝั้งที่ติดกับทะเลเหลืองและทะเลจีนตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มตะกอนน้า ตาม ชายขอบของที่ราบสูงมองโกเลียในทางตอนเหนือเป็นทุ่งหญ้า ตอนใต้ของจีนนั้นเป็นดินแดนหุบเขาและแนว เทือกเขาระดับต่าเป็นจานวนมาก ทางตอนกลาง – ตะวันตกนั้นเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้าของแม่น้าสอง
  • 5. 1.6 ภูมิอากาศ ประเทศจีนมีภูมิอากาศที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น ลักษณะอากาศเป็นแบบอบอุ่นกึ่งชุ่มชื้น อยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเขตอบอุ่น แบ่งเป็น 4 ฤดู ช่วงฤดูใบไม้ผลิ และใบไม้ร่วง ระยะเวลาสั้นมาก มีฤดูร้อน และหนาวที่ยาวนาน โดยฤดูหนาวในปใกกิ่งเริ่มตั้งแต่เดือน ธันวาคม - มีนาคม ซึ่งอุณหภูมิ มักต่ากว่า 0 องศาเซลเซียส ขณะที่ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม และมีฝนตกบ่อยในช่วง เดือนกรกฎาคมถึง สิงหาคม อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 13 องศาเซลเซียส อากาศหนาวเย็นที่สุดในเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุด-3.7 องศา เดือนกรกฎาคม อากาศร้อนจัด อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 25.2 องศา สภำพภูมิประเทศ
  • 6. 1.7 ระบบการปกครอง การปกครองเป็นแบบระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสตแจีนเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอานาจ ในการกาหนดนโยบายต่างๆ โดยมีพรรคคอมมิวนิสตแจีนเป็นสถานบันทางการเมืองมีอานาจเด็ดขาดและสูงสุด สวนคณะรัฐบาลที่เรียกว่า คณะมุขมนตรี (State Council) และองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่กาหนด แผนพัฒนาประเทศ นโยบาย และมาตรการ เพื่อปฏิบัติตามมติยุทธศาสตร์ และข้อชี้แนะที่พรรคกาหนด 1.8 โครงสร้างระบบบริหารประเทศ โครงสร้างระบบบริหารประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ การบริหาร ระดับประเทศ และ การบริหารในระดับท้องถิ่น 1.8.1 การบริหารระดับประเทศ (ส่วนกลาง) โดยรัฐบาลกลางเป็นองค์กรที่มีอานาจควบคุมการประ ครองทั่วทั้งประเทศ โดยมีสถาบันบริหาร ได้แก่ สภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติ (National People’s Congress: NPC) ประธานาธิบดี และคณะรัฐบาลบริหารตามมติพรรคคอมมิวนิสตแจีน และผ่านการเห็นชอบ ของสภา NPC โดยคณะรัฐบาลจีน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี (Premier) รองนายกรัฐมนตรี (Vice Premier) มนตรีแห่งรัฐ (State Counsellors) และรัฐมนตรี (Ministers) กระทรวงต่างๆ ประธาน คณะกรรมการและสานักต่างๆที่ขึ้นตรงต่อสานักนายกฯ มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง อยู่ตาแหน่งคราวละ 5 ปีและไม่เกิน 2 สมัย 1.8.2 การบริหารในระดับท้องถิ่น ในระดับ มณฑล/มหานคร/เขตปกครองตนเอง และ ระดับท้องถิ่นอื่นๆ มีอานาจและสิทธิในการบริหารจัดการในระดับหนึ่ง แต่ต้องสอดคล้องและไม่ขัดกับนโยบาย หรือกฎหมายระดับประเทศ
