SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
www.srk.ac.th

                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
                                     ้
              หน่ วยที่ ๑ นาฏศิลป์ และการละคร
             เรื่อง การแสดงพืนเมืองภาคอีสาน
                               ้
            รายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๑
                  กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕




               นางสาวกัลยา ปัญญาเหลือ
                      ครูผู้ช่วย



                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
        โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม จังหวัดสุ รินทร์
      สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓
                     ้
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน้
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชานาฏศิลป์                 รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๑             กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕              ภาคเรียนที่ ๑                 ปี การศึกษา ๒๕๕๕
หน่ วยที่ ๑ นาฏศิลป์ และการละคร เรื่อง การแสดงพืนเมืองภาคอีสาน
                                                  ้                      เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
           ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน
                                                                         ิ
๒.ตัวชี้วด
         ั
        ตัวชี้วดที่ ๑. มีทกษะในการแสดงหลากหลายรู ปแบบ
               ั          ั
      ตัวชี้วดที่ ๕.วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ตองการสื่ อความหมายใน
             ั                                                    ้
การแสดง
๓ สาระสาคัญ
     การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือแบ่งเป็ น ๒ กลุ่มวัฒนธรรมคือ กลุ่มอีสานเหนือ
และกลุ่มอีสานใต้ เป็ นการแสดงที่มีท่าราและทานองดนตรี ที่สนุกสนาน รวดเร็ ว สร้างความสุ ข
    ั
ให้กบคนในท้องถิ่น เป็ นมรดกท้องถิ่นที่ควรอนุ รักษ์ไว้สืบไป


๔. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
        ๔.๑ อธิ บายเกี่ยวกับรู ปแบบและลักษณะของการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน (K)
        ๔.๒ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน (P)
        ๔.๓ เห็นความสาคัญ และคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกของชาติไทย (A)

๕. สาระการเรียนรู้
       - การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน

๖. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๖.๑ ความสามารถในการสื่ อสาร
๖.๒ ความสามารถในการคิด
๖.๓ ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                          ั  ิ
๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗.๑ มุ่งมันในการทางาน
            ่
๗.๒ ใฝ่ เรี ยนรู้
๗.๓ รักความเป็ นไทย
๗.๔ มีวนย ิ ั
๗.๕ มีจิตสาธารณะ
        ่
๗.๖อยูอย่างพอเพียง

๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน
         ๘.๑ แผนภาพความคิดการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน
         ๘.๒ ใบความรู้ เรื่ อง การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน

๙. กระบวนการจัดการเรียนรู้
       ๑. ครู เปิ ดแถบบันทึกภาพการแสดงเซิ้งสวิงหรื อเซิ้งกระติบข้าวให้นกเรี ยนดู แล้วให้
                                                                       ั
นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้

           -นักเรี ยนเคยชมการแสดงนี้หรื อไม่ (ตัวอย่างคาตอบ เคย)
           -การแสดงนี้คือการแสดงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เซิ้งกระติบข้ าว)
           -การแสดงนี้ เป็ นการแสดงของภูมิภาคใด (ตัวอย่างคาตอบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
           -การแสดงนี้สะท้อนเกี่ยวกับวิถีชีวตด้านใด (ตัวอย่างคาตอบ การรับประทาน-อาหาร)
                                                ิ
           -นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรเมื่อได้ชมการแสดงนี้ (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนานประทับใจ)
        ๒. ครู นาบัตรคาต่อไปนี้ติดบนกระดาน

    การแสดงพื ้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                เซิ ้งโปงลาง          ฟ้ อนผู้ไทย (ภูไท)

          จากนั้นครู อธิ บายเกี่ยวกับการแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และตัวอย่าง
การแสดงดังกล่าวให้นกเรี ยนฟังจนทุกคนเข้าใจ แล้วให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู
                     ั                                ั
ใช้คาถาม ดังนี้
          - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีลกษณะอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ
                                                         ั
มีลกษณะกระชับ รวดเร็ว สนุกสนาน จังหวะทานองสนุกสนาน เร้ าใจ)
   ั
          - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อนิ ยมแสดงในโอกาสใด (ตัวอย่ างคาตอบ
งานเทศกาลต่ าง ๆ เทศกาลสงกรานต์ ประเพณีบุญบั้งไฟ งานแห่ เทียนพรรษา)
- เครื่ องดนตรี ที่ใช้ในการแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อได้แก่อะไรบ้าง
(ตัวอย่างคาตอบ พิณ แคน โปงลาง โหวด กลองกันตรึม ซอตรัวเอก ปี่ สไล)
             - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อได้แก่การแสดงอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ
เซิ้งกระติบ เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง ฟอนผู้ไทย (ภูไท) เซิ้งโปงลาง เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง)
                                     ้
             - เซิ้งโปงลางมีลกษณะการแสดงอย่างไร (ตัวอย่ างคาตอบ ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงราด้ วย
                                 ั
ท่าทางสนุกสนานไปตามทานอง ต่ อมาจึงประดิษฐ์ เป็ นท่าราทีมีแบบแผน)่
             - การแต่งกายในการแสดงเซิ้งโปงลางมีลกษณะอย่างไร (ฝ่ ายหญิงสวมเสื้อแขนกระบอก
                                                        ั
ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ นุ่งผ้ าซิ่นสวมเครื่องประดับเงิน ฝ่ ายชายสวมเสื้อม่ อฮ่ อม กางเกงขาก๊วย
มีผ้าขาวม้ าคาดเอว และโพกศีรษะ)
             - เครื่ องดนตรี ใดที่ใช้ประกอบการแสดงเซิ้งโปงลาง (พิณ แคน กลองหาง กลองตึง
หมากกับแก้ บ ไหซอง โปงลาง โหวด ฉาบ และเกราะ)
        ๊
             - ฟ้ อนผูไทย (ภูไท) มีลกษณะการแสดงอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ แสดงโดยหนุ่มสาว
                         ้             ั
ชาวผู้ไทยในจังหวัดนครพนม ให้ ชาย-หญิงจับคู่กน ฟอนท่าต่ าง ๆ ให้ เข้ ากับจังหวะดนตรีมีท่ารา
                                                   ั ้
ทั้งหมด ๑๖ ท่ารา)
             - ฟ้ อนผูไทย (ภูไท) มีลกษณะการแต่งกายอย่างไร (ฝ่ ายชายนุ่งกางเกงขาก๊ วย
                           ้             ั
สวมเสื้อม่ อฮ่ อมสี นาเงินคอพระราชทานขลิบแดง ติดกระดุมทองหรือเงิน มีผ้าขาวม้ าคาดเอว
                       ้
ฝ่ ายหญิงนุ่ งผ้ าถุงสวมเสื้ อแขนกระบอกสี น้าเงินขลิบแดง ติดกระดุมทองหรื อเงิน สวมสร้ อยคอ
กาไล ติดดอกไม้ ประดับผม)
             - การแสดงฟ้ อนผูไทย (ภูไท) นิยมแสดงในโอกาสใด (ตัวอย่างคาตอบ งานเทศกาลต่ าง ๆ
                                   ้
งานสงกรานต์ งานไหลเรือไฟ ใช้ แสดงต้ อนรับแขกบ้ านแขกเมือง)
             - เครื่ องดนตรี ที่ใช้ประกอบการแสดงฟ้ อนผูไทย (ภูไท) ได้แก่อะไรบ้าง (แคน กลอง
                                                           ้
หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหน้ า ซอ พิณ ฆ้องเล็ก และหมากกั๊บแก้ บ)
             จากนั้นครู นาคาตอบที่ได้มาเขียนสรุ ปลงในแผนภาพความคิดบนกระดาน แล้วให้นกเรี ยน ั
ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เครื่องดนตรีท่ ีใช้ ในการ
                       โอกาสที่ใช้ ในการแสดง
                                                                แสดง
                                                                                                        ตัวอย่ างการแสดง



ลักษณะการแสดง
พืนเมือง
  ้                                                                                           ฟอนผู้ไทย (ภูไท)
                                                                                               ้
                                                                                                                                   เครื่ องดนตรี ที่ใช้