  • 7. 1.10 การแบ่งเขตการปกครอง 1.10.1 สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอานาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล และถือว่าไต้หวัน เป็นมณฑลที่ 23 ของตน ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีอานาจการปกครองเหนือไต้หวันซึ่งปใจจุบันอยู่ภายใต้ การปกครองของสาธารณรัฐจีน 1.10.2 นอกจากนี้ยังแบ่ง เขตการปกครองเป็นเขตปกครองตนเอง 5 แห่ง แต่ละแห่งมีชื่อตามชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ 1.10.3 มหานคร 4 แห่ง 1.10.4 เขตบริหารพิเศษ 2 แห่ง ซึ่งมีสิทธิ์ปกครองตนเองอยู่ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ ตั้งแต่ข้อ 1.10.1-1.10.3 ถูกเรียกรวมกันว่า "จีนแผ่นดินใหญ่" ยกเว้นฮ่องกง และมาเก฿า 1.11 ชนชาติ มี 56 ชนชาติเป็นชาวฮั่นร้อยละ 93.3 ที่เหลือ ร้อยละ 6.7เป็นชนกลุ่มน้อย จานวน 55 เผ่า อาทิ ชนเผ่าจ้วง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองกว้างซีและมณฑลยูนนาน ชนเผ่าหุยในมณฑล หนิงเซี่ย และกานซูชนเผ่าอุยกูร์ในมณฑลซินเกียง ชนเผ่าหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผ่าทิเบตในเขตปกครองตนเองทิเบต และมณฑลชิงไห่ ชนเผ่าแม่วในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ชนเผ่าแมนจู ในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชนเผ่ามองโกลในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในและซินเจียง ชนเผ่าไตหรือไท ในมณฑลยูนนาน และชนเผ่า เกาซันในไต้หวัน
  • 8. 1.12 ศาสนา ลัทธิขงจื้อ เต๋า พุทธ อิสลาม และคริสต์ 1.13 ภาษา ภาษาจีนกลาง (แมนดารินหรือผู้ทงฮว้า) เป็นภาษาราชการ มีภาษาท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ภาษากวางตุ้ง ภาษาเซี่ยงไฮ้ ภาษาหมินหนาน เป็นต้น 1.14 วันหยุดนักขัตฤกษ์มีวันหยุดรวมทั้งสิ้น 11 วัน ได้แก่ วันปีใหม่หยุด 1 วัน วันแรงงานหยุด 1 วัน วันชาติจีนหยุด 3 วัน วันตรุษจีนหยุด 3 วัน วันเทศกาลเชงเม้งหยุด 1 วัน วันเทศกาลขนมบ๊ะจ่างหยุด 1 วัน วันเทศกาลวันไหว้พระจันทรแหยุด 1 วัน 1.11 ชนชาติ มี 56 ชนชาติเป็นชาวฮั่นร้อยละ 93.3 ที่เหลือ ร้อยละ 6.7เป็นชนกลุ่มน้อย จานวน 55 เผ่า อาทิ ชนเผ่าจ้วง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองกว้างซีและมณฑลยูนนาน ชนเผ่าหุยในมณฑล หนิงเซี่ย และกานซูชนเผ่าอุยกูร์ในมณฑลซินเกียง ชนเผ่าหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผ่าทิเบตในเขตปกครองตนเองทิเบต และมณฑลชิงไห่ ชนเผ่าแม้วในมณฑลยูนนานและกุ้ยโจว ชนเผ่าแมนจู ในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชนเผ่ามองโกลในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในและซินเจียง ชนเผ่าไตหรือไท ในมณฑลยูนนาน และชนเผ่า เกาซันในไต้หวัน