   ลักษณะการแสดง                     เซิงโปงลาง
                                        ้
                                                                                                                            โอกาสในการแสดง
                                                                          ลักษณะการแสดง
                                                                                                         การแต่ง
       การแต่งกาย                                                                                        กาย

                          เครื่ องดนตรี ที่ใช้


                 ๓. ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม ๓ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกการแสดงพื้นเมืองภาค
                          ั
       ตะวันออกเฉี ยงเหนื อที่สนใจกลุ่มละ 1 การแสดง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์และอภิปราย
       เกี่ยวกับการแสดงที่เลือก แล้วร่ วมกันสรุ ปการวิเคราะห์และการอภิปราย และออกมานาเสนอผลการ
       สรุ ปหน้าชั้นเรี ยนทีละกลุ่ม โดยครู เป็ นผูตรวจสอบและให้คาแนะนา
                                                  ้
                 ๔. ให้นกเรี ยนเล่นเกม การแสดงปริ ศนา โดยครู อธิ บายวิธีการเล่นเกม ดังนี้ ให้นกเรี ยน
                            ั                                                                 ั
       แบ่งกลุ่ม ๒ กลุ่ม และครู นาสลากชื่อชุ ดการแสดงพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาคเหนือ
       ภาคกลาง ใส่ ในกล่อง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (ชื่ อชุ ดการแสดงขึนอยู่กบความเหมาะสมของนักเรียนและอยู่ใน
                                                                  ้     ั
       ดุลยพินิจของผู้สอน)
         ฟ้ อนสาวไหม             ฟ้ อนเล็บ         ฟ้ อนเทียน      รากลองสะบัดชัย              รากลองยาว


         เต้ นการาเคียว                   ระบาชาวนา               เซิ ้งโปงลาง             เซิ ้งสวิง          เซิ ้งกระติบข้ าว


         เซิ ้งบังไฟ
                 ้            ฟ้ อนผู้ไทย (ภูไท)       ฟ้ อนร่ม                  ราสีนวล                ฟ้ อนกิงกะหร่า


         เซิ ้งแหย่ไข่มดแดง
ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งผูแทนกลุ่ม ๑ คน ออกมาใบ้คา โดยผูแทนกลุ่มจะต้องหยิบสลาก
                 ั                    ้                                ้
                                    ่
ชื่อชุดการแสดงในกล่อง แล้วดูวาเป็ นการแสดงอะไร จากนั้นใบ้คา โดยแสดงท่าทางห้ามใช้เสี ยง
เพื่อให้เพื่อนในกลุ่มของตนเองทาย ครู ให้เวลาในการทายคากลุ่มละ ๑ นาที ถ้าทายถูกได้ขอละ ๒ ้
คะแนน ให้นกเรี ยนเล่นใบ้คาทีละกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดเป็ นกลุ่มชนะ
               ั
          ๕. ให้นกเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปความรู ้ ดังนี้ การแสดงพื้นเมืองภาค
                     ั
ตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเป็ น ๒ กลุ่ม วัฒนธรรม คือ กลุ่มอีสานเหนือและกลุ่มอีสานใต้ เป็ นการแสดงที่
มีท่าราและทานองดนตรี ที่สนุกสนาน รวดเร็ ว สร้างความสุ ขให้กบคนในท้องถิ่นเป็ นมรดกท้องถิ่นที่
                                                                ั
ควรอนุรักษ์ไว้สืบไป
          ๖. ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ใช้คาถามท้าทาย ดังนี้
                   ั
              - ถ้านักเรี ยนเป็ นทูตวัฒนธรรม นักเรี ยนจะนาการแสดงพื้นเมืองใดไปเผยแพร่ เพราะอะไร

๑๐. สื่ อและ แหล่ งเรียนรู้
          ๑๐.๑ สื่ อ
          ๑. วีซีดีการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
          ๒. เครื่ องเล่นแถบบันทึกภาพ
          ๓. บัตรคา
          ๔. เกมการแสดงปริ ศนา
          ๕. สลาก
          ๖. กล่องใส่ สลาก
          ๑๐.๒ แหล่ งเรียนรู้
          -ห้องปฏิบติการนาฏศิลป์
                      ั
๑๑. การวัดผลประเมินผล
          สิ่ งทีต้องการวัด
                 ่                       วิธีวดผลและ
                                              ั              เครื่องมือวัดผลและ เกณฑ์ การวัดผล
                                          ประเมินผล               ประเมินผล      และประเมินผล
จุดประสงค์ ด้านความรู้                นาเสนอผลงาน           แบบประเมินผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
             นักเรี ยนสามารถอธิบายสิ่ ง                                         ๘๐ ขึ้นไป
ที่ได้จากการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง
ภาคอีสานได้
จุดประสงค์ ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินผลงาน                  ประเมินผลงาน       ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
 วิเคราะห์การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง                                            ๘๐ ขึ้นไป
ภาคอีสานได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์ ด้านเจตคติ                   สังเกตความคิดเห็น   แบบสังเกตความคิด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ
นักเรี ยนสามารถบอกคุณค่าที่ได้จาก                           เห็น             ๘๐ ขึ้นไป
เรี ยนเรื่ องการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง
ภาคอีสานได้
๑๒.บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
       ๑๒.๑ ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
                ๑๒.๑.๑ ด้านความรู้
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                ๑๒.๑.๑ ด้านทักษะกระบวนการ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                ๑๒.๑.๑ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
      ๑๒.๒ สภาพปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
      ๑๒.๒ แนวทางการพัฒนา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

                                                                                               ลงชื่อ..................................... ครู ผสอน
                                                                                                                                                 ู้
                                                                                                      (นางสาวกัลยา ปั ญญาเหลือ)
                                                                                                                   ครู ผช่วย
                                                                                                                          ู้
                                                                                                       ............/............../.............
วิชานาฏศิลป์                       ใบความรู้                  เรื่องการแสดงนาฏศิลป์
                              ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร             พืนเมืองภาคอีสาน
                                                                           ้
    ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕                                         โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม
ตัวชี้วดที่ ๑. มีทกษะในการแสดงหลากหลายรู ปแบบ
       ั          ั
ตัวชี้วดที่ ๕ วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ตองการสื่ อความหมายในการ
         ั                                                  ้
แสดง
จุดประสงค์ นักเรี ยนสามารถวิเคราะห์และวิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสานและ
ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน พร้อมทั้งบอกคุณค่าอันได้จากการเรี ยน
การการแสดงนาฏศิลป์ ภาคอีสานได้

ประเภทและลักษณะของนาฏศิลป์ ภาคอีสาน
ฟอนภูไทหรือผู้ไท
 ้




                                         ฟอนภูไท
                                          ้
          ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๕๖)

        พระธาตุเชิงชุม เป็ นปูชนียสถานที่สาคัญของจังหวัดสกลนคร ซึ่ งในสมัยโบราณนั้นต้องมี
                                      ่
คนคอยเฝ้ าดูแลรักษาทาความสะอาดอยูตลอดทั้งปี ซึ่ งพวกที่ดูแลทานุบารุ งพระธาตุเชิงชุมนี้จะ
ได้รับการยกเว้นไม่ตองเสี ยภาษีรัชฎาชูปการซึ่ งมีหลายชนเผ่าด้วยกัน ซึ่ งในกลุ่มผูดูแลนั้นมีชาวไท
                    ้                                                           ้
อยูร่วมด้วย ในตอนนั้นมักจะมีงานบุญทอดผ้าป่ า และฉลององค์พระธาตุเชิงชุมชาวบ้านจะนา
   ่
ข้าวเม่า ปลาย่างมาติดกัณฑ์เทศน์ ชาวผูไทซึ่ งเป็ นกลุ่มที่อาสาเป็ นผูปฏิบติรักษาองค์พระธาตุ
                                         ้                          ้ ั
โดยเฉพาะผูชายจะแต่งตัวนุ่งกางเกงขาก๊วย และนุ่งโสร่ งทับ สวมเสื้ อดา จะฟ้ อนด้วยลีลาอันอ่อน
            ้
ช้อยสวยงาม โดยร้องและฟ้ อนกันเป็ นหมู่ๆ แล้วจึงถวายผ้าป่ า ต่อมาได้มีการดัดแปลงท่าฟ้ อน
ให้สวยงามยิงขึ้น เปลี่ยนจากผูแสดงชายมาเป็ นหญิงล้วน
              ่                  ้
การแต่ งกาย ผูแสดงหญิงจะนุ่งผ้าซิ่ นสี ดาขลิบแดง นุ่งยาวกรอมเท้า สวมเสื้ อสี ดาขลิบแดง หรื อแดง
              ้
                                                                 ่
ขลิบดาก็ได้ แต่ขลิบคอแขนและชายเสื้ อ สวมเล็บมือแปดเล็บติดพูสีแดง ผมเกล้ามวยผูกผมด้วย
ผ้าสี แดง
วงดนตรีประกอบ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสาน ลายผูไทของจังหวัดสกลนคร ซึ่ งมีลีลาและจังหวะเร็ ว
                           ื                   ้
กว่าลายผูไทของจังหวัดอื่นๆ
          ้

เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง




          ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางค์ศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๖)

             อาหารอีสานส่ วนใหญ่จะได้มาจากธรรมชาติ ทั้งที่เป็ นสัตว์เล็กสัตว์นอยและพืชพันธุ์
                                                                               ้
                 ่
ต่างๆ นับได้วาชาวอีสานเป็ นนักกินผูหนึ่งทีเดียว ไข่มดแดงนับเป็ นอาหารประจาถิ่นอีสาน จน
                                    ้
สามารถนามาขายจนกลายเป็ นอาชีพได้ ทางภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัยครู บุรีรัมย์เห็นว่าควรจะ
อนุรักษ์อาชีพแหย่ไข่มดแดงนี้ในรู ปของการแสดง จึงได้ทาการศึกษาถึงขั้นตอนการนาไข่มดแดง
ลงมาของชาวบ้าน โดยอาจารย์ประชัน คะเนวัน และอาจารย์ดรรชนี อุบลเลิศ เป็ นผูเ้ ขียน
รายละเอียดของขั้นตอน การแหย่ไข่มดแดงโดยละเอียด การแสดงเซิ้งแหย่ไข่มดแดงนับเป็ นการ
อนุรักษ์อาชีพของชาวอีสานอย่างหนึ่ง
เครื่องแต่ งกาย ฝ่ ายชายนุ่งกางเกงขาก๊วยหรื อนุ่งโสร่ งก็ได้ เสื้ อคอกลมแขนสั้น มีผาขาวม้าคาด
                                                                                   ้
เอว และใช้ผาขาวม้าโพกศีรษะ ฝ่ ายหญิงสวมเสื้ อแขนกระบอก ๓ ส่ วนคอกลม ห่มสไบ นุ่งผ้าซิ่ น
               ้
มัดหมี่ส้ ันแค่เข่า
อุปกรณ์ สาหรับการแสดง ครุ ใส่ น้ า ตะกร้าผูกปลายไม้ยาว ผ้าสาหรับกวนมดแดง
เครื่องดนตรี ใช้ดนตรี พ้ืนเมืองอีสาน ลายเซิ้ง
เซิ้งโปงลาง




   ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๐)

                                                  ่
            โปงลางเดิมเป็ นชื่อของโปงแขวนอยูที่คอของวัวต่าง โปงทาด้วยไม้ หรื อโลหะ ที่เรี ยกว่า
โปง เพราะส่ วนล่างปากของมันโตหรื อพองออก ในสมัยโบราณชาวอีสานเวลาเดินทางไปค้าขายยัง
ต่างแดน โดยใช้บรรทุกสิ นค้าบนหลังวัว ยกเว้นวัวต่าง เพราะเป็ นวัวที่ใช้นาหน้าขบวน ผูก
โปงลางไว้ตรงกลางส่ วนบนของต่าง เวลาเดินจะเอียงซ้ายทีขวาทีสลับกันไป ทาให้เกิดเสี ยงดัง ซึ่ ง
เป็ นสัญญาณบอกให้ทราบว่าหัวหน้าขบวนอยูที่ใด และกาลังมุ่งหน้าไปทางไหนเพื่อป้ องกันมิให้
                                                ่
หลงทาง ส่ วนระนาดโปงลางที่ใช้เป็ นดนตรี ปัจจุบนนี้พบส่ วนมากที่จงหวัดกาฬสิ นธุ์ เช่น บ้านนา
                                                    ั                  ั
จาน บ้านหนองสอ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ซึ่ งเรี ยกว่า “ขอลอ” หรื อ “เกาะลอ” แต่คน
ส่ วนมากจึงนิยมเรี ยกเครื่ องดนตรี ชนิดนี้ วา “โปงลาง” ไม้ที่ทาโปงลางนิยมใช้อยู่ ๒ ชนิด คือ ไม้
                                            ่
มะหาดและไม้หมากเหลื่อม โปงลางสามารถเล่นเป็ นลายต่างๆ การฟ้ อนโปงลางจึงเป็ นการฟ้ อน
ประกอบลายโปงลาง เช่น ลายลมพัดพร้าว ลายช้างขึ้นภู ลายแม่ฮางกล่อมลูก ลายนกไซบินข้ามทุง
                                                                  ้                             ่
ลายแมงภู่ตอมดอก ลายกาเต้นก้อน เป็ นต้น
เครื่องแต่ งกาย หญิงสวมเสื้ อแขนกระบอกสี พ้ืน นุ่งผ้ามัดหมี่ ใช้ผาสไบเฉี ยงไหล่ ผูกโบว์ตรง
                                                                     ้
เอว ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ ผูชายใส่ เสื้ อม่อฮ่อม กางเกงขาก๊วย ผ้าคาดศีรษะ คาดเอว
                                 ้
เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสานลายโปงลาง หรื อลายอื่นๆ
               ี่              ื
เซิ้งสวิง




   ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๒)

            เป็ นการละเล่นพื้นบ้านของภาคอีสาน ซึ่ งเป็ นการละเล่นเพื่อการส่ งเสริ มทางด้านจิตใจ
ของประชาชนในท้องถิ่น อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสิ นธุ์ เซิ้งสวิงเป็ นชุดฟ้ อนที่มีความ
สนุกสนาน โดยดัดแปลงท่าฟ้ อนจากการที่ชาวบ้านออกไปหาปลา โดยมีสวิงเป็ นหลักในการหา
ปลา นอกจากมีสวิงแล้วจะมีของ ซึ่ งเป็ นภาชนะในการใส่ ปลาที่จบได้ เซิ้งสวิงมีการประยุกต์
                                 ้                                ั
กันมาเรื่ อยๆ และในปี พ.ศ.๒๕๑๕ ทางกรมศิลปากรจึงได้นาท่าฟ้ อนของท้องถิ่นมาปรับปรุ งให้
มีท่วงท่ากระฉับกระเฉงขึ้น ท่าฟ้ อนจะแสดงให้เห็นถึงการออกไปหาปลา การช้อนปลา จับปลา
และการรื่ นเริ งใจ เมื่อหาปลาได้มากๆ ผูแสดงฝ่ ายหญิงจะเป็ นผูถือสวิงไปช้อนปลา ส่ วนฝ่ ายชาย
                                        ้                      ้
จะนาข้องไปคอยใส่ ปลาที่ฝ่ายหญิงจับได้
เครื่องแต่ งกาย ฝ่ ายหญิงสวมเสื้ อแขนกระบอกคอกลม นุ่งผ้าซิ่ น เกล้าผมมวยทัดดอกไม้ ฝ่ ายชาย
สวมเสื้ อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย เอาผ้าขาวม้าคาดพุง และโพกศีรษะ
เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสานในจังหวะเซิ้ง
                 ี่            ื
เซิ้งกระติบข้ าว




           ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๒๔)

                เป็ นการแสดงของภาคอีสาน ที่เป็ นที่รู้จกกันอย่างแพร่ หลายที่สุดชุดหนึ่ง ซึ่ งแต่เดิม
                                                       ั
เซิ้งอีสานจริ งๆ ไม่มีท่าทางอะไร มีแต่กินเหล้ายกมือไม้สะเปะสะปะให้เข้ากับจังหวะเสี ยงกลองไป
ตามใจ โดยไม่ได้คานึงถึงความสวยงาม ในราวปี พ.ศ.๒๕๑๗ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
ต้องการการแสดงของภาคอีสาน เพื่อใช้ตอนรับสมเด็จพระนางอะเลียนา และเจ้าหญิงบีทริ กซ์
                                            ้
แห่งประเทศเนเธอแลนด์ จึงมีการนาเอาเพลงอีสานคือ หมอลาจังหวะช้าเร็ ว โดยมีท่าถวายบังคม
ท่านกบิน ท่าเดิน ท่าดูดาว ท่าม้วนตัว ท่าสนุกสนาน ท่าปั้ นข้าวเหนียว ท่าโปรยดอกไม้ ท่า
บังแสงอาทิตย์ ท่าเตี้ย (ราเตี้ย) และในการแต่งกายครั้งแรกนั้นจะนุ่งผ้าซิ่ นห่มผ้าสไบ เกล้าผมสู ง
                                                                                  ่ ั
แต่ไม่มีใครยอมห้อยกระติบข้าวด้วยเห็นว่ารุ งรัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จทอดพระเนตร
                                                         ่
แล้ว พระองค์จึงรับสั่งว่า “...ให้ใครสักคนลองราดูวา ถ้าไม่หอยกระติบข้าว หรื อห้อยกระติบข้าว
                                                                ้
จะเป็ นอย่างไร...” คุณหญิงเบญจวรรณ อรวรรณ เป็ นผูทดลองราดูครั้งแรก ไม่ห้อยกระติบข้าวก็
                                                           ้
น่ารักดี ครั้งที่สอง ราโดยห้อยกระติบข้าว ทุกคนก็คิดว่ากาลังน่ารัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว          ่ ั
ทรงรับสั่งคาเดียวว่า “น่าเอ็นดูดีนี่” ตกลงผูราทุกคนรี บห้อยกระติบข้าวกันทางไหล่ขวาทุกคน การ
                                                ้
เซิ้งครั้งนั้นเรี ยกว่า เซิ้งอีสาน โดยท่านผูหญิงมณี รัตน์ บุนนาค เป็ นผูต้ งชื่ อ ต่อมามีผนาเซิ้งไป
                                              ้                         ้ั                ู้
                                     ่
แสดงกันทัวไปแต่เปลี่ยนชื่อใหม่วา “เซิ้งกระติบข้าว”
              ่
เครื่องแต่ งกาย ใช้ผแสดงหญิงล้วน สวมเสื้ อแขนกระบอกคอกลมสี พ้ืน นุ่งผ้าซิ่ น ห่มสไบเฉี ยง
                        ู้
ผมเกล้ามวย ทัดดอกไม้ ห้อยกระติบข้าวทางไหล่ขวา
เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสาน ทานองเซิ้ง
                    ี่            ื
เรือมอันเร
           เรื อมอันเร แปลว่า ราสาก มีพฒนามาจากการเล่นลูกอันเร ซึ่ งหมายถึง การเต้นสาก นิยม
                                             ั
เล่นกันในวันหยุด เช่น วันตรุ ษสงกรานต์ หนุ่มสาวที่ชอบพอกันจะได้เล่นสนุกสนานร่ วมกัน
ปัจจุบนมีการวางแบบแผนไว้ ๕ จังหวะด้วยกันคือ จังหวะไหว้ครู จังหวะกัตปกา (เด็ดดอกไม้)
       ั
จังหวะจึงมูย (เท้าเดียว หมายถึง ราเข้าสากทีละเท้า) , จังหวะมโล๊บโดง (ร่ มมะพร้าว) และจังหวะ
จึงปรี (สองเท้า หมายถึง ราเข้าสากทีละสองเท้า) อุปกรณ์ที่สาคัญในการเล่น เรื อมอันเร คือ อันเร
(สากตาข้าว) ๑ คู่ วงกันตรึ ม ๑ วง ผูราชายหญิงเป็ นคู่ๆ แต่งกายด้วยเสื้ อพื้นเมืองคือ ชายนุ่งโจง
                                      ้
กระเบน สวมเสื้ อคอกลม มีผาขาวม้าคาดเอว และคล้องไหล่พาดชายไปข้างหลังทั้งสองชายหญิงนุ่ง
                                 ้
วินปูม ซึ่ งเรี ยกว่า ซัมป๊ วดโฮล สวมเสื้ อแขนกระบอก ห่ มสไบเฉี ยง เป็ นการแสดงถึงลักษณะของ
  ่
ชาวสุ รินทร์ แต่ด้ งเดิม คือผูชายมีความองอาจ กล้าหาญสง่างาม ผูหญิงมีความงดงามและฉลาด
                    ั          ้                              ้
เข้มแข็ง พร้อมที่จะเคียงบ่าเคียงไหล่ผชายได้
                                          ู้
การแต่ งกาย หญิงนุ่งผ้าถุง สวมเสื้ อแขนกระบอก คาดสไบ ชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้ อคอ
กลม มีผาขาวม้าคาดเอว และพาดไหล่
            ้
วิชานาฏศิลป์                         แบบทดสอบ                                                เรื่องการแสดงนาฏศิลป์
                              ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร                                         พืนเมืองภาคอีสาน
                                                                                                       ้
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕                                                                         โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม

                                     ชื่อ.....................................................ชั้น...........เลขที่.........

คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงแผนผังความคิดเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน
             ั
แบบประเมินการนาเสนอผลงานหน้ าชั้นเรียน
ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน
คาชี้แจง แบบประเมินวัด ๓ ประเด็น
                                            วิธีการนาเสนอ การใช้ ภาษา                          บุคลิกท่ าทาง        รวม
   ที่              กลุ่มที่…..
                                            ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑                                        ๓ ๒ ๑
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.

เกณฑ์
                                                                ระดับคุณภาพ
   รายการประเมิน
                                  ๓                                  ๒                                 ๑
                       ลาดับขั้นตอนการ                    ลาดับขั้นตอนการ            ลาดับขั้นตอนการ
                       นาเสนอน่าสนใจ มี                   นาเสนอน่าสนใจ ไม่          นาเสนอน่าสนใจ ไม่
     วิธีการนาเสนอ
                       สื่ อประกอบ                        มีสื่อประกอบ               มีสื่อประกอบ ไม่
                       ครอบคลุมเนื้อหา                    ครอบคลุมเนื้อหา            ครอบคลุมเนื้อหา
                       สื่ อความหมายเข้าใจ                สื่ อความหมายเข้าใจ        สื่ อความหมายไม่
       การใช้ภาษา      ชัดเจนไม่วกวน ออก                  ชัดเจนไม่วกวน ออก          เข้าใจ ออกเสี ยงอักระ
                       เสี ยงอักระถูกต้อง                 เสี ยงอักระไม่ถูกต้อง      ไมถูกต้องบางคา
                       มีความเชื่อมัน ตอบ
                                    ่                     มีความเชื่อมัน
                                                                       ่             ขาดความเชื่ อมัน       ่
      บุคลิกท่าทาง
                       คาถามได้
เกณฑ์ระดับคุณภาพ        ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                        ๗–๙              ดีมาก
                        ๔–๖              พอใช้
                        ๑–๓              ปรับปรุ ง
สรุ ป            ดีมาก           พอใช้            ปรับปรุ ง
                                                  (ลงชื่อ)..............................................ผูประเมิน
                                                                                                          ้
                                                            ............./................/...........
แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ๑ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน
คาชี้แจง แบบประเมินวัด ๓ ประเด็น ดังนี้ ทักษะการทางาน ความสมบูรณ์ของผลงานความคิด
สร้างสรรค์
                                             ทักษะการทางาน ความสมบูรณ์  ความคิด          รวม
   ที่              กลุ่มที่…..
                                                               ของผลงาน สร้ างสรรค์
                                             ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.