  • 9. 1.15 วันชาติ 1 ตุลาคม ทั้งนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อ 1 ตุลาคม 1949 ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสตแจีนมีชัยชนะในสงครามกลางเมืองเหนือพรรคก฿กหมินตั๋ง 1.16 เงินตรา สกุลเงินเรียกว่า“เหรินหมินปี้” มีหน่วยเรียกเป็น “หยวน” 1 หยวน มีค่าเทากับ 10 เจี่ยว (Jiao) 1 เจี่ยว มีค่าเท่ากับ 10 เฟิน (Fen) ทั้งนี้ในภาษาพูดคนจีนนิยมใช้คาว่า ไคว่ (Kuai) แทน หยวน และ เหมา (Mao) แทน เจี่ยว
  • 10. 1.17 เวลำ เวลำในสำธำรณรัฐประชำชนจีนเร็วกว่ำประเทศไทย 1 ชั่วโมง 18 กำรคมนำคมภำยในประเทศ กระทรวงคมนำคมจีนวำงแผนที่จะใช้งบประมำณ 6.2 ล้ำนล้ำนหยวน หรือคิดเป็น 9.54 แสนล้ำน เหรียญสหรัฐฯ เพื่อยกระดับสำธำรณูปโภคด้ำนกำรขนส่งในช่วงปี 2012 - 2015 ตำมแผนพัฒนำฉบับที่ 12 ระยะเวลำ 5 ปี โดยมีกำรลงทุนเมื่อปี 2006 - 2010 จำนวน 4.7 ล้ำนล้ำนหยวน งบประมำณดังกล่ำวจะ นำไปใช้ในกำรก่อสร้ำงถนนและช่องทำงคมนำคมทำงนำซึ่งงบประมำณส่วนใหญ่จะอยู่ที่กำรก่อสร้ำงถนนตำม แผนพัฒนำของกระทรวงนัน นอกจำกนี จีนวำงแผนจะก่อสร้ำงทำงหลวงระยะทำง 108,000 กิโลเมตรตำม แผนพัฒนำ 5 ปี ฉบับที่ 12 โดยคำดว่ำในช่วงสินปี 2015 เครือข่ำยทำงหลวงของจีนจะครอบคลุมเมืองต่ำงๆ กว่ำร้อยละ 90 ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชำกรกว่ำ 200,000 คน ทำงบก สถิติจำกกระทรวงคมนำคมของจีนระบุว่ำ ปี 2007 ทั่วประเทศจีนได้สร้ำงทำงด่วนรวม ระยะทำงประมำณ 8,300 กิโลเมตร นับเป็นรอบปีที่สร้ำงทำงด่วนยำวที่สุดในประวัติศำสตรแจีน จนถึงปลำยปี 2007 จีนมีทำงหลวงทังหมด 3,573,000 กิโลเมตร รวมทังทำงด่วนสูงถึง 53,600 กิโลเมตร ปใจจุบัน จีนมี 22 มณฑล (ไม่รวมไต้หวัน) เขตปกครองตนเอง และเมืองที่ขึนตรงต่อรัฐบำลกลำงที่มีระยะทำงทำงด่วนกว่ำ แห่งละ 1,000 กิโลเมตรแล้ว มณฑลซันตงและมณฑลเหอหนันต่ำงมีสูงกว่ำ 4,000 กิโลเมตร
  • 11. 1.19 ธงชาติจีน ธงชาติจีนเป็นรูปดาวสีเหลือง 5 ดวงบนพื้นสีแดง พื้นสีแดงหมายถึง สัญลักษณแ ของการปฎิวัติจีน ดาว สีเหลีอง 5 ดวง ดาวดวงใหญ่ หมายถึง ผู้นาแห่งกิจการงานทั้งปวง ได้แก่ พรรคคอมมิวนิสตแแห่งชาติจีน ดาว ดวงเล็ก 4 ดวง หมายถึงชนชั้นหลักทั้ง 4 ในสังคมจีน คือ ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นเกษตรกร ชนชั้นนายทุนน้อย และชนชั้นนายทุนแห่งชาติ สีเหลืองหมายถึง ชาวจีนซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มคนผิวเหลือง และประเทศที่มีดินแดนสี เหลืองเป็นผืนแผ่นดินส่วนใหญ่ ธงชาติจีน
  • 12. 1.20 วันสถาปนาความสัมพันธ์ไทย – จีน ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1975 ความสัมพันธ์ไทย-จีนดาเนินมาด้วยความราบรื่นบนพื้นฐานของความเสมอภาค เคารพซึ่งกันและกัน ไม่ แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน และอยู่ภายใต้หลักการของผลประโยชน์ร่วมกัน 1.22 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ปี ฉบับที่ 12 ของจีน สภาที่ปรึกษาการเมืองแห่งชาติจีน (ชุดที่ 11) ได้เปิดประชุมสามัญประจาปี ครั้งที่ 4 ขึ้นที่มหาศาลา ประชาชน ณ กรุงปใกกิ่ง เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2011 โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมกว่า 2,000 คนจากทั่ว ประเทศ และได้มีการยื่นร่างแผนพัฒนาฉบับที่ 12 ให้ National People’s Congress (NPC) ซึ่งเป็น หน่วยงานนิติบัญญัติสูงสุดของจีน โดยจะเริ่มใช้ระหว่างปี 2011 – 2015 และมีสาระสาคัญด้านการบริการ สาธารณะขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน การมุ่งเสริมสร้างและลดช่องว่างด้านรายได้ ให้สังคมพออยู่พอกิน แบบทั่วถึง ลดการพึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศ เน้นการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การพัฒนา เศรษฐกิจทางทะเลและการพัฒนาด้านการเงินตามแผนปฏิรูปสถาบันการเงินของจีน เพื่อสร่างความเข้มแข็ง ให้ภาคเอกชนในระยะ 5 ปีข้างหน้า ทั้งนี้เมื่อรัฐบาลจีนประกาศแผนแล้วก็จะให้ความสาคัญและมีการ ดาเนินการอย่างจริงจังเพื่อบรรลุตามแผนที่วางไว้
  • 13. ด้ำนเศรษฐกิจ จีนกำลังปรับเปลี่ยนรูปแบบของกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ซึ่งมิได฾มุ฾งเน฾นแค฾กำรพัฒนำด฾ำนเศรษฐกิจ เท่ำนันแต่จะรวมไปถึงกำรพัฒนำด้ำนสังคมด้วย จีนได฾ระบุถึงเปูำหมำยกำรเปิดเสรีและจีนจะมุ฾งขยำยอุป สงคแ ภำยในประเทศพร้อมๆ กับกำรพยำยำมลดระดับกำรพึ่งพำทำงเศรษฐกิจจำกโลกภำยนอก ซึ่งจะเป็น ยุทธศำสตรแกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจในระยะยำวของจีนต่อไป นอกจำกนีจีนยังมีแนวโน้มมุ่งพัฒนำ อุตสำหกรรมเชิงยุทธศำสตรแ ได้แก่ เทคโนโลยีข้อมูลข่ำวสำร กำรประหยัดพลังงำนและรักษำสิ่งแวดล้อม พลังงำนทดแทน อุตสำหกรรมชีวภำพ อุตสำหกรรมผลิตอุปกรณแชันสูง (Hi-end equipment) อุตสำหกรรม ผลิตวัสดุใหม฾และอุตสำหกรรมรถยนตแพลังงำนทดแทน เป็นต฾น นอกจำกนี รัฐบำลจีนได฾กำหนดบทบำทและพัฒนำอุตสำหกรรม ตำมศักยภำพและควำมโดดเด฾น ของเมือง นัน ๆ ให฾มีกำรพัฒนำยิ่งขึน อำทิ เมืองซูโจว เป็นเมืองที่มีกำรลงทุนจำกต฾ำงชำติมำกที่สุด โดยเฉพำะสำขำอิเล็กทรอนิกสแ เมืองชิงเต฾ำ เป็นเมืองสำคัญในกำรนำเข฾ำสินแร฾เหล็กในจีนและเป็นศูนยแกระจำยสินแร฾เหล็ก โดยใช฾ท฾ำเรือชิงเต฾ำเป็นศูนยแกลำงในกำรค฾ำ กำรกระจำยสินค฾ำ กำรขนส฾งสินแร฾เหล็ก เมืองเซินเจิน เป็นเมืองที่โดดเด฾นด฾ำนอุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิกสแ โดยเฉพำะโทรศัพทแมือถือ และอุปกรณแ