เกณฑ์
                                                  ระดับคุณภาพ
  รายการประเมิน
                                  ๓                     ๒                       ๑
                      ออกแบบก่อนการ           ออกแบบก่อนการ           ไม่มีการออกแบบลง
                      ปฏิบติงานใช้เครื่ องมือ ปฏิบติงานใช้เครื่ องมือ มือปฏิบติงานเลย
                            ั                      ั                          ั
   ทักษะการทางาน
                      ถูกต้อง ทาความ          ถูกต้อง บริ เวณไม่      ทางานไม่สาเร็ จ
                      สะอาดหลังเสร็ จ เสร็ จ สะอาด เสร็ จทันเวลา
                      ทันเวลา แนะนาเพื่อน
                      ได้
                      สรุ ปความรู้ได้สมบูรณ์ ผลงานเกือบสมบูรณ์ ผลงานไม่ตรงกับ
 ความสมบูรณ์ ของ      ครอบคลุมตามหัวข้อที่                            จุดประสงค์
     ผลงาน            กาหนดไว้ นาไปเป็ น
                      แบบอย่างได้
                      ตดแต่งผลงานได้          ผลงานคล้ายแบบที่        ทาตามแบบ
 ความคิดสร้ างสรรค์   สวยงามไม่เหมือนใคร เป็ นตัวอย่าง มีเนื้ อหา
                      แต่มีเนื้ อหาครบ        ครบ
เกณฑ์ ระดับคุณภาพ   ช่วงคะแนน      ระดับคุณภาพ
                    ๗–๙            ดีมาก
                    ๔–๖            พอใช้
                    ๑–๓            ปรับปรุ ง
สรุ ป         ดีมาก        พอใช้            ปรับปรุ ง
                                            (ลงชื่อ)..............................................ผูประเมิน
                                                                                                    ้
                                                      ............./................/...........

More Related Content

What's hot

รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food Nim Kotarak
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4pageใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีTeach Singing
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 

What's hot (20)

รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4pageใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลี
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์leemeanxun
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ (20)

หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔

  • 1. www.srk.ac.th แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ้ หน่ วยที่ ๑ นาฏศิลป์ และการละคร เรื่อง การแสดงพืนเมืองภาคอีสาน ้ รายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ นางสาวกัลยา ปัญญาเหลือ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน้
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๕ หน่ วยที่ ๑ นาฏศิลป์ และการละคร เรื่อง การแสดงพืนเมืองภาคอีสาน ้ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ิ ๒.ตัวชี้วด ั ตัวชี้วดที่ ๑. มีทกษะในการแสดงหลากหลายรู ปแบบ ั ั ตัวชี้วดที่ ๕.วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ตองการสื่ อความหมายใน ั ้ การแสดง ๓ สาระสาคัญ การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือแบ่งเป็ น ๒ กลุ่มวัฒนธรรมคือ กลุ่มอีสานเหนือ และกลุ่มอีสานใต้ เป็ นการแสดงที่มีท่าราและทานองดนตรี ที่สนุกสนาน รวดเร็ ว สร้างความสุ ข ั ให้กบคนในท้องถิ่น เป็ นมรดกท้องถิ่นที่ควรอนุ รักษ์ไว้สืบไป ๔. จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ๔.๑ อธิ บายเกี่ยวกับรู ปแบบและลักษณะของการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน (K) ๔.๒ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน (P) ๔.๓ เห็นความสาคัญ และคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกของชาติไทย (A) ๕. สาระการเรียนรู้ - การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ๖. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่ อสาร ๖.๒ ความสามารถในการคิด ๖.๓ ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ
  • 3. ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗.๑ มุ่งมันในการทางาน ่ ๗.๒ ใฝ่ เรี ยนรู้ ๗.๓ รักความเป็ นไทย ๗.๔ มีวนย ิ ั ๗.๕ มีจิตสาธารณะ ่ ๗.๖อยูอย่างพอเพียง ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน ๘.๑ แผนภาพความคิดการแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ๘.๒ ใบความรู้ เรื่ อง การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ๙. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑. ครู เปิ ดแถบบันทึกภาพการแสดงเซิ้งสวิงหรื อเซิ้งกระติบข้าวให้นกเรี ยนดู แล้วให้ ั นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้ -นักเรี ยนเคยชมการแสดงนี้หรื อไม่ (ตัวอย่างคาตอบ เคย) -การแสดงนี้คือการแสดงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เซิ้งกระติบข้ าว) -การแสดงนี้ เป็ นการแสดงของภูมิภาคใด (ตัวอย่างคาตอบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -การแสดงนี้สะท้อนเกี่ยวกับวิถีชีวตด้านใด (ตัวอย่างคาตอบ การรับประทาน-อาหาร) ิ -นักเรี ยนรู ้สึกอย่างไรเมื่อได้ชมการแสดงนี้ (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนานประทับใจ) ๒. ครู นาบัตรคาต่อไปนี้ติดบนกระดาน การแสดงพื ้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เซิ ้งโปงลาง ฟ้ อนผู้ไทย (ภูไท) จากนั้นครู อธิ บายเกี่ยวกับการแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และตัวอย่าง การแสดงดังกล่าวให้นกเรี ยนฟังจนทุกคนเข้าใจ แล้วให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ั ั ใช้คาถาม ดังนี้ - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีลกษณะอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ั มีลกษณะกระชับ รวดเร็ว สนุกสนาน จังหวะทานองสนุกสนาน เร้ าใจ) ั - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อนิ ยมแสดงในโอกาสใด (ตัวอย่ างคาตอบ งานเทศกาลต่ าง ๆ เทศกาลสงกรานต์ ประเพณีบุญบั้งไฟ งานแห่ เทียนพรรษา)
  • 4. - เครื่ องดนตรี ที่ใช้ในการแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อได้แก่อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ พิณ แคน โปงลาง โหวด กลองกันตรึม ซอตรัวเอก ปี่ สไล) - การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อได้แก่การแสดงอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ เซิ้งกระติบ เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง ฟอนผู้ไทย (ภูไท) เซิ้งโปงลาง เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง) ้ - เซิ้งโปงลางมีลกษณะการแสดงอย่างไร (ตัวอย่ างคาตอบ ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงราด้ วย ั ท่าทางสนุกสนานไปตามทานอง ต่ อมาจึงประดิษฐ์ เป็ นท่าราทีมีแบบแผน)่ - การแต่งกายในการแสดงเซิ้งโปงลางมีลกษณะอย่างไร (ฝ่ ายหญิงสวมเสื้อแขนกระบอก ั ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ นุ่งผ้ าซิ่นสวมเครื่องประดับเงิน ฝ่ ายชายสวมเสื้อม่ อฮ่ อม กางเกงขาก๊วย มีผ้าขาวม้ าคาดเอว และโพกศีรษะ) - เครื่ องดนตรี ใดที่ใช้ประกอบการแสดงเซิ้งโปงลาง (พิณ แคน กลองหาง กลองตึง หมากกับแก้ บ ไหซอง โปงลาง โหวด ฉาบ และเกราะ) ๊ - ฟ้ อนผูไทย (ภูไท) มีลกษณะการแสดงอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ แสดงโดยหนุ่มสาว ้ ั ชาวผู้ไทยในจังหวัดนครพนม ให้ ชาย-หญิงจับคู่กน ฟอนท่าต่ าง ๆ ให้ เข้ ากับจังหวะดนตรีมีท่ารา ั ้ ทั้งหมด ๑๖ ท่ารา) - ฟ้ อนผูไทย (ภูไท) มีลกษณะการแต่งกายอย่างไร (ฝ่ ายชายนุ่งกางเกงขาก๊ วย ้ ั สวมเสื้อม่ อฮ่ อมสี นาเงินคอพระราชทานขลิบแดง ติดกระดุมทองหรือเงิน มีผ้าขาวม้ าคาดเอว ้ ฝ่ ายหญิงนุ่ งผ้ าถุงสวมเสื้ อแขนกระบอกสี น้าเงินขลิบแดง ติดกระดุมทองหรื อเงิน สวมสร้ อยคอ กาไล ติดดอกไม้ ประดับผม) - การแสดงฟ้ อนผูไทย (ภูไท) นิยมแสดงในโอกาสใด (ตัวอย่างคาตอบ งานเทศกาลต่ าง ๆ ้ งานสงกรานต์ งานไหลเรือไฟ ใช้ แสดงต้ อนรับแขกบ้ านแขกเมือง) - เครื่ องดนตรี ที่ใช้ประกอบการแสดงฟ้ อนผูไทย (ภูไท) ได้แก่อะไรบ้าง (แคน กลอง ้ หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหน้ า ซอ พิณ ฆ้องเล็ก และหมากกั๊บแก้ บ) จากนั้นครู นาคาตอบที่ได้มาเขียนสรุ ปลงในแผนภาพความคิดบนกระดาน แล้วให้นกเรี ยน ั ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 5. เครื่องดนตรีท่ ีใช้ ในการ โอกาสที่ใช้ ในการแสดง แสดง ตัวอย่ างการแสดง ลักษณะการแสดง พืนเมือง ้ ฟอนผู้ไทย (ภูไท) ้ เครื่ องดนตรี ที่ใช้ ลักษณะการแสดง เซิงโปงลาง ้ โอกาสในการแสดง ลักษณะการแสดง การแต่ง การแต่งกาย กาย เครื่ องดนตรี ที่ใช้ ๓. ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม ๓ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกการแสดงพื้นเมืองภาค ั ตะวันออกเฉี ยงเหนื อที่สนใจกลุ่มละ 1 การแสดง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์และอภิปราย เกี่ยวกับการแสดงที่เลือก แล้วร่ วมกันสรุ ปการวิเคราะห์และการอภิปราย และออกมานาเสนอผลการ สรุ ปหน้าชั้นเรี ยนทีละกลุ่ม โดยครู เป็ นผูตรวจสอบและให้คาแนะนา ้ ๔. ให้นกเรี ยนเล่นเกม การแสดงปริ ศนา โดยครู อธิ บายวิธีการเล่นเกม ดังนี้ ให้นกเรี ยน ั ั แบ่งกลุ่ม ๒ กลุ่ม และครู นาสลากชื่อชุ ดการแสดงพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาคเหนือ ภาคกลาง ใส่ ในกล่อง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (ชื่ อชุ ดการแสดงขึนอยู่กบความเหมาะสมของนักเรียนและอยู่ใน ้ ั ดุลยพินิจของผู้สอน) ฟ้ อนสาวไหม ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน รากลองสะบัดชัย รากลองยาว เต้ นการาเคียว ระบาชาวนา เซิ ้งโปงลาง เซิ ้งสวิง เซิ ้งกระติบข้ าว เซิ ้งบังไฟ ้ ฟ้ อนผู้ไทย (ภูไท) ฟ้ อนร่ม ราสีนวล ฟ้ อนกิงกะหร่า เซิ ้งแหย่ไข่มดแดง