  • 14. 1.23 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย-สาธารณรัฐประชาชนจีน ไทยกับจีนมีความผูกพันและติดต่อกันมาอย่างยาวนานตั้งแต่โบราณ ไทยและจีนเริ่มมีการไปมาหาสู่ กันระหว่าง ราชทูตของทั้งสองประเทศในสมัยจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ของราชวงศแซีฮั่น (ฮั่นตะวันตก) และที่เด่นชัด ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับจีน ซึ่งมีการติดต่อค้าขายระหว่างกันและไทยได้รับเทคโนโลยี เครื่องปั้นดินเผามาจากจีนในช่วงเวลาดังกล่าว ความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างไทยกับจีน น่าจะเริ่มมีขึ้น ในช่วงนี้ด้วย จากการอพยพของชาวจีนในช่วงสงครามสมัยราชวงศ์หยวนและในช่วงต้นราชวงศแหมิงและนับ จากนั้นมา ก็ได้มีการติดต่อค้าขายกันมาโดยตลอด การอพยพของชาวจีนจานวนมากเข้ามาตั้งรกรากในไทย โดยเฉพาะในช่วงสงครามโลกและสงครามกลางเมืองของจีน ในทศวรรษที่ 1930 – 1950 มีชาวจีนจานวน มากจากมณฑลทางใต้ของจีน อาทิเช้น กวางตุ้ง ไห่หนาน ฝูเจี้ยนและกว่างซี หลบหนีภัยสงครามและความ อดอยากเข้ามาอยู่ในประเทศไทย จึงกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนได้มีมาอย่างยาวนานและ แน่นแฟูนเปรียบเสมือนเป็นพี่น้องกัน
  • 15. 2. เขตการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน 2.1 การแบ่งเขตการปกครองของจีน แบ่งเขตการปกครองเป็น 23 มณฑล 5 เขตปกครองตนเอง 4 มหานคร และ 2 เขตบริหารพิเศษ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ การปกครองส่วนกลาง แบ่งออกเป็น 23 มณฑล ได้แก่ 1. อันฮุย (Anhui) 14.จี๋หลิน (Jilin) 2. ฝูเจี้ยน (Fujian) 15.เหลียวหนิง (Liaoning) 3. กานซู(Gansu) 16.ชิงไห่ (Qinghai) 4. กว่างตง (Guangdong) 17.ส่านซี(Shaanxi) 5. กุ้ยโจว (Guizhou) 18.ซานตง (Shandong) 6. ไห่หนาน (Hainan) 19.ซานซี(Shanxi) 7. เหอเปุยแ(Hebei) 20.ซื่อชวน (Sichuan) 8. เฮยแหลงเจียง (Heilongjiang) 21.*ไต้หวัน (Taiwan) 9. เหอหนัน (Henan) 22.หยุนหนาน (Yunnan) 10.หูเปุยแ(Hubei) 23.เจ้อเจียง (Zhejiang) 11.หูหนาน (Hunan) 12.เจียงซู(Jiangsu) 13.เจียงซี(Jiangxi)
  • 16. มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง มี 4 มหานคร ได้แก่ 1. เปุยแจิง (Beijing) 2. ฉงชิ่ง (Chongqing) 3. ซ่างไห่ (Shanghai) 4. เทียนจิน (Tianjin) เขตปกครองตนเอง มี 5 เขตปกครองตนเอง ได้แก่ 1. กว่างซีจ้วง (Guangxi) 2. มองโกเลียใน (Inner Mongolia) 3. หนิงเซี่ยหุย (Ningxia) 4. ซินเจียงอุยกูรแ (Xinjiang) 5. ซีจ้าง (Xizang) เขตบริหารพิเศษ มี 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ 1. ฮ่องกง (Hong Kong) 2. มาเก๋า (Macau)
  • 17. บรรณานุกรม ------. “ข้อมูลทั่วไป,” สาธารณรัฐประชาชนจีน. 11 สิงหาคม 2564 (https://www.ditp.go.th › contents_attach) 11 สิงหาคม 2564