  • 6. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งผูแทนกลุ่ม ๑ คน ออกมาใบ้คา โดยผูแทนกลุ่มจะต้องหยิบสลาก ั ้ ้ ่ ชื่อชุดการแสดงในกล่อง แล้วดูวาเป็ นการแสดงอะไร จากนั้นใบ้คา โดยแสดงท่าทางห้ามใช้เสี ยง เพื่อให้เพื่อนในกลุ่มของตนเองทาย ครู ให้เวลาในการทายคากลุ่มละ ๑ นาที ถ้าทายถูกได้ขอละ ๒ ้ คะแนน ให้นกเรี ยนเล่นใบ้คาทีละกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดเป็ นกลุ่มชนะ ั ๕. ให้นกเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปความรู ้ ดังนี้ การแสดงพื้นเมืองภาค ั ตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเป็ น ๒ กลุ่ม วัฒนธรรม คือ กลุ่มอีสานเหนือและกลุ่มอีสานใต้ เป็ นการแสดงที่ มีท่าราและทานองดนตรี ที่สนุกสนาน รวดเร็ ว สร้างความสุ ขให้กบคนในท้องถิ่นเป็ นมรดกท้องถิ่นที่ ั ควรอนุรักษ์ไว้สืบไป ๖. ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ ั - ถ้านักเรี ยนเป็ นทูตวัฒนธรรม นักเรี ยนจะนาการแสดงพื้นเมืองใดไปเผยแพร่ เพราะอะไร ๑๐. สื่ อและ แหล่ งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่ อ ๑. วีซีดีการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ๒. เครื่ องเล่นแถบบันทึกภาพ ๓. บัตรคา ๔. เกมการแสดงปริ ศนา ๕. สลาก ๖. กล่องใส่ สลาก ๑๐.๒ แหล่ งเรียนรู้ -ห้องปฏิบติการนาฏศิลป์ ั
  • 7. ๑๑. การวัดผลประเมินผล สิ่ งทีต้องการวัด ่ วิธีวดผลและ ั เครื่องมือวัดผลและ เกณฑ์ การวัดผล ประเมินผล ประเมินผล และประเมินผล จุดประสงค์ ด้านความรู้ นาเสนอผลงาน แบบประเมินผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ นักเรี ยนสามารถอธิบายสิ่ ง ๘๐ ขึ้นไป ที่ได้จากการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง ภาคอีสานได้ จุดประสงค์ ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินผลงาน ประเมินผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ วิเคราะห์การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง ๘๐ ขึ้นไป ภาคอีสานได้อย่างถูกต้อง จุดประสงค์ ด้านเจตคติ สังเกตความคิดเห็น แบบสังเกตความคิด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ นักเรี ยนสามารถบอกคุณค่าที่ได้จาก เห็น ๘๐ ขึ้นไป เรี ยนเรื่ องการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง ภาคอีสานได้
  • 8. ๑๒.บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ๑๒.๑ ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ๑๒.๑.๑ ด้านความรู้ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๑๒.๑.๑ ด้านทักษะกระบวนการ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๑๒.๑.๑ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๑๒.๒ สภาพปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ๑๒.๒ แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ..................................... ครู ผสอน ู้ (นางสาวกัลยา ปั ญญาเหลือ) ครู ผช่วย ู้ ............/............../.............
  • 9. วิชานาฏศิลป์ ใบความรู้ เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร พืนเมืองภาคอีสาน ้ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม ตัวชี้วดที่ ๑. มีทกษะในการแสดงหลากหลายรู ปแบบ ั ั ตัวชี้วดที่ ๕ วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครที่ตองการสื่ อความหมายในการ ั ้ แสดง จุดประสงค์ นักเรี ยนสามารถวิเคราะห์และวิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสานและ ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน พร้อมทั้งบอกคุณค่าอันได้จากการเรี ยน การการแสดงนาฏศิลป์ ภาคอีสานได้ ประเภทและลักษณะของนาฏศิลป์ ภาคอีสาน ฟอนภูไทหรือผู้ไท ้ ฟอนภูไท ้ ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๕๖) พระธาตุเชิงชุม เป็ นปูชนียสถานที่สาคัญของจังหวัดสกลนคร ซึ่ งในสมัยโบราณนั้นต้องมี ่ คนคอยเฝ้ าดูแลรักษาทาความสะอาดอยูตลอดทั้งปี ซึ่ งพวกที่ดูแลทานุบารุ งพระธาตุเชิงชุมนี้จะ ได้รับการยกเว้นไม่ตองเสี ยภาษีรัชฎาชูปการซึ่ งมีหลายชนเผ่าด้วยกัน ซึ่ งในกลุ่มผูดูแลนั้นมีชาวไท ้ ้ อยูร่วมด้วย ในตอนนั้นมักจะมีงานบุญทอดผ้าป่ า และฉลององค์พระธาตุเชิงชุมชาวบ้านจะนา ่ ข้าวเม่า ปลาย่างมาติดกัณฑ์เทศน์ ชาวผูไทซึ่ งเป็ นกลุ่มที่อาสาเป็ นผูปฏิบติรักษาองค์พระธาตุ ้ ้ ั โดยเฉพาะผูชายจะแต่งตัวนุ่งกางเกงขาก๊วย และนุ่งโสร่ งทับ สวมเสื้ อดา จะฟ้ อนด้วยลีลาอันอ่อน ้ ช้อยสวยงาม โดยร้องและฟ้ อนกันเป็ นหมู่ๆ แล้วจึงถวายผ้าป่ า ต่อมาได้มีการดัดแปลงท่าฟ้ อน ให้สวยงามยิงขึ้น เปลี่ยนจากผูแสดงชายมาเป็ นหญิงล้วน ่ ้
  • 10. การแต่ งกาย ผูแสดงหญิงจะนุ่งผ้าซิ่ นสี ดาขลิบแดง นุ่งยาวกรอมเท้า สวมเสื้ อสี ดาขลิบแดง หรื อแดง ้ ่ ขลิบดาก็ได้ แต่ขลิบคอแขนและชายเสื้ อ สวมเล็บมือแปดเล็บติดพูสีแดง ผมเกล้ามวยผูกผมด้วย ผ้าสี แดง วงดนตรีประกอบ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสาน ลายผูไทของจังหวัดสกลนคร ซึ่ งมีลีลาและจังหวะเร็ ว ื ้ กว่าลายผูไทของจังหวัดอื่นๆ ้ เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางค์ศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๖) อาหารอีสานส่ วนใหญ่จะได้มาจากธรรมชาติ ทั้งที่เป็ นสัตว์เล็กสัตว์นอยและพืชพันธุ์ ้ ่ ต่างๆ นับได้วาชาวอีสานเป็ นนักกินผูหนึ่งทีเดียว ไข่มดแดงนับเป็ นอาหารประจาถิ่นอีสาน จน ้ สามารถนามาขายจนกลายเป็ นอาชีพได้ ทางภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัยครู บุรีรัมย์เห็นว่าควรจะ อนุรักษ์อาชีพแหย่ไข่มดแดงนี้ในรู ปของการแสดง จึงได้ทาการศึกษาถึงขั้นตอนการนาไข่มดแดง ลงมาของชาวบ้าน โดยอาจารย์ประชัน คะเนวัน และอาจารย์ดรรชนี อุบลเลิศ เป็ นผูเ้ ขียน รายละเอียดของขั้นตอน การแหย่ไข่มดแดงโดยละเอียด การแสดงเซิ้งแหย่ไข่มดแดงนับเป็ นการ อนุรักษ์อาชีพของชาวอีสานอย่างหนึ่ง เครื่องแต่ งกาย ฝ่ ายชายนุ่งกางเกงขาก๊วยหรื อนุ่งโสร่ งก็ได้ เสื้ อคอกลมแขนสั้น มีผาขาวม้าคาด ้ เอว และใช้ผาขาวม้าโพกศีรษะ ฝ่ ายหญิงสวมเสื้ อแขนกระบอก ๓ ส่ วนคอกลม ห่มสไบ นุ่งผ้าซิ่ น ้ มัดหมี่ส้ ันแค่เข่า อุปกรณ์ สาหรับการแสดง ครุ ใส่ น้ า ตะกร้าผูกปลายไม้ยาว ผ้าสาหรับกวนมดแดง เครื่องดนตรี ใช้ดนตรี พ้ืนเมืองอีสาน ลายเซิ้ง
  • 11. เซิ้งโปงลาง ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๐) ่ โปงลางเดิมเป็ นชื่อของโปงแขวนอยูที่คอของวัวต่าง โปงทาด้วยไม้ หรื อโลหะ ที่เรี ยกว่า โปง เพราะส่ วนล่างปากของมันโตหรื อพองออก ในสมัยโบราณชาวอีสานเวลาเดินทางไปค้าขายยัง ต่างแดน โดยใช้บรรทุกสิ นค้าบนหลังวัว ยกเว้นวัวต่าง เพราะเป็ นวัวที่ใช้นาหน้าขบวน ผูก โปงลางไว้ตรงกลางส่ วนบนของต่าง เวลาเดินจะเอียงซ้ายทีขวาทีสลับกันไป ทาให้เกิดเสี ยงดัง ซึ่ ง เป็ นสัญญาณบอกให้ทราบว่าหัวหน้าขบวนอยูที่ใด และกาลังมุ่งหน้าไปทางไหนเพื่อป้ องกันมิให้ ่ หลงทาง ส่ วนระนาดโปงลางที่ใช้เป็ นดนตรี ปัจจุบนนี้พบส่ วนมากที่จงหวัดกาฬสิ นธุ์ เช่น บ้านนา ั ั จาน บ้านหนองสอ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ซึ่ งเรี ยกว่า “ขอลอ” หรื อ “เกาะลอ” แต่คน ส่ วนมากจึงนิยมเรี ยกเครื่ องดนตรี ชนิดนี้ วา “โปงลาง” ไม้ที่ทาโปงลางนิยมใช้อยู่ ๒ ชนิด คือ ไม้ ่ มะหาดและไม้หมากเหลื่อม โปงลางสามารถเล่นเป็ นลายต่างๆ การฟ้ อนโปงลางจึงเป็ นการฟ้ อน ประกอบลายโปงลาง เช่น ลายลมพัดพร้าว ลายช้างขึ้นภู ลายแม่ฮางกล่อมลูก ลายนกไซบินข้ามทุง ้ ่ ลายแมงภู่ตอมดอก ลายกาเต้นก้อน เป็ นต้น เครื่องแต่ งกาย หญิงสวมเสื้ อแขนกระบอกสี พ้ืน นุ่งผ้ามัดหมี่ ใช้ผาสไบเฉี ยงไหล่ ผูกโบว์ตรง ้ เอว ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ ผูชายใส่ เสื้ อม่อฮ่อม กางเกงขาก๊วย ผ้าคาดศีรษะ คาดเอว ้ เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสานลายโปงลาง หรื อลายอื่นๆ ี่ ื
  • 12. เซิ้งสวิง ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๓๒) เป็ นการละเล่นพื้นบ้านของภาคอีสาน ซึ่ งเป็ นการละเล่นเพื่อการส่ งเสริ มทางด้านจิตใจ ของประชาชนในท้องถิ่น อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสิ นธุ์ เซิ้งสวิงเป็ นชุดฟ้ อนที่มีความ สนุกสนาน โดยดัดแปลงท่าฟ้ อนจากการที่ชาวบ้านออกไปหาปลา โดยมีสวิงเป็ นหลักในการหา ปลา นอกจากมีสวิงแล้วจะมีของ ซึ่ งเป็ นภาชนะในการใส่ ปลาที่จบได้ เซิ้งสวิงมีการประยุกต์ ้ ั กันมาเรื่ อยๆ และในปี พ.ศ.๒๕๑๕ ทางกรมศิลปากรจึงได้นาท่าฟ้ อนของท้องถิ่นมาปรับปรุ งให้ มีท่วงท่ากระฉับกระเฉงขึ้น ท่าฟ้ อนจะแสดงให้เห็นถึงการออกไปหาปลา การช้อนปลา จับปลา และการรื่ นเริ งใจ เมื่อหาปลาได้มากๆ ผูแสดงฝ่ ายหญิงจะเป็ นผูถือสวิงไปช้อนปลา ส่ วนฝ่ ายชาย ้ ้ จะนาข้องไปคอยใส่ ปลาที่ฝ่ายหญิงจับได้ เครื่องแต่ งกาย ฝ่ ายหญิงสวมเสื้ อแขนกระบอกคอกลม นุ่งผ้าซิ่ น เกล้าผมมวยทัดดอกไม้ ฝ่ ายชาย สวมเสื้ อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย เอาผ้าขาวม้าคาดพุง และโพกศีรษะ เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสานในจังหวะเซิ้ง ี่ ื
  • 13. เซิ้งกระติบข้ าว ที่มาของภาพ : หนังสื อวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๒๔) เป็ นการแสดงของภาคอีสาน ที่เป็ นที่รู้จกกันอย่างแพร่ หลายที่สุดชุดหนึ่ง ซึ่ งแต่เดิม ั เซิ้งอีสานจริ งๆ ไม่มีท่าทางอะไร มีแต่กินเหล้ายกมือไม้สะเปะสะปะให้เข้ากับจังหวะเสี ยงกลองไป ตามใจ โดยไม่ได้คานึงถึงความสวยงาม ในราวปี พ.ศ.๒๕๑๗ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ต้องการการแสดงของภาคอีสาน เพื่อใช้ตอนรับสมเด็จพระนางอะเลียนา และเจ้าหญิงบีทริ กซ์ ้ แห่งประเทศเนเธอแลนด์ จึงมีการนาเอาเพลงอีสานคือ หมอลาจังหวะช้าเร็ ว โดยมีท่าถวายบังคม ท่านกบิน ท่าเดิน ท่าดูดาว ท่าม้วนตัว ท่าสนุกสนาน ท่าปั้ นข้าวเหนียว ท่าโปรยดอกไม้ ท่า บังแสงอาทิตย์ ท่าเตี้ย (ราเตี้ย) และในการแต่งกายครั้งแรกนั้นจะนุ่งผ้าซิ่ นห่มผ้าสไบ เกล้าผมสู ง ่ ั แต่ไม่มีใครยอมห้อยกระติบข้าวด้วยเห็นว่ารุ งรัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จทอดพระเนตร ่ แล้ว พระองค์จึงรับสั่งว่า “...ให้ใครสักคนลองราดูวา ถ้าไม่หอยกระติบข้าว หรื อห้อยกระติบข้าว ้ จะเป็ นอย่างไร...” คุณหญิงเบญจวรรณ อรวรรณ เป็ นผูทดลองราดูครั้งแรก ไม่ห้อยกระติบข้าวก็ ้ น่ารักดี ครั้งที่สอง ราโดยห้อยกระติบข้าว ทุกคนก็คิดว่ากาลังน่ารัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ่ ั ทรงรับสั่งคาเดียวว่า “น่าเอ็นดูดีนี่” ตกลงผูราทุกคนรี บห้อยกระติบข้าวกันทางไหล่ขวาทุกคน การ ้ เซิ้งครั้งนั้นเรี ยกว่า เซิ้งอีสาน โดยท่านผูหญิงมณี รัตน์ บุนนาค เป็ นผูต้ งชื่ อ ต่อมามีผนาเซิ้งไป ้ ้ั ู้ ่ แสดงกันทัวไปแต่เปลี่ยนชื่อใหม่วา “เซิ้งกระติบข้าว” ่ เครื่องแต่ งกาย ใช้ผแสดงหญิงล้วน สวมเสื้ อแขนกระบอกคอกลมสี พ้ืน นุ่งผ้าซิ่ น ห่มสไบเฉี ยง ู้ ผมเกล้ามวย ทัดดอกไม้ ห้อยกระติบข้าวทางไหล่ขวา เครื่องดนตรีทใช้ ใช้ดนตรี พ้นเมืองอีสาน ทานองเซิ้ง ี่ ื
  • 14. เรือมอันเร เรื อมอันเร แปลว่า ราสาก มีพฒนามาจากการเล่นลูกอันเร ซึ่ งหมายถึง การเต้นสาก นิยม ั เล่นกันในวันหยุด เช่น วันตรุ ษสงกรานต์ หนุ่มสาวที่ชอบพอกันจะได้เล่นสนุกสนานร่ วมกัน ปัจจุบนมีการวางแบบแผนไว้ ๕ จังหวะด้วยกันคือ จังหวะไหว้ครู จังหวะกัตปกา (เด็ดดอกไม้) ั จังหวะจึงมูย (เท้าเดียว หมายถึง ราเข้าสากทีละเท้า) , จังหวะมโล๊บโดง (ร่ มมะพร้าว) และจังหวะ จึงปรี (สองเท้า หมายถึง ราเข้าสากทีละสองเท้า) อุปกรณ์ที่สาคัญในการเล่น เรื อมอันเร คือ อันเร (สากตาข้าว) ๑ คู่ วงกันตรึ ม ๑ วง ผูราชายหญิงเป็ นคู่ๆ แต่งกายด้วยเสื้ อพื้นเมืองคือ ชายนุ่งโจง ้ กระเบน สวมเสื้ อคอกลม มีผาขาวม้าคาดเอว และคล้องไหล่พาดชายไปข้างหลังทั้งสองชายหญิงนุ่ง ้ วินปูม ซึ่ งเรี ยกว่า ซัมป๊ วดโฮล สวมเสื้ อแขนกระบอก ห่ มสไบเฉี ยง เป็ นการแสดงถึงลักษณะของ ่ ชาวสุ รินทร์ แต่ด้ งเดิม คือผูชายมีความองอาจ กล้าหาญสง่างาม ผูหญิงมีความงดงามและฉลาด ั ้ ้ เข้มแข็ง พร้อมที่จะเคียงบ่าเคียงไหล่ผชายได้ ู้ การแต่ งกาย หญิงนุ่งผ้าถุง สวมเสื้ อแขนกระบอก คาดสไบ ชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้ อคอ กลม มีผาขาวม้าคาดเอว และพาดไหล่ ้
  • 15. วิชานาฏศิลป์ แบบทดสอบ เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร พืนเมืองภาคอีสาน ้ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ โรงเรียนสาโรงทาบวิทยาคม ชื่อ.....................................................ชั้น...........เลขที่......... คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแสดงแผนผังความคิดเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน ั
  • 16. แบบประเมินการนาเสนอผลงานหน้ าชั้นเรียน ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน คาชี้แจง แบบประเมินวัด ๓ ประเด็น วิธีการนาเสนอ การใช้ ภาษา บุคลิกท่ าทาง รวม ที่ กลุ่มที่….. ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. เกณฑ์ ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ๓ ๒ ๑ ลาดับขั้นตอนการ ลาดับขั้นตอนการ ลาดับขั้นตอนการ นาเสนอน่าสนใจ มี นาเสนอน่าสนใจ ไม่ นาเสนอน่าสนใจ ไม่ วิธีการนาเสนอ สื่ อประกอบ มีสื่อประกอบ มีสื่อประกอบ ไม่ ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา สื่ อความหมายเข้าใจ สื่ อความหมายเข้าใจ สื่ อความหมายไม่ การใช้ภาษา ชัดเจนไม่วกวน ออก ชัดเจนไม่วกวน ออก เข้าใจ ออกเสี ยงอักระ เสี ยงอักระถูกต้อง เสี ยงอักระไม่ถูกต้อง ไมถูกต้องบางคา มีความเชื่อมัน ตอบ ่ มีความเชื่อมัน ่ ขาดความเชื่ อมัน ่ บุคลิกท่าทาง คาถามได้ เกณฑ์ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๗–๙ ดีมาก ๔–๖ พอใช้ ๑–๓ ปรับปรุ ง สรุ ป ดีมาก พอใช้ ปรับปรุ ง (ลงชื่อ)..............................................ผูประเมิน ้ ............./................/...........
  • 17. แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ชื่อหน่ วย นาฏศิลป์ และการละคร แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ๑ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองภาคอีสาน คาชี้แจง แบบประเมินวัด ๓ ประเด็น ดังนี้ ทักษะการทางาน ความสมบูรณ์ของผลงานความคิด สร้างสรรค์ ทักษะการทางาน ความสมบูรณ์ ความคิด รวม ที่ กลุ่มที่….. ของผลงาน สร้ างสรรค์ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. เกณฑ์ ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ๓ ๒ ๑ ออกแบบก่อนการ ออกแบบก่อนการ ไม่มีการออกแบบลง ปฏิบติงานใช้เครื่ องมือ ปฏิบติงานใช้เครื่ องมือ มือปฏิบติงานเลย ั ั ั ทักษะการทางาน ถูกต้อง ทาความ ถูกต้อง บริ เวณไม่ ทางานไม่สาเร็ จ สะอาดหลังเสร็ จ เสร็ จ สะอาด เสร็ จทันเวลา ทันเวลา แนะนาเพื่อน ได้ สรุ ปความรู้ได้สมบูรณ์ ผลงานเกือบสมบูรณ์ ผลงานไม่ตรงกับ ความสมบูรณ์ ของ ครอบคลุมตามหัวข้อที่ จุดประสงค์ ผลงาน กาหนดไว้ นาไปเป็ น แบบอย่างได้ ตดแต่งผลงานได้ ผลงานคล้ายแบบที่ ทาตามแบบ ความคิดสร้ างสรรค์ สวยงามไม่เหมือนใคร เป็ นตัวอย่าง มีเนื้ อหา แต่มีเนื้ อหาครบ ครบ
  • 18. เกณฑ์ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๗–๙ ดีมาก ๔–๖ พอใช้ ๑–๓ ปรับปรุ ง สรุ ป ดีมาก พอใช้ ปรับปรุ ง (ลงชื่อ)..............................................ผูประเมิน ้ ............./................/...........